วันศุกร์ที่ 22 มกราคม 2559 เวลา น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมการพัฒนาระบบหมอครอบครัว
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
Java Network Programming – Network Operating Systems and Protocols Choopan Rattanapoka.
กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์แค่ระยะ 20 ปี และการ ปฏิรูปประเทศ.
วิธีการหาพิกัด ของสถานศึกษา. คำนิยาม “ บริเวณใกล้เคียง สถานศึกษา ” (Zoning) หมายความว่า บริเวณต่อเนื่องติดกับ สถานศึกษา และบริเวณถัดออกไป โดย บริเวณถัดออกไปดังกล่าวต้องมีลักษณะ.
KM (Knowledge Management
แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กระทรวงสาธารณสุข
บริษัท จำกัด Logo company
ศพก. ระดับปานกลาง (B) 401 ศูนย์
วิธีการหาพิกัดของสถานศึกษา
อาจารย์ ทรงศักดิ์ สุริโยธิน
ประเภทของธุรกิจขายตรง (ครั้งที่ 2) อาจารย์วิไลลักษณ์ มีประชา
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
Chapter I Introduction to Law and Environment
สถาบันรับรองระบบการผลิตผลิตภัณฑ์การเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ __________________________________________________________________________________________________________________________________________.
Techniques of Environmental Law
การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อน การบูรณาการฐานข้อมูลกลางภาครัฐ
บริษัท จำกัด Logo company
กรณีตัวอย่าง : ส้มโอแปลงใหญ่ประชารัฐ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและโจทย์วิจัย Cluster SALTH
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ทิศทางการดำเนินงาน ของกรมการข้าว ปี 2561
Roadmap AUNQA หลักสูตร
อาหารและการเกษตรไทย ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับจังหวัด จังหวัดสระบุรี ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
นโยบาย กรมส่งเสริมการเกษตร ประจำปี ๒๕๕๙
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
คู่มือการเขียนวิจัย R2R ฉบับย่อสำหรับนักวิจัยหน้าใหม่
ITA Integrity and Transparency Assessment
เพื่อการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
ประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตร และสหกรณ์ระดับจังหวัด ครั้งที่ 5/2561 วันอังคารที่ 11 กันยายน 2561 เวลา – น. ณ ห้องประชุมสุพรรณิการ์ ศาลากลางจังหวัดอุทัยธานี
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สพส.
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชี และถ่ายทอดเทคโนโลยี (สพถ.)
โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ สำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning) ปีงบประมาณ 2561 กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร โทร.-โทรสาร
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
การออกแบบธุรกิจออนไลน์
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ภาพรวมการขับเคลื่อนงานในฐานะ Chief of Operation และ Operation Team
ทิศทางการปฏิบัติงานเพื่อขับเคลื่อนนโยบายและบรรลุเป้าหมาย การพัฒนาที่สำคัญของกรมชลประทาน และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดโรคหัด.
สถานการณ์โลก การผลิต - พื้นที่ปลูก - ปริมาณผลผลิต - ชนิดพันธุ์
แนวทางการปรับปรุงการทำงาน ด้านการส่งเสริมการผลิตข้าว ปีงบประมาณ 2561
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครนายก
ณ ห้องประชุมศรีเวียงพิงค์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
การขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตร ใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ปี 2561
Review - Techniques of Environmental Law
การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ
(Rice Analysis) จังหวัดอุทัยธานี การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
แผนการขับเคลื่อน Smart Agricultural Curve ปี 2561 (ระบบส่งน้ำและกระจายน้ำ) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน วันพุธที่ 6 กันยายน 2560.
๑ ๒ ๓ ๔ ความเป็นมา โครงการพัฒนาอาชีพตามความต้องการของหมู่บ้าน/ชุมชน
เสนอขอรับทุนท้าทายไทยและโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย
บทที่ 2 การจัดองค์กรขนส่ง 2.1 การจัดองค์กรและการบริหารงานบุคคล
การเสริมสร้างศักยภาพเศรษฐกิจเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียน
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลแสลงพันปีงบประมาณ ๒๕๖๐ พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลคำพราน ปีงบประมาณ 2560 พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
แปลงใหญ่ทั่วไป (ข้าว) ตำบลสองห้อง อำเภอบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แปลงใหญ่ทั่วไป ข้าว ตำบลหันสัง อ.บางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Chapter I Introduction to Law and Environment
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ราชธานีเก่า อู่ข้าวอู่น้ำ เลิศล้ำกานต์กวี คนดีศรีอยุธยา
ระบบปฏิบัติการ ( OS – Operating System )
นางสาวอรไท แซ่จิว สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วันศุกร์ที่ 22 มกราคม 2559 เวลา 13.30 น. การประชุมชี้แจงคณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ (Single Command) ผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต นโยบายศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร และ โครงการอบรมเพื่อเพิ่มผลิตภาพการผลิตของเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง ปี 2558/59 และจากปัญหาราคาสินค้า วันศุกร์ที่ 22 มกราคม 2559 เวลา 13.30 น.

นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ลดต้นทุนและเพิ่มโอกาสทางการแข่งขันสินค้าเกษตร การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) ระบบส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ เกษตรอินทรีย์ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ธนาคารสินค้าเกษตร

ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) แหล่งเรียนรู้การผลิตสินค้าเกษตรที่ถูกต้องและเหมาะสมสำหรับชุมชน เป็นศูนย์กลางการบริการ และแลกเปลี่ยนความรู้ข้อมูลข่าวสาร ของหน่วยงานต่าง ๆ กับเกษตรกรในชุมชน ดำเนินการในพื้นที่ของเกษตรกรที่ประสบความสำเร็จ เป็นแบบอย่างให้กับเกษตรกรในชุมชน ในการปรับปรุงหรือ ปรับเปลี่ยนกิจกรรมการเกษตรที่สำคัญของพื้นที่ ตั้งแต่การผลิต การบริหารจัดการ จนถึงการตลาด

วัตถุประสงค์นโยบาย เพื่อพัฒนาศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สินค้าเกษตร (ศพก.) ให้มีความเข้มแข็ง เพื่อขยายการให้บริการของศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) มาตรการ 1 การพัฒนาศักยภาพ ศูนย์เรียนรู้ฯ มาตรการ 2 ขยายการให้บริการ ของศูนย์เรียนรู้ฯ มาตรการ 3 การติดตาม ประเมินผล

การพัฒนาศักยภาพศูนย์เรียนรู้ฯ ขยายการให้บริการของศูนย์เรียนรู้ฯ ศพก. เปลี่ยนวิธีคิด ผลิตสอดคล้องตลาด ฉลาดเทคนิค มาตรการ 1 การพัฒนาศักยภาพศูนย์เรียนรู้ฯ มาตรการ 2 ขยายการให้บริการของศูนย์เรียนรู้ฯ มาตรการ 3 การติดตามประเมินผล สร้างมิตรเครือข่าย Single Command

ผู้อำนวยการกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร นายศุภนาถ เกตุเจริญ ผู้อำนวยการกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ศพก.

ช่วยเหลือเกษตรกรในช่วงภัยแล้ง โครงการอบรมเพื่อเพิ่มผลิตภาพการผลิตของเกษตรกร ที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง ปี 2558/59 และจากปัญหาราคาสินค้าเกษตร ช่วยเหลือเกษตรกรในช่วงภัยแล้ง นโยบายรัฐบาล

ความเป็นมา จากนโยบายรองนายกฯ สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ให้มีการบูรณาการร่วมกัน กระทรวงเกษตรฯ กระทรวงมหาดไทย คสช. กระทรวงพาณิชย์ ฯลฯ กระทรวงเกษตรฯ จัดทำโครงการเสนอ ครม. ครม. มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 15 ธ.ค. 58

หลักการ ให้ความรู้เพิ่มเติมแก่เกษตรกรโดยถ่ายทอดความรู้ ด้านต่างๆ รวมทั้งเทคโนโลยีที่เหมาะสมในแต่ละในพื้นที่ ให้เกษตรกรสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการประกอบอาชีพเสริมในช่วงที่ประสบภัยแล้ง เพื่อสร้างรายได้เสริมในช่วงที่ไม่สามารถประกอบอาชีพทางการเกษตรได้เพื่อบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนในช่วงที่ประสบภัยแล้ง

วัตถุประสงค์ ฝึกอบรมเรียนรู้ ฝึกวิธีคิดการพัฒนาตนเองและสามารถปรับตัวอยู่ร่วม บริบทสังคม เศรษฐกิจ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงในอนาคตได้อย่างยั่งยืน เป็นการวางรากฐานการพัฒนาการเกษตรในระยะยาว สร้างความรู้ความเข้าใจและร่วมการขับเคลื่อนประเทศตามแนวทาง ประชารัฐ บรรเทาผลกระทบจากภัยแล้งให้แก่เกษตรกรสามารถดำรงชีพได้ ในช่วงวิกฤตภัยแล้ง และสร้างโอกาสการปรับโครงสร้างการผลิต ให้เหมาะสมกับภูมิสังคมและตลาดสินค้า สร้างเศรษฐกิจหมุนเวียนในชุมชนและสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายเกษตร ที่รับการฝึกอบรม

เป้าหมาย เกษตรกรในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง ปี 2558/59 และเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบ จากปัญหาราคาสินค้าเกษตร จำนวน 220,500 ราย ได้รับการอบรมเพื่อเพิ่มผลิตภาพการผลิต (หลักสูตร 90 ชม./รุ่น ๆ ละ 50 ราย จำนวน 5 รุ่น/ 882 ศูนย์) ภายในเดือนพฤษภาคม 2559

หลักสูตร จำนวน 15 วัน ๆ ละ 6 ชั่วโมง รวม 90 ชั่วโมง ประกอบด้วย 4 กลุ่มวิชา   กลุ่มวิชาที่ 1 สร้างการรับรู้ ความเข้าใจร่วมกันในการขับเคลื่อนประเทศ วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกษตรกรเรียนรู้ฐานวิธีคิด มีความเข้าใจแนวทางการขับเคลื่อนประเทศตามแนวทางประชารัฐ ที่นำไปสู่ความสามัคคี ปรองดอง รวมทั้งการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มวิชาที่ 2 สร้างโอกาสในกรแข่งขัน วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกษตรกรเรียนรู้วิธีการปรับเพิ่มผลิตภาพการผลิต ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตลอดจน การรวมกลุ่มตามหลักการสหกรณ์และการบัญชี

