ก้าวสู่ปีที่ 10 จาก การรณรงค์ป้องกันการติดเชื้อรายใหม่ในกลุ่มMSM สู่การ ยอมรับ เข้าใจ ไม่มีการติดเชื้อใหม่ใน MSM/TG ดนัย ลินจงรัตน์ ผู้อำนวยการสมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการการป้องกันเอชไอวีในกลุ่มประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
Advertisements

การประชุมเอดส์นานาชาติ ครั้งที่ กรกฎาคม 2553 กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย Aids 2010 Rights here, Right now. Aids 2010 Rights here, Right now.
Health System Reform.
Six building blocks Monitoring & Evaluation
การสร้างความต้องการในการตรวจเอชไอวี
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
การจัดบริการที่เป็น มิตรและสอดคล้อง กับความต้องการ และบริบทของ วัยรุ่น.
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
นางประภาภรณ์ กิจวัฒนาชัย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ECT breast & Re-accredited plan
การจัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล
ประสบการณ์และเทคนิคทำวิจัยสถาบัน
ระบบสารสนเทศในหน่วยธุรกิจ
โครงการ PrEP PACKAGE ปี 2561
Traning ผู้ต้องขัง เขตภาคเหนือตอนล่าง
น.พ.เฉวตสรร นามวาท ผู้อำนวยการสำนักวัณโรค
พรทิพย์ เข็มเงิน ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติกับการพัฒนา มจธ.
บทบาท Peer กับการคือสู่สุขภาวะ
การบริการงานอาชีวเวช ภายนอกโรงพยาบาล
ทิศทางการ ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
นายแพทย์พสุวัฒน์ คงศีล คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
การพัฒนาความเข้มแข็งของระบบบริการ RRTTR
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
Marketing Concept วิวัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด แบ่งได้ 5 แนว
การดำเนินงานมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
พญ. นิตยา ภานุภาค ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
HON’s activities Care and Support Program
กองทุนประกันสังคม พ.จ.อ.พิชิต ศรีทองหนา จนท.สิทธิประกันสังคม
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
“SWING” กองทุนถุงยางอนามัย
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและโจทย์วิจัย Cluster SALTH
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
นายวุฒิศักดิ์ รักเดช นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 8 มีนาคม2559
บูรณาการ“เข้าใจ เข้าถึง”
กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).
รหัส รายวิชาหนึ่งหลักสูตรหนึ่งชุมชน
สู่สุขภาพและคุณภาพชีวิต
คุณค่า ศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ ของคนรุ่นใหม่
บทที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับการจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐฯ (TUC) มูลนิธิพนักงานบริการ (SWING)
นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข
ดนัย(เมี้ยว) ลินจงรัตน์ ผู้อำนวยการสมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
มุ่งสู่ความเป็นศูนย์: การเลือกปฏิบัติด้านเอดส์ 10 กันยายน 2557
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
นโยบายการดำเนินงาน PrEP กับการยุติปัญหาเอดส์
ก้าวทันโรค - - ก้าวต่อไปในการดำเนินโครงการ
การดำเนินงานด้านเอชไอวี MSM/TG สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
ความเป็นมาของโครงการ และแนวคิดของรูปแบบการจัดบริการปรึกษาและตรวจเอชไอวีโดยเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลาง (community-centered service model) พญ.นิตยา ภานุภาค พึ่งพาพงศ์
นโยบายและทิศทางการส่งเสริมสุขภาพในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง
นายแพทย์สราวุฒิ บุญสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
Public Health Nursing/Community Health Nursing
วิภาส วิมลเศรษฐ มีนาคม 2556
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
การทำงาน MSM-TG สำคัญอย่างไร มุมมองทั่วไปและด้านระบาด สาธารณสุข
Real Time Cohort Monitoring RTCM
[ บทที่ 3 ] ระบบสารสนเทศ.
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน และคณะ
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
Program Evaluation Achakorn Wongpreedee, Ph.D.
การจัดบริการ PrEP พญ. นิตยา ภานุภาค ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ก้าวสู่ปีที่ 10 จาก การรณรงค์ป้องกันการติดเชื้อรายใหม่ในกลุ่มMSM สู่การ ยอมรับ เข้าใจ ไม่มีการติดเชื้อใหม่ใน MSM/TG ดนัย ลินจงรัตน์ ผู้อำนวยการสมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย เครือข่ายMSMชาติ / เครือข่ายความหลากหลายทางเพศ

