โดย...กองคลัง สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ “ระเบียบว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ” โดย...กองคลัง สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน การประชุม กฎหมาย/ระเบียบ 1. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน การประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ. 2549 2. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ พ.ศ. 2549 3. หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0409.6/ว 399 ลงวันที่ 15 พฤศจิกายน 2550 เรื่องซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการเบิกจ่ายค่าเช่าที่พักในการฝึกอบรมในประเทศและเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ในการประชุมระหว่างประเทศ
11 มกราคม 2539 เรื่องการจัดหาพัสดุในการฝึกอบรมของส่วนราชการ 4. หนังสือสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ) 1204/ว 266 ลงวันที่ 11 มกราคม 2539 เรื่องการจัดหาพัสดุในการฝึกอบรมของส่วนราชการ 5. หนังสือสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ) 1305/ว 9520 ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน 2540 เรื่องการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามระเบียบสำนัก นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535ในการจัดหาอาหาร อาหารว่าง และเครื่องดื่มของส่วนราชการ 6. หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0526.7/6700 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2540 เรื่องการเบิกค่าใช้จ่ายในการจ้างจัดฝึกอบรมของส่วนราชการ
7. ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ว่าด้วย การใช้เงินรายได้จากการฝึกอบรมและการประชุมสัมมนา พ.ศ.2553 8. ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เรื่อง อัตราค่าใช้จ่ายเงินรายได้จากการฝึกอบรมและการประชุมสัมมนา พ.ศ.2553 9. ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เรื่อง หลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2553 10. หนังสือที่ กค.0406.4/20123 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2552 เรื่อง มาตรการประหยัดในการเบิกค่าใช้จ่าย
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม บุคคลที่จะเบิกค่าใช้จ่ายได้ 1. ประธานในพิธีเปิด – ปิด แขกผู้มีเกียรติ และผู้ติดตาม เจ้าหน้าที่ วิทยากร ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ผู้สังเกตการณ์
โครงการ / หลักสูตร การฝึกอบรมต้องได้รับอนุมัติ โครงการ / หลักสูตร การฝึกอบรมต้องได้รับอนุมัติ จากหัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณก่อน การจัดฝึกอบรม การเดินทางไปจัด (เจ้าหน้าที่) และการเข้ารับการฝึกอบรม (ผู้เข้าอบรม) ต้องได้รับอนุมัติให้เดินทางไปราชการหรือการจัดการประชุม จากหัวหน้าส่วนราชการก่อน
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ค่าใช้จ่ายและตกแต่งสถานที่ ค่าใช้จ่ายพิธีเปิด – ปิด ค่าวัสดุ เครื่องเขียน อุปกรณ์ ฯลฯ ค่าตอบแทนวิทยากร ค่าอาหารและเครื่องดื่ม ค่าเช่าที่พัก ค่าเบี้ยเลี้ยง เช่น
