บทที่ 6 การจัดการองค์การ C1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
น.พ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
บทที่ 1 ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับระบบคุณภาพ
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
SMS News Distribute Service
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
การบริหารจัดการองค์การ
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
Supply Chain Management
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
ความหมาย และ คำจำกัดความของคำว่า “ รัฐประศาสนศาสตร์ “
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 การจัดการองค์การ C1

ความหมายของการจัดการองค์การ การจัดองค์การเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์การ กริฟฟิน ได้ให้ความหมายว่า การจัดการองค์การ คือ การตัดสินใจเลือกวิธีในการจัดแบ่งกลุ่มกิจกรรมและทรัพยากรต่างๆออกเป็นหมวดหมู่อย่างเป็นระเบียบเพื่อประสานงานระหว่างกลุ่มกิจกรรม และกลุ่มบุคคล การจัดกลุ่มกิจกรรม เป็นการจัดอย่างมีระบบระเบียบโดยเอากิจกรรมที่เหมือนกันให้อยู่ในหมวดเดียวกัน เพื่อจะนำไปสู่การแบ่งแยกหน้าที่การทำงานของฝ่ายต่างๆ ทำให้แต่ละฝ่ายมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกันไป การกำหนดความสัมพันธ์ เป็นความสัมพันธ์ที่จะช่วยให้ระบบการทำงาน การตัดสินใจ การประสานงาน มีความคล่องตัว รวดเร็ว

ประโยชน์ของการจัดองค์การ ประโยชน์ของการจัดองค์การที่มีต่อองค์การ -เป็นเครื่องมือหรือวิธีการช่วยให้แต่ละองค์การบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ -ทำให้การทำงานไม่เกิดปัญหาความซ้ำซ้อน ความล่าช้า -ช่วยให้องค์การสามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้ง่าย ประโยชน์ของการจัดองค์การที่มีต่อผู้บริหาร -ช่วยให้การบริหารงานในองค์การเป็นไปด้วยความสะดวก -ช่วยไม่ให้เกิดปัญหาสิ้นเปลือง -การทำงานเป็นไปอย่างมีระบบ ระเบียบเรียบร้อย ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในงานที่ทำ ประโยชน์ของการจัดองค์การที่มีต่อผู้ปฏิบัติงาน -ทำให้บุคลากรในองค์การมีขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน -ช่วยให้บุคลากรในองค์การสามารถเข้าใจถึงความก้าวหน้าในสายงาน

หลักพื้นฐานในการจัดองค์การ วัตถุประสงค์ขององค์การ การมีวัตถุประสงค์จะแสดงให้เห็นถึงแนวทางในการปฏิบัติงาน เอกภาพในการบังคับบัญชา เป็นหลักการบริหารที่กำหนดว่าผู้ปฏิบัติงานแต่ละคน ควรมีผู้บังคับบัญชาที่ทำการสั่งการโดยตรงเพียงคนเดียว เพื่อความเป็นเอกภาพในการบังคับบัญชาสั่งการ การจัดสายการบังคับบัญชา เป็นการทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชาอยู่ภายใต้การควบคุมของผู้บังคับบัญชา

การรวมอำนาจและการกระจายอำนาจ 1. สภาพแวดล้อมที่คงที่ 2. ผู้บริหารระดับต้นไม่มีประสบการณ์ 3. ผู้บริหารระดับต้นไม่มีความพร้อมในการตัดสินใจ 4. องค์กาให้ความสำคัญต่อการตัดสินใจโดยการกระจายอำนาจออกไปแล้ว 5. องค์การกำลังเสี่ยงต่อการล้มเหลว 6. องค์การมีขนาดใหญ่ 7. องค์การที่มีประสิทธิภาพนั้นขึ้นอยู่กับผู้บริหารระดับสูงเท่านั้น 1. สภาพแวดล้อมสลับซับซ้อน 2. ผู้บริหารระดับต้นมีประสบการณ์ 3. ผู้บริหารระดับต้นมีความพร้อมในการตัดสินใจ 4. องค์การมีการเล็งเห็นว่าการตัดสินใจมีความสำคัญพอกับการบริหารอื่นๆ 5. ผู้บริหารระดับต้นแสดงความคิดเห็นได้ 6. องค์การมีการกระจายสาขาทั่วประเทศ 7. องค์การที่มีประสิทธิภาพขึ้นอยู่กับบุคลากรในการบริหารทุกทุกฝ่าย