ประเด็นนำเสนอ ฉายภาพ10ปี งานMSM ในไทย การดำเนินการ ผลการประเมิน และ ข้อเสนอแนะ เพื่อสร้างเสริมและขยายบริการป้องกันที่ผสมผสาน สภาวะแวดล้อมที่เสริมให้บริการป้องกัน การใช้ข้อมูล การพัฒนาความร่วมมือเครือข่าย

46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 *สำรวจความชุกอัตราการติดเชื้อ HIV ในกลุ่มMSM ในกรุงเทพมหานคร (TUC, TRC, RSAT) : สำนักระบาด(รอบปกติ) * เกิดองค์กรที่ทำงานกับกลุ่มMSM โดยเฉพาะ ผ่านการสนับสนุนจากUSAID (RSAT, SWING, M+) * เครือข่ายความหลากหลายทางเพศ ในหมู่บ้านโลก งานสัมมนาเอดส์นานาชาติ (เมืองทอง) * งานสัมมนาเควียร์ และ กรณีใบสด.43ของน้ำหวาน (เติมประเด็นสิทธิ, SGS และ แบบฝึกหัด) * เครือข่ายความหลากหลายทางเพศ ยื่นฟ้องกระทรวงกลาโหม ต่อศาลปกครอง * แผนยุทธศาสตร์เอดส์ชาติ ปี2550-2554 ระบุกลุ่ม MSM * เครือข่ายMSMชาติ (การบริหารร่วมครั้งแรกขององค์กรMSM) ปี51-52 เครือข่ายMSMชาติ รับงบสนับสนุนเครือข่ายจาก สวรส. * 29 พ.ย. : วันสิทธิความหลากหลายทางเพศ * การประชุม ILGA ที่เชียงใหม่ * กรณีเหตุการณ์เชียงใหม่เกย์ไพร์ด (วันเสาร์ซาวเอ็ด) * 21 ก.พ. : วันยุติความรุนแรงต่อความหลากหลายทางเพศ * ปี53-54 เครือข่ายMSMชาติ รับงบสนับสนุนจาก GFR8 (จาก8จ.เดิม เป็น 14จ. และ 30จ.) * ศาลปกครองตัดสินให้กระทรวงกลาโหมแก้ไขข้อความ “โรคจิตวิกลจริตรุนแรงถาวร” ในใบ สด.43 ของคนข้ามเพศ * เครือข่ายเพื่อนกะเทยไทยเข้มแข็งขึ้น และ เกิดเครือข่ายเอ็มพอส * 17 พ.ค. : วันต่อต้านการรังเกียจความหลากหลายทางเพศสากล * กระทรวงกลาโหมแก้ไขความในใบ สด.43 ของคนข้ามเพศ เป็น “เพศสภาพไม่ตรงกับเพศกำเนิด” * แผนเอดส์ชาติฉบับปัจจุบัน (2555-2559) ระบุกลุ่มMSM/TG * องค์กรMSM ที่ทำงานใน30จังหวัด รับงบสนับสนุน GF-SFF ปีที่1 *

ทำอะไรไป ช่องว่างอยู่ตรงไหน ทำอะไรต่อ ทำอะไรไป ช่องว่างอยู่ตรงไหน ทำอะไรต่อ 1. ส่วนหนึ่งมาจากการทำประเมินผลภายนอก เพื่อ ประเมินงานMSM ภายใต้การสนับสนุนจาก GFR8 ซึ่ง เป็นข้อสรุปจากที่ปรึกษาโครงการหลังจากได้ลงไปทำข้อมูลจากพื้นที่ (ยังไม่เป็นทางการ) : กำลังหารือเพื่อจัดเวทีนำเสนอ วันที่18 หรือ วันที่19มิ.ย.55 2. วันที่1-2มิ.ย.55 จะมีการหารือเพื่อพัฒนาแผนกิจกรรมสำหรับการดำเนินงานในกลุ่ม MSM/TG

พื้นที่จังหวัดในการดำเนินงาน ความเชื่อจากชุดข้อมูลว่าจะต้องพยายามทำให้ครอบคลุมพื้นที่ทุกจังหวัด เพื่อส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่คงที่เนื่องจากกลุ่มMSM/TG เป็นประชากรเคลื่อนย้าย การลงกิจกรรมในพื้นที่จังหวัดที่มีความชุกของอัตราการติดเชื้อHIVค่อนข้างสูงด้วยกิจกรรมที่ค่อนข้างเข้มข้น ความท้าทาย : การลงครอบคลุมพื้นที่ประเทศ และ การลงเข้มข้นในพื้นที่ที่มีความชุกฯสูง กับการบริหารทรัพยากรและเวลาที่มีอยู่อย่างจำกัด