1. ค่าตอบแทนวิทยากร หลักเกณฑ์การจ่ายตอบแทนวิทยากร 1. ค่าตอบแทนวิทยากร หลักเกณฑ์การจ่ายตอบแทนวิทยากร 1. แบบบรรยาย เบิกได้ไม่เกิน 1 คน 2. แบบอภิปราย / สัมมนา เป็นคณะเบิกได้ไม่เกิน 5 คน 3. แบบแบ่งกลุ่ม ฝึกปฏิบัติ,กิจกรรมเบิกได้ไม่เกินกลุ่มละ 2 คน
การเทียบตำแหน่ง การฝึกอบรมประเภท ก – ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่เป็น การฝึกอบรมประเภท ก – ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่เป็น – ข้าราชการต่ำกว่า ระดับ 8 หรือเทียบเท่า ระดับฝึกอบรมประเภท ข - ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่เป็นข้าราชการระดับ 9 ขึ้นไป หรือตำแหน่งที่เทียบเท่า - การฝึกอบรมบุคคลภายนอก - ผู้เข้าร่วมอบรมกึ่งหนึ่งมิใช่บุคลากรของรัฐ 1. ค่าตอบแทนวิทยากร
ระดับต้น/ บุคคลภายนอก 1. ค่าตอบแทนวิทยากร อัตราการจ่ายค่าตอบแทนวิทยากร ประเภทวิทยากร อัตรา (บาท / ชั่วโมง) ระดับต้น/ บุคคลภายนอก ระดับกลาง ระดับสูง วิทยากรเป็นบุคลากรของรัฐ ไม่เกิน 600 ไม่เกิน 800 วิทยากรมิใช่บุคลากรของรัฐ ไม่เกิน 1,200 ไม่เกิน 1,600
เอกสารประกอบการเบิกจ่าย ค่าตอบแทนวิทยากร 1. ค่าตอบแทนวิทยากร เอกสารประกอบการเบิกจ่าย ค่าตอบแทนวิทยากร หนังสือเชิญวิทยากร/แบบตอบรับ ใบสำคัญรับเงินสำหรับวิทยากร สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน / บัตรข้าราชการ โครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรม (กำหนดการ)/ตารางการฝึกอบรม
2. ค่าอาหาร (โครงการต้องสัมพันธ์กับการเบิกจ่าย) *** ให้เบิกเท่าที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน*** ระดับการฝึกอบรม ในสถานที่ของส่วนราชการรัฐวิสาหกิจ,หน่วยงานรัฐ สถานที่เอกชน ครบทุกมื้อ ไม่ครบทุกมื้อ ประเภท ก ไม่เกิน 850 ไม่เกิน 600 ไม่เกิน 1,200 ประเภท ข ไม่เกิน 400 ไม่เกิน 950 ไม่เกิน 700
2. ค่าอาหาร(ขอความร่วมมือใช้มาตรการประหยัด) ในสถานที่ของส่วนราชการ สถานที่เอกชน ฝึกอบรม ประชุม ค่าอาหาร ไม่เกิน 150/มื้อ ไม่เกิน 80/มื้อ ไม่เกิน 400/มื้อ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ไม่เกิน 25/มื้อ
ค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม-ประชุม สถานที่ราชการ สถานที่เอกชน อาหาร 80/คน/มื้อ อาหารว่างและ เครื่องดืม 25/คน/มื้อ
เอกสารประกอบการเบิกจ่าย ค่าอาหาร ใบสำคัญรับเงิน ระบุ รายละเอียดโครงการ,วันที่,จำนวนคนหรือใบเสร็จรับเงิน (กรณีที่จัดโรงแรม) - สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้รับจัดทำอาหาร - ลายมือชื่อผู้เข้ารับการฝึกอบรม โครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรม กำหนดการอบรม / จัดประชุม
3. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ เอกสารประกอบการเบิกจ่าย รายงานการเดินทาง (ตามแบบฟอร์ม) - ค่าเบี้ยเลี้ยง - ค่าเช่าที่พักในการฝึกอบรม แบบรายการเข้าพัก (Folio) , ใบเสร็จรับเงิน หรือ แบบเหมาจ่าย - ค่ายานพาหนะ - หลักฐานการอนุมัติให้ไปราชการหรือคำสั่งไปราชการโดยระบุวันปฏิบัติราชการอย่างชัดเจน - กำหนดการอบรม / ประชุม
