คุณสมบัติเชิงวัตถุ Chapter 6 Edit

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
System Requirement Collection (2)
Advertisements

แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
ซอฟแวร์ที่สนใจ Adobe Acrobat 6.0 Professional.
Entity-Relationship Model E-R Model
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
(กล้องจับที่วิทยากร)
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
บทที่ 5 เครื่องมือสืบค้นข้อมูล (Search Engine)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
DC Voltmeter.
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
Scene Design and Lighting Week1-3
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
The Collections Framework
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
Chapter 3 Executive Information Systems : EIS
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
การทำงานของโปรแกรมและคุณสมบัติเชิงวัตถ
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นในเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต Edit
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
Object-Oriented Programming การเขียนโปรแกรมเชิงอ็อบเจ็กต์
การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
SMS News Distribute Service
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Programming)
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
Chapter 7 การพยากรณ์ (Forecasting) Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แบบภาษาเชิงวัตถุ
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
Class Diagram.
Sequence Diagram.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คุณสมบัติเชิงวัตถุ Chapter 6 Edit 10-2016 Asst. Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science @ Suan Dusit University ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts

คุณสมบัติของภาษาการโปรแกรมเชิงวัตถุ คุณสมบัติของภาษาที่เป็นการโปรแกรมเชิงวัตถุควรมีคุณสมบัติพื้นฐานดังต่อไปนี้ Encapsulation (การห่อหุ้มวัตถุ) Data Hiding (การซ่อนรายละเอียด) Inheritance (การสืบทอด) Polymorphism (การพ้องรูป)

Encapsulation (การห่อหุ้มวัตถุ) คือ การรวมคุณลักษณะของวัตถุและพฤติกรรมของวัตถุเข้าไว้ด้วยกัน โดยกำหนดให้เป็นลักษณะชนิดของวัตถุนั้นๆ

Data Hiding (การซ่อนรายละเอียด) คือ การกำหนดระดับในการเข้าถึงข้อมูล เพื่อป้องกันการเข้ามาใช้ข้อมูลของวัตถุโดยสิ่งอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องแล้วทำให้เกิดการผิดเพี้ยนของการทำงานทั้งระบบ ดังนั้นข้อมูลบางอย่างไม่ยินยอมให้วัตถุอื่นใดมาใช้งานได้ จำเป็นต้องซ่อนรายละเอียดตรงจุดนี้เอาไว้ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยของวัตถุและระบบโดยรวมให้มากที่สุด

Data Hiding (การซ่อนรายละเอียด) ตัวอย่างเช่น จะเห็นว่า หมายเลขเครื่อง และปุ่มกดไม่ควรเปลี่ยนแปลง ดังนั้นข้อมูลนี้จึงควรซ่อนไว้ แต่หน้ากากอาจเปลี่ยนได้ เป็นต้น

Inheritance (การสืบทอด) เป็นการขยายลักษณะพิเศษหรือความสามารถของชนิดวัตถุใหม่จากชนิดวัตถุพื้นฐานให้มีลักษณะของเดิมและเพิ่มเติมสิ่งใหม่ๆ เข้าไปด้วย

Composition คุณสมบัติของ Inheritance ทำให้การโปรแกรมเชิงวัตถุมีข้อดี คือ สามารถสร้างงานต่างๆ ได้เร็วเพราะสามารถนำของเก่ามาใช้งานใหม่ได้ เรียกว่า “Reused” แต่ก็ยังมีลักษณะอีกอย่างที่ช่วยให้เกิด “Reused” ได้เช่นกัน คือ Composition คือ การสร้างวัตถุใดๆ ด้วยการประกอบจากวัตถุอื่น

Composition ตัวอย่างเช่น นาฬิกา ประกอบด้วย แกนนับ เฟือง เข็มสั้น เข็มยาว หน้าปัด เป็นต้น

Polymorphism (การพ้องรูป) เป็นคุณสมบัติที่ชนิดของวัตถุที่เกิดจากชนิดของวัตถุแม่เดียวกันสามารถมีความสามารถเหมือนแม่แต่ผลลัพธ์การดำเนินงานไม่เหมือน คือ มีลักษณะเฉพาะตัว ตัวอย่างเช่น

มารู้จักคลาสและวัตถุกัน คลาสเป็นเหมือนส่วนของแม่พิมพ์ เพื่อบอกลักษณะว่าวัตถุในคลาสนี้มีลักษณะและพฤติกรรมเป็นอย่างไร วัตถุเป็นสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นมาจากคลาสเพื่อใช้งาน กำหนดค่าต่างๆ ส่งข้อความสั่งให้วัตถุทำงาน

