สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการข้อมูล การประเมินผลงานวิชาการ การประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET ครั้งที่ 9 นางสาวสุชาภา โชติวีระวุฒิกุล, นายญาณพัฒน์ อินทร, นายเหมรัศมิ์ วชิรหัตถพงศ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน
ขั้นตอนที่ 1 การออกแบบฐานข้อมูล ขั้นตอนที่ 1 การออกแบบฐานข้อมูล CodeIgniter3 Bootstrap CSS JavaScript การออกแบบใช้แผนภาพอีอาร์ (ER Diagram) ระบบทำงานบนอุปกรณ์พกพาได้อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบได้ง่าย มีเครื่องมือที่ช่วยให้พัฒนาได้อย่างรวดเร็ว
ภาพ ER-Diagram ส่วนของการออกข้อมูลคณะกรรมการและข้อมูลการประเมินผล ขั้นตอนที่ 1 การออกแบบฐานข้อมูล ภาพ ER-Diagram ส่วนของการออกข้อมูลคณะกรรมการและข้อมูลการประเมินผล
ขั้นตอนที่ 1 การออกแบบฐานข้อมูล ขั้นตอนที่ 1 การออกแบบฐานข้อมูล ภาพ ER-Diagram ส่วนของการออกแบบการจัดเก็บข้อมูลการนำเสนอและเอกสารการนำเสนอ
ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงานของระบบ ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงานของระบบ 1 ลงทะเบียนการนำเสนอผลงาน ระบบส่งข้อความยืนยันการลงทะเบียน พร้อมแนบ Usernme และ Password เข้าใช้งานระบบส่งผลงานผ่านทาง Email 2 3 ผู้นำเสนอผลงานนำ Usernme และ Password แนบมาจาก Email ที่ได้รับหลังลงทะเบียนนำเสนอผลงาน 4 ไม่ Upload ผลงาน Upload ผลงาน
ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงานของระบบ ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบขั้นตอนการทำงานของระบบ 5 ดำเนินการจัดคณะกรรมการ 9 8 ผลการประเมินผลงาน 6 ส่งผลการประเมิน ผลงาน 7 ส่งเอกสารประกอบการประเมินผลงาน และ Usernme Password ที่เข้าใช้งานระบบ ส่งผ่านทาง Email ประเมินผลงานวิชาการ
ขั้นตอนที่ 3 การใช้งานระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการข้อมูล การประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET ครั้งที่ 9 แบ่งกลุ่มของผู้ใช้ออก เป็น 4 กลุ่ม
ขั้นตอนที่ 3 การใช้งานระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการข้อมูล การประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET ครั้งที่ 9 สามารถลงทะเบียนนำเสนอผลงาน อัพโหลดเอกสารผลงานวิชาการ (รูปแบบไฟล์ PDF และ ไฟล์ Word) ดูผลการประเมินจากคณะกรรมการประเมินผลงาน
ภาพหน้าจออัพโหลดเอกสารผลงานวิชาการ (รูปแบบไฟล์ PDF และ ไฟล์ Word) ขั้นตอนที่ 3 การใช้งานระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการข้อมูล การประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET ครั้งที่ 9 ภาพหน้าจออัพโหลดเอกสารผลงานวิชาการ (รูปแบบไฟล์ PDF และ ไฟล์ Word)
ขั้นตอนที่ 3 การใช้งานระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการข้อมูล การประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET ครั้งที่ 9 สามารถจัดคณะกรรมการประเมินผลงานให้กับแต่ละผลงานที่ผู้นำเสนอส่งเข้าระบบ สรุปผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลงาน ส่งผลการประเมินให้กับผู้นำเสนอผลงานวิชาการ สามารถตรวจสอบจำนวนผู้ที่นำเสนอผลงานแยกตามกลุ่มได้
ภาพหน้าจอตรวจสอบข้อมูลของผู้ที่นำเสนอผลงานแยกตามกลุ่มได้ ขั้นตอนที่ 3 การใช้งานระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการข้อมูล การประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET ครั้งที่ 9 ภาพหน้าจอตรวจสอบข้อมูลของผู้ที่นำเสนอผลงานแยกตามกลุ่มได้