พื้นที่ดำเนินงานกลุ่มMSM ภายใต้แผนปี55-59 GFR8 ปีที่1 GFR8 ปีที่2 หลุดแผน GF เติมพื้นที่เป้าหมาย ภายใต้ยุทธศาสตร์ ภาคอีสาน อุบล, อุดร, ขอนแก่น,โคราช มุกดาหาร, หนองคาย ศรีสะเกษ, นครพนม, เลย บุรีรัมย์ ภาคกลาง กรุงเทพฯ, ปทุม นนทบุรี, อยุธยา, นครสวรรค์ สมุทรสาคร, สมุทรสงคราม, กาญจนบุรี, ประจวบคีรีขันธ์ ลพบุรี, สระบุรี, เพชรบุรี ภาค เหนือ เชียงใหม่, ลำพูน, ลำปาง เชียงราย, พิษณุโลก, ตาก (ไม่มี) พะเยา ภาคใต้ พัทลุง, สงขลา, ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี, ตรัง, นครศรีธรรมราช, พังงา กระบี่, สตูล, ปัตานี, ชุมพร, ระนอง สคร.3 และ สคร.4 (นอกพื้นที่เขตตรวจราชการ5) ชลบุรี, ราชบุรี ตราด, ระยอง, สมุทรปราการ, นครปฐม สระแก้ว ฉะเชิงเทรา เริ่ม 14จ. (12จ. IBBS) เพิ่ม16จ. รวมเป็น 30จ. (3จ. เริ่มใหม่ในปีที่3) หลุดแผนGF จำนวน 13จ. สีน้ำเงินรวม : 31จ. (นอกพื้นที่GF 9จ.) หมายเหตุ : ยังขาดข้อมูลในส่วนของการสนับสนุนงบประมาณจาก สอวพ. ผ่าน สคร.

ตัวอย่างความท้าทายการเลือกพื้นที่ในการทำงาน โดยอาศัยข้อมูล IBBS ที่เกิน 11.1% GF USAID เชียงใหม่ มี MSM, TG, MSW ชลบุรี TG, MSW (ในพัทยา) กรุงเทพฯ TG, MSW ปทุมธานี - สงขลา การสนับสนุนโดยGF สามารถทำได้ให้การทำกิจกรรมพื้นฐาน ไม่ใช่เข้มข้น ความชุกของการติดเชื้อHIV กลุ่มเป้าหมายหลักอยู่ที่ MSMทั่วไป แต่มีกิจกรรมเข้มข้นน้อยมาก การขยายผลกิจกรรมขององค์กรที่ได้รับการสนับสนุนจากUSAID (1IA/1จ.)

ความครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ (ตามโครงการ) 100%MSM = 3%ของชายไทยอายุ 15-49 ปี 40% อยู่ในภาวะเสี่ยง 60% อยู่ในพื้นที่ที่เราสามารถเข้าถึงไ 50% กำลังที่สามารถทำงานกับกลุ่มเป้าหมายได้ นั้นคือ 100%MSMในพื้นที่จังหวัด > เข้าถึงกิจกรรมเพียง 12% 100%ของMSMที่อยู่ในภาวะเสี่ยง > เข้าถึงกิจกรรมได้ 30% ซึ่งมีข้อเสนอว่าหากต้องการจะทำงานเพื่อลดอัตราการติดเชื้อ HIV ในกลุ่ม MSM ว่าจะต้องเข้าถึง MSM ถึง 80%

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างเสริมและขยายบริการป้องกันที่ผสมผสานแก่ประชากรที่อยู่ในภาวะเสี่ยงสูง SDA 1.3 Testing and counseling SDA 1.1 BCC Community outreach Mobile VCT บริการเป็นมิตรที่ รพ. Outreach worker Peer educator Volunteer บริการเป็นมิตรที่ เรือนจำ ส่งรักษาต่อ, positive prevention สื่อ Drop-in centers SDA 1.4 STI Diagnosis and treatment ร้านขายยา บริการเป็นมิตรที่ รพ. บริการเป็นมิตรที่ เรือนจำ SDA 1.2 Prevention commodity distribution บริการเป็นมิตรที่ สอ. Condom SDA 1.5 Health workforce NSP จัดทำหลักสูตร อบรมเจ้าหน้าที่ รพ., สอ., เรือนจำ