มารู้จักคลาสและวัตถุกัน

การสร้างคลาส คลาสเปรียบเสมือนแม่พิมพ์ วัตถุเป็นผลิตผลที่เกิดจากแม่พิมพ์ ดังนั้นการที่จะสร้างวัตถุได้จึงจำเป็นต้องอาศัยแม่พิมพ์หรือคลาสนี้ โดยคลาสจะบ่งบอกถึงข้อมูลที่วัตถุที่อยู่ในคลาสนี้ควรจะมี และพฤติกรรมที่วัตถุในคลาสนี้สามารถทำได้

การสร้างคลาส วัตถุ (Object) แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ สิ่งที่เป็นรูปธรรม (Tangible) คือ สิ่งที่เป็นวัตถุและจับต้องได้ เช่น นักศึกษา ใบลงทะเบียน ปากกา และรถ เป็นต้น สิ่งที่เป็นนามธรรม (Intangible) คือสิ่งที่ไม่สามารถจับต้องได้ เช่น คะแนนรายชื่อ วิชา บัญชีเงินฝาก และตารางเที่ยวบิน เป็นต้น วัตถุประกอบไปด้วย คุณลักษณะ (Attribute) หรือข้อมูล (Data) เมธอด (Method) หรือพฤติกรรม (Behavior)

ตัวอย่างวัตถุ นักศึกษา คุณลักษณะ เช่น รหัส ชื่อ และเกรดเฉลี่ย เมธอด เช่น ลงทะเบียน สอบ และเดิน

ตัวอย่างวัตถุ รถยนต์ คุณลักษณะ เช่น ยี่ห้อ รุ่น และสี เมธอด เช่น เคลื่อนที่ หยุดและเลี้ยว

ตัวอย่างวัตถุ สุนัข คุณลักษณะ เช่น ชื่อ พันธุ์ และสี เมธอด เช่น เห่า คลาน และกระดิกหาง

เปรียบเทียบคลาสกับวัตถุ Class Object

เปรียบเทียบคลาสกับวัตถุ

เปรียบเทียบคลาสกับวัตถุ

แนวคิดอัตประโยชน์จากการโปรแกรมเชิงวัตถุ การซ่อนรายละเอียด การเชื่อมต่อ การนำวัตถุมาใช้ใหม่ การพ้องรูป: หนึ่งรูปหลายพฤติกรรม

การซ่อนรายละเอียด (Information Hiding) มีผู้สังเกตเห็นว่าในชีวิตประจำวันนั้น ไม่จำเป็นต้องทราบหรือรู้ทุกเรื่องก็สามารถใช้งานสิ่งของนั้นๆ ได้ เช่น โทรทัศน์ที่มีอยู่ตามบ้าน ไม่ต้องทราบการทำงานของ อุปกรณ์ภายใน แต่ก็ สามารถเปิดเครื่องและ ดูรายการโปรดได้ เพียงรู้วิธีการกดปุ่มต่างๆ

การเชื่อมต่อ (Interface) โดยปกติการเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ เรียกว่า User interface แต่คำว่าอินเตอร์เฟสสำหรับวัตถุคือ ส่วนที่บอกว่าวัตถุนั้นให้บริการหรือสามารถทำอะไรได้บ้าง

การนำวัตถุมาใช้ใหม่ (Reusable) จุดประสงค์ใหญ่ของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ คือ การนำส่วนต่างๆ ของวัตถุที่สร้างขึ้นกลับมาใช้ใหม่หรือที่เรียกในภาษาอังกฤษว่า “Reuse” เมื่อมีวัตถุถูกสร้างขึ้นมาก็สามารถนำวัตถุต่างๆ มาประกอบกันเป็นวัตถุอีกชนิดหนึ่งได้ เพื่อให้วัตถุใหม่มีความสามารถมากกว่าเดิม ตัวอย่างเช่น กรณีของรถยนต์สามารถประกอบขึ้นจาก เครื่องยนต์ ตัวถัง ประตู และล้อ เป็นต้น

ตัวอย่างวัตถุที่เกิดจากวิธีคอมโพสิต

การพ้องรูป (Polymorphism) การพ้องรูป คือ คุณสมบัติการถ่ายทอด คุณสมบัติการถ่ายทอดยืนยันได้ว่าคลาสลูกที่เกิดจากคลาสแม่เดียวกันย่อมมีคุณสมบัติเหมือนกัน เป็นที่มาของหนึ่งรูปหลายพฤติกรรม

การถ่ายทอดให้เกิดลักษณะของพ้องรูป

การถ่ายทอดให้เกิดลักษณะของพ้องรูป

The End Chapter 6

Work-4 (งานชิ้นที่ 6) ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดบทที่ 6 (ลงในสมุดเท่านั้น) ตอนที่ 1 (ให้ลอกโจทย์ด้วย) ตอนที่ 2 การจับคู่ (ให้ลอกโจทย์ด้วย) หมายเหตุ ให้ขีดเส้นใต้คำตอบด้วยปากกาสีแดงเท่านั้น เมื่อทำจบในแต่ละข้อย่อยให้ขีดเส้นใต้คำตอบด้วยปากกาสีแดงด้วย