อัตราค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางไปราชการ (เหมาจ่าย) ข้าราชการ อัตรา ระดับ 1, 2 หรือเทียบเท่า 240 ระดับ 3 ถึง 8 หรือเทียบเท่า ระดับ 9 ขึ้นไป 270
การนับเวลา ออกจากที่อยู่หรือที่ทำงานปกติจนกลับถึงที่อยู่หรือ กรณีพักแรม 24 ชม. เป็น 1 วัน เศษเกิน 12 ชม. นับเป็น 1 วัน กรณีไม่พักแรมเศษเกิน 12 ชม. เป็น 1 วัน เกิน 6 ชม. นับเป็น ครึ่งวัน ให้หักค่าเบี้ยเลี้ยงที่คำนวณได้มื้อละ 1 ใน 3 ของอัตราเบี้ยเลี้ยง เดินทางเหมาจ่าย
อัตราค่าเช่าที่พัก เดินทางไปราชการ ห้องพักเดี่ยว ห้องพักคู่ เหมาจ่าย ไม่เกิน 1,500 บาท/วัน /คน ไม่เกิน 850บาท/วัน/ คน 800
อัตราค่าเช่าที่พัก กรณีฝึกอบรม ประเภทการฝึกอบรม ห้องพักเดี่ยว (บาท/วัน/คน) ห้องพักคู่ ประเภท ก ไม่เกิน 2,400 บาท ไม่เกิน 1,300 บาท ประเภท ข ไม่เกิน 1,450 บาท ไม่เกิน900บาท บุคคลภายนอก ไม่เกิน 1,200 ไม่เกิน 750 บาท
ค่ายานพาหนะ เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น และประหยัด กรณีใช้ยานพาหนะของส่วนราชการ เบิกค่าน้ำมันเท่าที่จ่ายจริง โดยมีหลักฐานการอนุญาตให้ใช้รถราชการ กรณีจ้างเหมายานพาหนะ ต้องมีการจัดซื้อ/จ้างตามระเบียบฯพัสดุ กรณีใช้ยานพาหนะส่วนตัว เบิกได้ไม่เกิน กม.ละ 4 บาท
อัตราค่าพาหนะรับจ้าง กรณี อัตราการเบิกจ่าย *กรณีเดินทางจากมหาวิทยาลัยหรือบ้านพักไปสถานีขนส่งหรือสนามบินในจังหวัดเชียงใหม่ -ให้เบิกตามความเป็นจริงไม่เกินเที่ยวละ 200 บาท -เบิกได้ไม่เกิน 2 เที่ยว *กรณีเดินทางในเขตพื้นที่กรุงเทพฯและปริมณฑล -ให้เบิกตามความเป็นจริงไม่เกินเที่ยวละ 350 บาท *กรณีเดินทางระหว่างกรุงเทพฯ กับ จังหวัดที่มี่เขตติดต่อกับกรุงเทพฯ หรือเดินทางข้ามเขตจังหวัดที่ผ่านกรุงเทพฯ -ให้เบิกตามความเป็นจริงไม่เกินเที่ยวละ 500 บาท Company Logo
ค่าเครื่องบิน ระดับ 9 ขึ้นไป ชั้นประหยัด กรณีมีความจำเป็นเร่งด่วน (ต้องขออนุญาตจากหัวหน้าส่วนราชการ)
หลักฐานการเบิกค่าเครื่องบิน กรณีมีหนังสือให้บริษัทออกบัตรโดยสารให้ก่อน ให้ใช้ใบแจ้งหนี้เป็นหลักฐานในการเบิกเงิน กรณีจ่ายเป็นเงินสด ให้ใช้หลักฐาน - ใบเสร็จรับเงิน กรณีซื้อ E-Ticket ให้ใช้ใบรับเงินที่แสดงรายละเอียด การเดินทาง
กรณีจัดอบรมบุคคลภายนอก และส่วนราชการไม่จัดอาหาร / ที่พัก / ยานพาหนะ กรณีจัดอบรมบุคคลภายนอก และส่วนราชการไม่จัดอาหาร / ที่พัก / ยานพาหนะ ให้จ่ายเงินให้แก่ผู้เข้าฝึกอบรมที่มิใช่บุคลากรของรัฐ ดังนี้ 1. ค่าเบี้ยเลี้ยง * ไม่จัดอาหารทั้ง 3 มื้อ จ่าย 240 บาท / วัน / คน * จัดอาหารให้ 2 มื้อ จ่ายไม่เกิน 80 บาท/วัน/คน * จัดอาหารให้ 1 มื้อ จ่ายไม่เกิน 160 บาท / วัน / คน 2. 3. ค่าพาหนะ จ่ายตามจริงหรือเหมาจ่าย อยู่ในดุลยพินิจของ หัวหน้าส่วนราชการ (ห้ามเบิกค่าเครื่องบิน)
4. การจ้างเหมารถยนต์ในการฝึกอบรม 4. การจ้างเหมารถยนต์ในการฝึกอบรม - หลักฐานการขออนุญาตเช่าเหมารถยนต์/โครงการที่เกี่ยวข้อง หลักฐานการจัดจ้างตามระเบียบฯพัสดุ พ.ศ.2535และที่แก้ไขเพิ่มเติม สัญญาเช่ารถยนต์ พร้อมติดอากรแสตมป์ (1,000/1บาท) - ตารางกรมธรรม์ที่ระบุความคุ้มครอง รายการจดทะเบียนรถยนต์ สำเนาใบขับขี่ / สำเนาบัตรประชาชน