ขั้นตอนการจัดองค์การ มี 3 ขั้นตอน การกำหนดรายละเอียดของงานเพื่อให้องค์การบรรลุเป้าหมาย องค์การจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับประเภท ลักษณะ และขนาดขององค์การ ตลอดจนการจำแนกรายละเอียดของงานว่ามีอะไรบ้างที่เป็นสิ่งจำเป็นเบื้องต้น การแบ่งงานให้แต่ละคนในองค์การรับผิดชอบตามความเหมาะสมและตามความสามารถ ในการแบ่งงาน ควรให้ทุกคนทำงานอย่างเหมาะสมตามความรู้ความสามารถ และได้รับผลตอบแทนจากการปฏิบัติงานด้วยความยุติธรรม การประสานงาน ต้องมีการประสานงานเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความราบรื่น และบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

การจัดองค์การธุรกิจ ธุรกิจอุตสาหกรรม ธุรกิจการค้า ธุรกิจบริการ 1. ประเภทของธุรกิจ ธุรกิจอุตสาหกรรม เป็นการดำเนินงานด้านการผลิต โดยจะมีทั้งอุตสาหกรรมขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ เป็นต้น ธุรกิจการค้า เป็นการดำเนินงานในด้านการจัดหาและจำหน่ายสินค้าที่ผลิตจากธุรกิจอุตสาหกรรมให้แก่ผู้อุปโภคและบริโภค เช่น การขนส่ง การประกันภัย การบรรจุหีบห่อ เป็นต้น ธุรกิจบริการ เป็นการดำเนินธุรกิจในด้านการให้บริการในรูปแบบต่างๆเพื่ออำนวยความสะดวกสบาย เช่น ธุรกิจโรงแรม ธุรกิจการเงิน เป็นต้น

2. รูปแบบขององค์การธุรกิจ การจัดองค์การธุรกิจ 2. รูปแบบขององค์การธุรกิจ การประกอบการโดยเจ้าของคนเดียว เป็นกิจกรรมที่บุคคลเดียวเป็นผู้ลงทุนและรับผิดชอบในการดำเนินงาน ห้างหุ้นส่วน เป็นการประกอบธุรกิจที่มีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปทำสัญญาร่วมกันลงทุนเพื่อแสวงหาผลกำไรร่วมกัน บริษัทจำกัด เป็นการประกอบธุรกิจที่มีการลงทุนโดยแบ่งทุนออกเป็นหุ้นที่มูลค่าเท่าๆกัน เช่น ธนาคาร โรงานอุตสาหกรรม ห้างสรรพสินค้า เป็นต้น กิจการร่วมค้า หรือการร่วมลงทุน เป็นการประกอบธุรกิจระหว่างบริษัทกับบริษัท หรือบริษัทกับห้างหุ้นส่วน กองทุนธุรกิจ คือ การที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปนำทรัพย์สินมามอบให้บุคคลหนึ่ง เรียกว่า ผู้บริหาร เพื่อดำเนินการประกอบธุรกิจภายใต้เงื่อนไขและเวลาที่กำหนด

โครงสร้างขององค์การธุรกิจทั่วไป

การจัดรูปแบบโครงสร้างองค์การ โครงสร้างแบบเครื่องจักรกล (แบบสิ่งที่ไม่มีชีวิต) โครงสร้างแบบปรับตัว (แบบเสมือนสิ่งมีชีวิต) 1. เน้นการเชี่ยวชาญไม่มีการเปลี่ยนแปลง 1. เน้นการทำงานเป็นทีมอาจเปลี่ยนตามความเหมาะสม 2. มีการจัดแบ่งสายงาน 2. แบ่งงานตามความยืดหยุ่น 3. มีการแบ่งสายงานที่ชัดเจน 3. มักใช้ผู้บริหารแนะนำแก่พนักงาน 4. ขนาดของการควบคุมแคบ 4. ขนาดของการควบคุมกว้าง 5. อำนาจการบังคับบัญชารวมอำนาจ 5. อำนาจการบังคับบัญชาการกระจายอำนาจ 6. กฎเกณฑ์และรูปแบบตายตัว 6. มีกฎเกณฑ์และรูปแบบไม่ตายตัว