ชุดกิจกรรมเพื่อลดอัตราการติดเชื้อHIV (สร้างเสริมและขยายบริการป้องกันที่ผสมผสานแก่กลุ่มMSM) ตั้งสมมุติฐานในการออกแบบกิจกรรมไว้ 3อย่าง ใช้กิจกรรมแกนนำเพื่อนเพื่อขยายการเข้าถึงกลุ่มMSM มีระบบบริการVCT/STI ที่กลุ่มMSMสามารถเข้าถึงได้ ใช้การแจกถุงและเจลในการช่วยส่งเสริมการทำงาน

ผลและข้อเสนอจากการลงประเมินผล โครงสร้างความร่วมมือในการให้บริการVCT/STI เป็นจุดที่วิกฤติที่สุด ซึ่งส่งผลต่อความไม่สำเร็จของโครงการ โดยที่ผ่านมาระบบบริการVCT/STI ในพื้นที่ต้องใช้ความร่วมมือระดับบุคคลและเรียกร้องความสามารถในการประสานงานสูง และ การกระตุ้นการทำงานที่ผ่านมาเป็นการสร้างแรงบัลดาลใจในการให้ความร่วมมือระดับเจ้าหน้าที่ปฎิบัติงานในจังหวัดและการยอมรับเรื่องความหลากหลายทางเพศของผู้ให้บริการเท่านั้น ซึ่งไม่เพียงพอกับการให้บริการด้าน VCT/STI ในโครงสร้างดังกล่าว ควรมีการจัดหน่วยให้บริการการVCT/STI ให้อยู่ในชุมชน เช่น ที่ศูนย์ฯ ภาครัฐที่เกี่ยวข้องทั้งหมด หารือเพื่อการจัดการทั้งระบบในการให้บริการฯ

ผลและข้อเสนอจากการลงประเมินผล 2. ด้านกิจกรรมเชิงรุกที่เข้าถึงกลุ่ม MSM เช่น กิจกรรมภาคสนาม ภายใต้โครงการขาดความหลากหลายของรูปแบบกิจกรรม ซึ่งการปรับกิจกรรมที่ได้รับจากโครงการให้มีความหลากหลายมากขึ้นเป็นความสามารถเฉพาะขององค์กร พัฒนากิจกรรมศูนย์เพื่อน(Drop-in) ต้องพัฒนารูปแบบโครงการจาก “การป้องกัน + VCT/STI” ไปสู่ “การป้องกัน + VCT/STI + การดูแลรักษา” ให้ความสำคัญกับ “VCT/STI + การดูแลรักษา” มากขึ้นเพื่อสมดุลกับ “ถุง/เจล” ขาดความหลากหลายของหัวข้อในการสนทนาระหว่างแกนนำ และกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งมีความสัมพันธ์โดยตรงกับการลงทุนทรัพยากรเพื่อใช้การพัฒนาแกนนำ เน้นพัฒนาแกนนำเพื่อความเชื่อโยงของ “การป้องกัน + VCT/STI + การดูแลรักษา”

วัตถุประสงค์ 2. เพื่อสร้างสภาวะแวดล้อมที่เสริมให้บริการป้องกันแก่ประชากรที่เข้าถึงยากมีความ เท่าเทียมและยั่งยืน สร้างศักยภาพของกลุ่มประชากรเป้าหมายของแผนงานฯในการสะท้อนข้อคิดเห็นในการแก้ไขปัญหาทั้งระดับพื้นที่และระดับชาติ SDA 2.1 Community system strengthening สร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายการส่งต่อบริการสุขภาพและสังคม และมุมมองด้านเพศวิถี อนามัยเจริญพันธ์ สิทธิด้านเพศวิถี ทบทวนและผลักดันนโยบายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง SDA 2.2 Policy and law development พัฒนากลไกการประสานงานระดับจังหวัด จัดทำแผนระดับจังหวัดโดยการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ SDA 2.3 Stigma reduction and promotion of human rights in all settings ส่งเสริมบทบาทของสื่อในการลดการรังเกียจและคุ้มครองสิทธิ สร้างเสริมความเข้าใจของผู้รักษากฎหมายในการสนับสนุนการ ให้บริการกลุ่มเป้าหมายของแผนงานฯ รณรงค์และเข้าร่วมการรณรงค์ระดับชาติและนานาชาติ