5. การจ้างเหมาบริการ, จ้างทำของ 5. การจ้างเหมาบริการ, จ้างทำของ - ค่าจ้างเหมาตกแต่งสถานที่ เช่น จัดดอกไม้ ค่าเช่าสถานที่ , เช่าหอประชุม เอกสารประกอบการเบิกจ่าย โครงการที่ได้รับอนุมัติ หลักฐานการจัดซื้อ/จัดจ้าง ใบเสร็จรับเงิน , ใบส่งของ ,ใบตรวจรับ สำเนาบัตรประชาชน (กรณีใช้ใบสำคัญรับเงิน)
การเบิกจ่ายค่าตอบแทนการปฏิบัติงานล่วงเวลา กฎหมาย/ระเบียบ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจ่ายเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการพ.ศ.2550 ระเบียบซ้อมความเข้าใจวิธีปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ.2550
หลักฐานการเบิกจ่ายเงิน เอกสารอนุมัติให้ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ให้หัวหน้าส่วนราชการหรือผู้ที่หัวหน้าส่วนมอบหมายอนุมัติก่อนระเบียบฯข้อ5(2) หลักฐานการจ่ายเงินนอกเวลา วันปกติ ช.ม.ละ 50 บาทไม่เกิน 4 ช.ม.วันหยุด ช.ม.ละ 60 บาท ไม่เกิน 7 ช.ม. ใบลงเวลาการปฏิบัติงาน -รายงานผลการปฏิบัติงานที่ได้มีการรายงานให้ผู้มีอำนาจทราบตามระเบียบฯข้อ9(2)
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร กฎหมาย/ระเบียบ 1.พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2548 2.ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2550 3. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการอนุมัติให้เดินทางไปราชการและการจัดการประชุมของทางราชการ พ.ศ. 2524 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 4. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเดินทางไปราชการโดยยานพาหนะประจำทาง พ.ศ. 2533
5. หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0409 5. หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0409.6/ ว 42 ลงวันที่ 26 กรกฎาคม 2550 เรื่องหลักเกณฑ์การเบิกค่าพาหนะรับจ้างข้ามเขตจังหวัด เงินชดเชย และค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่ายเนื่องในการเดินทางไปราชการ 6.มาตรการประหยัดงบประมาณ พ.ศ. 2550 ของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย(ถ้ามี)
บุคคลผู้มีสิทธิ (1) ข้าราชการ (2) ลูกจ้างที่ได้รับเงินค่าจ้างจากเงินงบประมาณรายจ่าย ยกเว้นชาวต่างประเทศที่มีสัญญาจ้าง (3) บุคคลภายนอกตามที่กระทรวงการคลังเทียบตำแหน่ง - เบิกเท่าระดับ 1 - เคยรับราชการให้เทียบตำแหน่งสุดท้ายก่อนออกจากราชการ (4) ข้าราชการการเมือง
สิทธิเบิกค่าใช้จ่าย - มีการเดินทางจริง - มีคำสั่งให้เดินทางไปราชการ สิทธิที่จะได้รับค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ เกิดตั้งแต่วันที่ได้รับอนุมัติให้เดินทางไปราชการ หรือ วันที่ออกจากราชการ ผู้อนุมัติตามความจำเป็นและเหมาะสมโดยจะต้อง - มีการเดินทางจริง - มีคำสั่งให้เดินทางไปราชการ - ได้รับอนุมัติให้เดินทางจากผู้มีอำนาจตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการอนุมัติให้เดินทางไปราชการ พ.ศ. 2524