ขั้นตอนที่ 3 การใช้งานระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการข้อมูล การประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET ครั้งที่ 9 สามารถประเมินผลงานวิชาการ ให้ข้อเสนอแนะผ่านระบบได้
ภาพหน้าจอการบันทึกข้อเสนอแนะและประเมินผลงานวิชาการ ขั้นตอนที่ 3 การใช้งานระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการข้อมูล การประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET ครั้งที่ 9 ภาพหน้าจอการบันทึกข้อเสนอแนะและประเมินผลงานวิชาการ ของคณะกรรมการประเมินผลงาน
ขั้นตอนที่ 3 การใช้งานระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการข้อมูล การประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET ครั้งที่ 9 มีหน้าที่ควบคุมการเปิด-ปิดระบบ การปลดล็อคการอัพโหลดผลงาน การจัดการข้อมูลเจ้าหน้าที่ ข้อมูลคณะกรรมการประเมินผลงานและผู้นำเสนอผลงาน
ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ จากการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการข้อมูล การประเมินผลงานวิชาการ ระดับชาติ PULINET ครั้งที่ 9 และ ใช้ในการดำเนินงานตั้งแต่เดือน ส.ค. 61 ถึง ธ.ค. 61 ซึ่งมีผลงาน วิชาการที่เข้ารับการประเมินผ่านระบบแล้วกว่าหนึ่งร้อยบทความนั้น ระบบสารสนเทศดังกล่าวช่วยอำนวยความสะดวกให้กับ ผู้นำเสนอผลงานในการส่งผลงานวิชาการ คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ สามารถจัดคณะกรรมประเมินผลงาน วิชาการ และการสรุปผลการประเมินของคณะกรรมการ ประเมินผลงานได้สะดวกมากขึ้น และรวบรวมข้อมูลไว้ที่ระบบ เดียว ทำให้ช่วยลดข้อผิดพลาดของการดำเนินการ ป้องกัน ความผิดพลาดจากการแก้ไขข้อมูลและการใช้งานข้อมูลได้อย่างมี ประสิทธิภาพ คณะกรรมการประเมินผลงานสามรถประเมินได้สะดวกและรวดเร็ว
การประเมินผลการใช้งานระบบจากการสอบถามผู้ใช้ทั้ง 4 กลุ่ม ผู้นำเสนอผลงาน พบว่า ระบบใช้งานง่าย มีความสะดวกรวดเร็วและ สามารถตอบสนองในเวลาจริงได้อย่างทันท่วงที สามารถประมวลผลได้ ถูกต้อง ผู้นำเสนอผลงานมีความพึงพอใจการใช้งานระบบดีมาก คณะกรรมการวิชาการ พบว่า ระบบใช้งานง่าย มีความสะดวกรวดเร็ว และสามารถตอบสนองในเวลาจริงได้อย่างทันท่วงที สามารถประมวลผล ได้ถูกต้อง คณะกรรมการวิชาการมีความพึงพอใจการใช้งานระบบดีมาก คณะกรรมการประเมินผลงานวิชาการ พบว่า ระบบใช้งานง่าย มีความ สะดวกรวดเร็วและสามารถตอบสนองในเวลาจริงได้อย่างทันท่วงที สามารถประมวลผลได้ถูกต้อง คณะกรรมการประเมินผลงานวิชาการมี ความพึงพอใจการใช้งานระบบดีมาก และคณะกรรมการมีข้อเสนอแนะใน การพัฒนาต่อยอดให้สามารถใช้งานกับการประชุมวิชาการที่มีลักษณะ เดียวกันต่อไปได้ ผู้ดูแลระบบ พบว่า ระบบใช้งานง่าย มีความสะดวกรวดเร็วและสามารถ ตอบสนองในเวลาจริงได้อย่างทันท่วงที และมีฟังก์ชันการใช้งานของ ผู้ดูแลระบบค่อนข้างครบ สามารถประมวลผลได้ถูกต้อง ผู้ดูแลระบบมี ความพึงพอใจในการใช้งานระบบดีมาก และมีข้อเสนอแนะในส่วนของ การจัดกลุ่มของเมนูการใช้งานให้เป็นหมวดหมู่จะทำให้การใช้งานสะดวก มากขึ้น
การนำไปใช้ประโยชน์ สามารถนำมาใช้ร่วมกับกระบวนการบริหารจัดการการ คัดเลือกคณะกรรมการประเมิน ผลงานให้กับผู้นำเสนอ ผลงานวิชาการ การสรุปผลประเมินผลงานวิชาการเพื่อ ส่งผลประเมินให้กับ ผู้นำเสนอผลงานวิชาการ สามารถนำไปใช้งานร่วมกันระบบควบคุมเวลาในการ นำเสนอผลงานและระบบจัดห้องการนำเสนอผลงาน เป็นการพัฒนานวัตกรรมระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร จัดการข้อมูลการประเมินผลงานทางวิชาการ ซึ่งเป็น ต้นแบบหนึ่งให้แก่การพัฒนาระบบสารสนเทศในด้านนี้ ซึ่งองค์กรอื่นสามารถนำองค์ความรู้ดังกล่าวไปประยุกต์ ให้เหมาะสมกับการพัฒนาระบบสารสนเทศอื่นต่อไปได้