การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
หน่วยรับตรวจส่วนงานย่อย สพฐ. สพป. / สพม. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม / หน่วย กลุ่ม / งาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหน่วยรับตรวจ และส่วนงานย่อย.
การกำกับ ติดตาม ประเมินผล สำนักตรวจและประเมินผล Bureau of Inspection and Evaluation.
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การควบคุมภายในตามระเบียบ คตง.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
แนวทางการจัดทำรายงาน การควบคุมภายในประจำปี 2561
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การควบคุมภายในตามระเบียบ คตง. ว่าด้วยการกำหนด มาตรฐานการควบคุมภายใน พ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อทบทวนระบบการควบคุมภายใน
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
บทบาทอำนาจหน้าที่ตรวจสอบภายใน
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
แนวทางการจัดทำรายงาน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
หลักธรรมาภิบาล ความหมายของธรรมาภิบาล
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
1.
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
เฟื่องฟ้า เทียนประภาสิทธิ์
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
FA Interview.
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
การบริหารความเสี่ยง (Enterprise Risk Management)
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
เอกสารประกอบการบรรยาย การประชุมเชิงปฎิบัติการ การจัดทำแผนฯ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์ งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ 30 กรกฎาคม 2552 Download : http://intranet.sc.mahidol/PN/controin.html

การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี - ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ.2542 กำหนดให้ใช้มาตรการเพื่อส่งเสริมและกำกับให้หน่วยงานของรัฐทุกแห่ง กำหนดแผนการสร้างความโปร่งใสและป้องกันการทุจริต ประพฤติมิชอบในระบบราชการ และรายงานผลการดำเนินงานในรอบปีต่อคณะรัฐมนตรี - หน่วยงานของรัฐจึงต้องมีการดำเนินการในเรื่อง การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน

ความเสี่ยง หมายถึง การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์อัน - โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์อัน ไม่พึงประสงค์ที่ทำให้งานไม่ประสบผลสำเร็จ ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่องค์กรกำหนดไว้

การป้องกันความเสี่ยงของหน่วยงาน ความเสี่ยง ที่จะต้องหาทางควบคุม ป้องกัน หรือ ลดความเสี่ยงให้น้อยลงโดยใช้หลัก 1. “การบริหารความเสี่ยง” 2. จัดทำ “ระบบการควบคุมภายใน”

การควบคุมภายใน หมายถึง การควบคุมภายใน หมายถึง - กระบวนการที่ต่อเนื่องจากการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้มั่นใจว่าการดำเนินงานขององค์กรจะบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

วัตถุประสงค์ตามความหมายของการควบคุมภายใน มีดังนี้ วัตถุประสงค์ตามความหมายของการควบคุมภายใน มีดังนี้ มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการดำเนินงาน รายงานการดำเนินกิจกรรมต่อผู้บังคับบัญชาเชื่อถือได้ และเสร็จทันเวลา การดำเนินกิจกรรมนั้นปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และตามนโยบายที่ผู้บริหารกำหนด

แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายใน 1. แทรกอยู่ในการทำงานปกติ 2. ทุกคนมีส่วนร่วม 3. ทำให้ผู้บริหารมั่นใจได้ว่าการดำเนินงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ 4. ข้อจำกัดที่สำคัญที่สุดคือ การที่ผู้บริหารฝ่าฝืนระบบ ปฏิบัติไม่สม่ำเสมอ หรือมีการปฏิบัติสองมาตรฐาน

องค์ประกอบการควบคุมภายใน สภาพแวดล้อมการควบคุม การประเมินความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร การติดตามประเมินผล