หลักฐานการเบิกจ่าย 1. หลักฐานการอนุญาตไปราชการ 2. แบบเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ - หลักฐานการจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (กรณีเดินทางเป็นหมู่คณะ) - ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน สำหรับค่าพาหนะที่ไม่อาจเรียกใบเสร็จรับเงิน 3.ใบสำคัญรับเงินค่าที่พักเหมาจ่าย 4. ใบเสร็จรับเงินและใบแจ้งรายการของโรงแรม (Folio) กรณี เบิกค่าที่พักลักษณะตามจ่ายจริง 5.ค่าโดยสารเครื่องบิน -ใบเสร็จรับเงินและกากตั๋วโดยสาร กรณีจ่ายเงินสด -ใบรับเงินที่แสดงรายละเอียดการเดินทาง (Itinerary Receipt) และ กากตั๋วโดยสารกรณีซื้อบัตรโดยสารทาง E-ticket 6. ใบเสร็จรับเงินอื่น ๆ เช่น ค่าน้ำมัน ค่าธรรมเนียมผ่านทางด่วน เป็นต้น
การจ้างเหมาบริการเอกชนดำเนินงานของส่วนราชการ กฎหมาย / ระเบียบ 1. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2. หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0409.3/ว 78 ลว. 27 ก.ย.49 เรื่อง ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ พ.ศ.2549
หลักเกณฑ์ดำเนินการ การจ้างเหมาบริการจากเอกชนเพื่อดำเนินงานของส่วนราชการ 1. เบิกจ่ายจากงบดำเนินงานของส่วนราชการ ลักษณะค่าใช้สอย 2. ไม่ถือเป็นการจ้างลูกจ้างของส่วนราชการ และไม่ถือเป็นการจ้างแรงงานไม่มี นิติสัมพันธ์ในฐานะนายจ้าง-ลูกจ้าง” ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ จึงไม่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายประกันสังคม 3. จะจ้างเอกชนที่เป็นนิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดาก็ได้ อัตราค่าตอบแทนไม่จำเป็นต้องจ้างตามคุณวุฒิการศึกษาอย่างเดียว แต่ให้พิจารณาคัดเลือกผู้ที่ มีความรู้ มีประสบการณ์ที่เหมาะสม โดยมุ่งผลสำเร็จของงานจ้างภายในระยะเวลาที่กำหนด สำหรับค่าตอบแทนอื่น ๆ เช่น ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ฯลฯ ควรกำหนดเป็นเงื่อนไขในสัญญาจ้าง
4. วิธีการจัดจ้างให้ปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 5. การควบคุม ส่วนราชการผู้ว่าจ้างมีอำนาจในการตรวจตรางานและสั่งให้ปรับปรุงแก้ไขเมื่องานบกพร่อง การปฏิบัติงานอาจใช้วิธีบันทึกเวลาการมาทำงานตามที่ตกลง กรณีไม่มาทำงานอาจหาผู้อื่นมาทำงานแทน หากเกิดความเสียหาย เนื่องจากไม่มาทำงาน อาจกำหนดค่าปรับ 6. การเบิกจ่ายเงินไม่สร้างข้อมูลหลักผู้ขาย และไม่ต้องจัดทำใบสั่งซื้อสั่งจ้าง ในระบบGFMIS ให้ตั้งเบิกเงินจ่ายเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของส่วนราชการ (แบบ ขบ 02) ตั้งแต่วันที่ 15 ของทุกเดือน และจ่ายให้ผู้รับจ้างเมื่อสิ้นเดือน
หลักฐานการเบิกจ่าย 1.บันทึกที่หัวหน้าส่วนราชการอนุมัติให้ดำเนินการจ้างเหมาเอกชน 2.หลักฐานการดำเนินการจัดจ้างตามระเบียบฯพัสดุ 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2. สัญญาจ้างหรือใบสั่งจ้าง (ต้องติดอากรแสตมป์พันละ 1 บาท) 3. ใบสำคัญรับเงิน / ใบเสร็จรับเงิน 4. หลักฐานการตรวจรับงาน /ใบส่งมอบงาน