หลักสูตร (ต่อ) กลุ่มวิชาที่ 3 เสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิต วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านสุขภาวะทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางปัญญา กลุ่มวิชาที่ 4 สร้างรายได้และลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้และทักษะการปฏิบัติอาชีพทางเลือก นอกภาคเกษตร เช่น การแปรรูปและถนอมอาหาร การสร้างสรรค์มูลค่าสินค้าท้องถิ่น การผลิตสินค้าเพื่อใช้ในครัวเรือน การซ่อมแซมเครื่องจักรกลการเกษตรและเครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน การควบคุมไฟป่าและการจัดทำแนวกันไฟในท้องถิ่น การผลิตพืชผักสวนครัวเพื่อบริโภคและแบ่งปัน เป็นต้น

สำหรับวิชาของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรจะให้ “เศรษฐกิจอาสา” เป็นวิทยากรบรรยาย ซึ่งสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรจะอบรมเศรษฐกิจอาสาแล้วเสร็จ หลังเดือน ก.พ. 59 ขอให้กำหนดหัวข้อวิชา “สารสนเทศเพื่อการผลิต” ไว้ในตารางจัดอบรม หลังเดือน ก.พ. 59

สถานที่ดำเนินการ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) 882 ศูนย์ 77 จังหวัด หรือ ศูนย์เรียนรู้เครือข่ายฯ หรือสถานที่ที่เหมาะสมตามมติของคณะทำงานโครงการฝึกอบรมฯ ระดับอำเภอ

แนวทางการดำเนินงาน บริหารโครงการโดย คณะกรรมการบริหารโครงการฯ 3 ระดับ คือ ระดับกระทรวง ระดับจังหวัด ระดับอำเภอ องค์ประกอบหลัก มหาดไทย เกษตร ทหาร

ระยะเวลาดำเนินการ งบประมาณ 1 กุมภาพันธ์ – 31 พฤษภาคม 2559 งบประมาณ งบกลางรายการเงินสำรองฉุกเฉิน จำนวน 948,150,000 บาท งบประมาณกระทรวงเกษตรฯ จำนวน 54,474,000 บาท (ค่าวิทยากร และ สถานที่) รวมทั้งสิ้น 1,002,624,000 บาท

ผลสำเร็จที่คาดหวัง เกษตรกรได้รับความรู้ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ เพื่อพัฒนาตนเองและอาชีพ เกษตรกรสามารถดำรงชีพในช่วงวิกฤตภัยแล้ง และช่วงปัญหาราคาสินค้าตกต่ำ

นางนันทา ติงสมบัติยุทธ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร ชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงาน โครงการอบรมเพื่อเพิ่มผลิตภาพการผลิตของเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง ปี 2558/59 และจากปัญหาราคาสินค้า

การขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (องค์ความรู้) * Zoning * การวางแผนการผลิต * เทคโนโลยีการผลิต * เทคนิคลดต้นทุน/เพิ่มผลผลิต * การตลาดและแนวโน้มของตลาด * การทำบัญชี * GAP * เกษตรอินทรีย์ * ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง * เกษตรผสมผสาน * เกษตรทฤษฏีใหม่ ศูนย์เรียนรู้ ทำเกษตรอินทรีย์ตามมาตรฐาน มาตรการพัฒนา ศพก. มาตรการ Zoning ปลูกพืชหลักที่เหมาะกับดิน ตลาด ต้นทุนการผลิตต่ำ ผลผลิตสูง มาตรการลดต้นทุนฯ ทำการผลิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง มาตรการเกษตรอินทรีย์ ศูนย์เครือข่าย ศูนย์เครือข่าย ทำเกษตรผสมผสาน (เพิ่มเติม/ทดแทนพืชหลัก) ศพก. ผลลัพธ์ (S1, S2) ทำกิจกรรม ร่วมกัน ศูนย์เครือข่าย รวมกลุ่ม ผลลัพธ์ (S3, N) มาตรการ ลดต้นทุนฯ * ลดต้นทุน * เพิ่มผลผลิต * สร้างโอกาสการแข่งขัน * จัดการเรื่องตลาด แปลงใหญ่ (พืชหลัก) มาตรการ แปลงใหญ่ ไม่มีตลาด / ราคาต่ำ มีตลาด / ราคาดี มาตรการ Zoning ปรับเปลี่ยนเป็น สินค้าที่เหมาะสม กับพื้นที่/ตลาด ผลิตต่อเนื่อง มาตรการ เกษตรอินทรีย์ มาตรการ เกษตรอินทรีย์ มาตรการ ลดต้นทุนฯ มาตรการ ธนาคารสินค้าเกษตร ชุมชน มาตรการอื่น ๆ มาตรการอื่น ๆ

จบการเสนอ