ปัจจัยในการจัดรูปแบบโครงสร้างองค์การ สภาพแวดล้อม ควรเลือกองค์การที่ปรับตัวและจัดรูปแบบโครงสร้างองค์การเป็นเสมือนสิ่งมีชีวิต แต่หากสภาพแวดล้อมนั้นมีลักษณะคงที่มีการเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก สามารถคาดคะเนได้ หรือให้บริการดำเนินต่อเนื่องได้ก็ควรเลือกองค์กรแบบรายการ และจัดรูปแบบองค์การเป็นเสมือนสิ่งไม่มีชีวิตหรือโครงสร้างแบบเครื่องจักรกล กลยุทธ์วัตถุประสงค์ขององค์การ การเลือกกลยุทธ์ที่ถูกต้อง เหมาะสม จะส่งผลให้การบริหารองค์การบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ เทคโนโลยี หากองค์การมีการผลิตสินค้าที่ผลิตครั้งละจำนวนมากๆโดยสินค้าแต่ละชิ้นมีมาตรฐานเดียวกัน ก็ควรจัดรูปแบบโครงสร้างองค์การเป็นเสมือนสิ่งไม่มีชีวิต แต่ถ้าเป็นการผลิตขนาดเล็ก คือ ผลิตสินค้าตามที่ลูกค้าสั่ง ก็ควรจัดรูปแบบโครงสร้างองค์การเป็นเสมือนสิ่งมีชีวิต ขนาดและวงจรชีวิตขององค์การ หากองค์การมีขนาดใหญ่จะมีโครงสร้างแบบราชการมากกว่าองค์การขนาดเล็ก การออกแบบโครงสร้างองค์การจะเป็นเสมือนสิ่งไม่มีชีวิตหรือเป็นแบบเครื่องจักรกล

แนวโน้มการจัดองค์การสมัยใหม่ ด้านลักษณะโครงสร้างขององค์การ จะเห็นว่า โครงสร้างองค์การที่มีสายการบังคับบัญชายาวจะมีระดับการบังคับบัญชา 2 ชั้น ผู้บังคับบัญชา แต่ละคนมีขนาดการบังคับบัญชาแคบคือมีคนละ 2 คน แต่ถ้าทำให้ขนาดการควบคุมกว้างเป็น 8 คน สายการบังคับบัญชาสั้นลงคือมีชั้นเดียว ทำให้ลดผู้บังคับบัญชาเหลือคนเดียว จึงทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายและการสั่งงานเร็วขึ้น

แนวโน้มการจัดองค์การสมัยใหม่ ด้านรูปแบบองค์การ

แนวโน้มการจัดองค์การสมัยใหม่ องค์การแบบนาฬิกาทราย เป็นองค์การที่จัดระดับชั้นการบังคับบัญชาเพียง 2 ชั้น ทำให้ผู้บริหารระดับกลางลดจำนวนลง องค์การแบกลุ่ม การทำงานเป็นทีมงาน ลักษณะโครงสร้างขององค์การจึงเกิดขึ้นด้วยความร่วมมือด้วยการรวมเอาคนที่มีทักษะหลากหลายมาทำงานเป็นทีมหรือตามโครงการ องค์การแบบเครือข่าย จะเกิดขึ้นเมื่อองค์การตัดสินใจในการจ้างรับเหมาช่วงให้องค์การอื่นทำงานแทนแทนที่องค์การจะจ้างคนจำนวนมากเพื่อดำเนินการเอง

สรุปเนื้อหาบทที่ 6 การจัดการองค์การ

การจัดองค์การที่ดีและเหมาะสมเป็นปัจจัยที่สำคัญมากที่จะช่วยให้องค์การสมารถดำเนินการบรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ การจัดการองค์การ คือ กระบวนการในการจัดโครงงานขององค์การอย่างเป็นทางการ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงแบบแผนความสัมพันธ์ของงาน หน่วยงาน อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ รวมทั้งปัจจัยอื่นๆ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือหรือวิธีการขององค์การที่จะนำไปสู่จุดมุ่งหมายที่วางไว้ องค์การธุรกิจจัดตั้งขึ้นมาเพื่อแสวงหากำไรเป็นพื้นฐานที่สำคัญ การประกอบธุรกิจจะต้องเกี่ยวข้องกับสินค้า บริการ การเงิน และบุคลากร ดังนั้น ในการจัดรูปแบบโครงสร้างองค์การหรือการออกแบบองค์การจึงต้องเอื้ออำนวยให้งานขององค์การบรรลุเป้าหมายและเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม แนวโน้มการจัดองค์การสมัยใหม่ ควรมุ่งเน้นในส่วนที่เกี่ยวกับลักษณะโครงสร้างขององค์การที่มีสายการบังคับบัญชาลดลง ขนาดการควบคุมกว้างขึ้น เอกภาพในการบังคับบัญชาน้อยลง ส่วนรูปแบบการจัดองค์การในสมัยใหม่อาจจัดอยู่ในรูปขององค์การแบบนาฬิกาทราย แบบนาฬิกา และแบบเครือข่าย เป็นต้น