กลไกการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ คณะกรรมการนโยบาย การบริหารงานจังหวัดและ กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ ระดับชาติ ก.น.จ. นายกรัฐมนตรี ระดับกลุ่มจังหวัด ก.บ.ก. คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ หัวหน้ากลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด ก.บ.จ. จังหวัด 2 คณะกรรมการบริหารงานจังหวัด แบบบูรณาการ จังหวัด 4 ผู้ว่าราชการจังหวัด จังหวัด 1 จังหวัด 3 องค์ประกอบหลัก: 1-ภาครัฐ 2-ผู้บริหารท้องถิ่น 3-ภาคธุรกิจเอกชน 4-ภาคประชาสังคม 1
โครงสร้างการบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการ : ข้อเสนอ ผู้ว่าราชการจังหวัด ที่ปรึกษา องค์กรที่ปรึกษา ผู้นำศาสนา ศาล ทหาร ผู้ทรงคุณวุฒิ กรอ. จว. กอ.รมน.จว. คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ กลุ่มภารกิจ ด้านเศรษฐกิจ กลุ่มภารกิจ ด้านสังคม กลุ่มภารกิจ ด้านความมั่นคง กลุ่มภารกิจ ด้านการบริหารจัดการ นายอำเภอ คณะกรรมการบริหารงานอำเภอแบบบูรณาการ กลุ่มภารกิจ ด้านเศรษฐกิจ กลุ่มภารกิจ ด้านสังคม กลุ่มภารกิจ ด้านความมั่นคง กลุ่มภารกิจ ด้านการบริหารจัดการ ชุดปฏิบัติการประจำตำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คณะกรรมการหมู่บ้าน/ชุมชน ผู้ปกครองท้องที่
ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนา และปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ครม. แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ให้ความเห็นชอบ แผนปฏิบัติการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ก.น.จ. จัดสรรงบประมาณ สงป. แผนพัฒนาจังหวัด /กลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปี ของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด โครงการพัฒนาจังหวัด (งบจังหวัด) - โครงการของส่วนราชการ โครงการของ อปท. - โครงการความร่วมมือเอกชน โครงการพัฒนากลุ่มจังหวัด (งบกลุ่มจังหวัด) ก.บ.จ. ก.บ.ก. (ร่าง) แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ก.บ.อ./ อ.บ.อ. อนุกรรมการ จัดทำแผนพัฒนา จังหวัด/ กลุ่มจังหวัด ประชุมปรึกษาหารือ และรับฟังความคิดเห็น ตาม ม.18 ปัญหาความต้องการของประชาชน
การกำหนด Positioning ของแผนพัฒนาจังหวัด W O T T O Ls VISION MISSION OBJECTIVE Strategic Issues Positioning Strategic Issue Strategic Issue Strategic Issue 1 2 3 เศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง การบริหารจัดการ
ตัวชี้วัดที่ 3.6 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนงาน ตัวชี้วัดที่ 3.6 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนงาน ด้านความมั่นคงชายแดนและชายฝั่งทะเล กำหนดให้จังหวัดที่ต้องประเมิน คือ จังหวัดชายแดน 30 จังหวัด และจังหวัดปัตตานี รวมทั้งจังหวัดชายฝั่งทะเล 23 จังหวัด ให้มีค่าน้ำหนักร้อยละ 3 โดยกำหนดเป็นระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ พิจารณาจากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดำเนินงาน ตามเป้าหมาย แต่ละระดับ ดังนี้ ระดับคะแนน 1 - จังหวัดจัดทำแผนงานด้านความมั่นคง โดยนำยุทธศาสตร์ความมั่นคงชายแดน(พ.ศ.2550-2554) ไปประกอบการจัดทำแผนงาน ด้านความมั่นคงของจังหวัด - กำหนดแผนงาน/โครงการด้านความมั่นคง ปี 2552 โดยระบุแผนงาน/โครงการนำร่องที่บูรณาการร่วมกัน แล้วจัดส่งแผนงาน/โครงการ ด้านความมั่นคง ปี 2552 ให้ กอ.รมน. ภายใน 15 ม.ค.52 ระดับคะแนน 2 - จัดส่งรายงานผลการดำเนินงานตามแผนงานด้านความมั่นคง ปี 2552 รอบ 6 เดือน ให้ กอ.รมน.พิจารณา ภายใน 7 เม.ย.52 - นำข้อสังเกตของ กอ.รมน. ที่พิจารณารายงานผล การดำเนินงานตามแผนงานด้านความมั่นคงมาประกอบการทบทวนและปรับปรุงมาตรการต่างๆ
ตัวชี้วัดที่ 3.6 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนงาน ด้านความมั่นคงชายแดนและชายฝั่งทะเล (ต่อ) ระดับคะแนน 3 - ดำเนินการตามแผนงานด้านความมั่นคง ปี 2552 ได้แล้วเสร็จ ร้อยละ 100 โดยให้คณะทำงานจัดทำแผนงานด้านความมั่นคงประชุมเพื่อตืดตามการดำเนินงาน อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง ระดับคะแนน 4 - ส่งรายงานสรุปประเมินผลการดำเนินงานตามแผนงานด้านความมั่นคงและโครงการนำร่องให้ กอ.รมน. ภายในวันที่ 31 ต.ค.52 ระดับคะแนน 5 - ผลการดำเนินงานตามแผนงานด้านความมั่นคง มีความครบถ้วน สมบูรณ์และได้คุณภาพตามที่ สมช. และ กอ.รมน. กำหนด
แนวทางการพิจารณาโครงการ/งบประมาณของจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 1. หลักการ - แผนต้องสอดคล้องกับศักยภาพ โอกาสและความต้องการ ของประชาชน - แผนงาน/โครงการ ต้องสนับสนุนนโยบายเร่งด่วน ของรัฐบาลในการสร้างงานและรายได้ให้ประชาชน
แนวทางการพิจารณาโครงการ/งบประมาณของจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 (ต่อ) 2. หลักเกณฑ์การพิจารณากลั่นกรอง - หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - หลักความสอดคล้องเชื่อมโยง - หลักคุณภาพ คุณภาพของแผน คุณภาพของโครงการ
แนวทางการพิจารณาโครงการ/งบประมาณของจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 (ต่อ) 3. คุณภาพของแผน - ประเด็นปัญหาและโอกาสการพัฒนาที่ชัดเจน - วัตถุประสงค์/เป้าหมาย ในเชิงปริมาณและคุณภาพ - ยุทธศาสตร์ แนวทางการพัฒนาและแก้ไขปัญหา ที่ตอบสนองวัตถุประสงค์และเป้าหมายของแผน - แผนงาน/โครงการ ตอบสนองกับแนวทางการพัฒนา
แนวทางการพิจารณาโครงการ/งบประมาณของจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 (ต่อ) 4. คุณภาพของโครงการ - ความจำเป็นของโครงการ - ความเหมาะสมและเป็นไปได้ของโครงการ - ความเชื่อมโยงกับโครงการอื่น - ความคุ้มค่า