ผลและข้อเสนอจากการลงประเมินผล 2. สภาพแวดล้อมที่เสริมให้บริการป้องกันแก่กลุ่มMSM/TG PCM ถูกมองเป็นเครื่องกระตุ้นความร่วมมือเฉพาะหน้าสำหรับการจัดการประเด็ณ VCT/STI เป็นหลัก (เสนอไปแล้วเรื่องภาครัฐทั้งหมดหารือ) เชิญชวนเข้าห้องมายาคติช่วงบ่าย เพื่อ สร้างความเข้าใจร่วมกันว่าเราทุกคนเป็นพวกเดียวกัน อยู่ภายใต้มายาคติเรื่องความหลากหลายทางเพศที่แสนแนบเนียนในระบบเดียวกันแต่บทบาทในสังคมแตกต่างกัน ดังนั้น แม้นแต่ตัว MSM/TG เองก็อาจจะไม่รอดพ้นการตีตราตัวเอง กิจกรรมภายใต้โครงการทั้งหมดมุ่งเน้นการสร้างความเข้าใจเพื่อกระตุ้นแรงขับภายในเพื่อการสร้างความร่วมมือแบบนี้ (ต้องมี แต่ ไม่ใช่มีแค่นี้) ควรจัดการการจัดให้มีโครงสร้าง หรือ จัดทำแผนกิจกรรมภายใต้โครงการที่มีการขับเคลื่อนเชิงระบบที่ชัดเจนมากกว่า การกระตุ้นสร้างแรงขับภายใน

วัตถุประสงค์ 3. เพื่อเสริมสร้างระบบข้อมูลยุทธศาสตร์ที่นำไปสู่การพัฒนาการดำเนินงานแผนงานและพัฒนานโยบายการทำงานกลุ่มประชากรที่อยู่ในภาวะเสี่ยงสูง SDA 3.1 Information system and surveillance 2nd generation surveillance Routine Health Management Information System Simplified program and financial monitoring system In-depth analysis and active use of data for policy advocacy พัฒนาศักยภาพในการติดตามคุณภาพแผนงานและใช้ข้อมูลในการปรับปรุงแผนงานฯ ของ SR, SSR, องค์กรชุมชน และ หน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ SDA 3.2 Operational research -ประมาณการจำนวนกลุ่ม -ผลของ NSP กับพฤติกรรมใช้ยา ประชากรเป้าหมายของแผนงานฯ -รูปแบบการเงินสำหรับการจัดบริการ -ประเมินความยั่งยืนของบริการ แรงงานที่ไม่ได้จดทะเบียน ประชากรเป้าหมายของแผนงานฯ -Cost effectiveness ของ พสต.

ผลและข้อเสนอจากการลงประเมินผล 3. เรื่องการติดตามประเมินผล เฟส1 : พูดถึงเรื่องการนำข้อมูลที่มีอยู่แล้วไปใช้ในส่วนของเจ้าหน้าที่ระดับ จังหวัด(พัฒนากิจกรรม) และ เจ้าหน้าที่ส่วนกลาง(พัฒนาโครงการ) เฟส2 : มุ่งเน้นไปที่แบบบันทึกการทำกิจกรรมของภาคสนามทั้ง3ส่วน (เสนอวันที่1-2มิ.ย.55) . แผ่นที่1 : เป็นการบันทึกรายละเอียดในการทำงานแต่ละครั้ง, ยังคงดำเนินการต่อไป, บันทึกDATA แผ่นที่2 : เป็นการบันทึกหัวข้อที่ใช้ในการสนทนาแต่ละครั้ง, ยังคงดำเนินต่อไปและควรมีหัวข้อที่หลากหลายเพิ่มเติมมาก ขึ้น, ไม่จำเป็นต้องบันทึกDATA . แผ่นที่3-4 : เป็นแบบบันทึกพฤติกรรมรายบุคคล เสนอว่าให้ยกเลิกที่เก็บเป็นงานประจำทุกครั้ง - พฤติกรรมทางเพศ กับ IBBS - รายละเอียด VCT/STI กับ การวิจัยตามช่วงเวลา

การพัฒนาความร่วมมือเครือข่าย เครือข่ายความหลากหลายทางเพศ เครือข่ายMSMชาติ (เครือข่ายย่อยฯ) การความร่วมมือองค์กรที่ทำประเด็น ความหลากหลายทางเพศ

ขอบคุณครับ/ค่ะ