สภาพแวดล้อมการควบคุม หมายถึง ปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลให้มีการควบคุมที่ดี สภาพแวดล้อมที่ปฏิบัติงานอยู่สามารถทำให้การควบคุมที่มีอยู่บังเกิดผลดียิ่งขึ้นหรืออาจหย่อนลงก็ได้ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องได้แก่ ปรัชญาและรูปแบบการทำงานของผู้บริหาร ความซื่อสัตย์และจริยธรรม ความรู้ ทักษะ และความสามารถของบุคลากร โครงสร้างการจัดการองค์กร การมอบอำนาจและหน้าที่ความรับผิดชอบ นโยบายและวิธีบริหารด้านบุคลากร

บรรยากาศของการควบคุม 1. การควบคุมที่มองเห็นไม่ได้ (Soft Control) - ความซื่อสัตย์ - ความโปร่งใส - การมีภาวะผู้นำ - ความมีจริยธรรม 2. การควบคุมที่มองเห็นได้ (Hard Control) - กำหนดโครงสร้างองค์กร - นโยบายและแผน - ระเบียบ กฎหมาย - มาตรฐานการปฏิบัติงาน

การประเมินความเสี่ยง หมายถึง การระบุและวิเคราะห์ความเสี่ยงที่มีผลต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรรวมทั้งการกำหนดแนวทางที่จำเป็นต้องใช้ในการควบคุมหรือบริหารความเสี่ยง

ขั้นตอนในการประเมินความเสี่ยง การระบุปัจจัยเสี่ยง การวิเคราะห์ความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง

การระบุปัจจัยเสี่ยง มาจากสาเหตุใด 1.1 ปัจจัยภายนอก 1.2 ปัจจัยภายใน 1.1 ปัจจัยภายนอก 1.2 ปัจจัยภายใน กิจกรรมใด ที่เกิดความผิดพลาด เสียหาย หรือไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ทรัพย์สินใดจะต้องดูแลเป็นพิเศษ

มหาวิทยาลัยมหิดลระบุความเสี่ยง ดังนี้ 1. การศึกษา 2. การวิจัย 3. การคลังและทรัพย์สิน 4. สิ่งแวดล้อม 5. การบริการรักษาพยาบาล (เฉพาะส่วนงานที่มี) 6. อื่นๆ (ความเสี่ยงที่นอกเหนือจากหัวข้อที่กำหนด)

การวิเคราะห์ความเสี่ยง มหาวิทยาลัยกำหนดให้ใช้สัญลักษณ์ต่อไปนี้ มีผลกระทบต่อองค์กรมากน้อยเพียงใด โอกาสเกิดความเสี่ยง ผลกระทบ รุนแรง ไม่รุนแรง ก ข โอกาส เกิดบ่อย เกิดไม่บ่อย 1 2

ตารางวิเคราะห์ระดับความเสี่ยง ก1 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วสร้างความเสียหายรุนแรง มีผลต่อเนื่องระยะยาว ส่งผลต่อความเชื่อมั่นขององค์กร เห็นเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน สร้างความเสียหายต่อชื่อเสียงขององค์กร ต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน และมีโอกาสที่จะเกิดบ่อย ก2 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วสร้างความเสียหายรุนแรง มีผลต่อเนื่องระยะยาว ส่งผลต่อความเชื่อมั่นขององค์กร เห็นเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน สร้างความเสียหายต่อชื่อเสียงขององค์กร แต่มีโอกาสในการเกิดไม่บ่อย ข1 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วสร้างความเสียหายไม่รุนแรง ส่งผลเพียงระยะสั้นๆ แต่มีโอกาสเกิดขึ้นได้บ่อย ข2 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วสร้างความเสียหายไม่รุนแรง ส่งผลเพียงระยะสั้นๆ และมีโอกาสเกิดไม่บ่อย ผลกระทบ โอกาส

การควบคุมสามารถแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ 1. แบบป้องกัน (Preventive Control) เช่น แยกหน้าที่ การทำงาน การควบคุมการเข้าถึงทรัพย์สิน 2. แบบค้นพบ (Detective Control) เช่นการสอบทานงาน การตรวจนับพัสดุ การสอบยันยอดเงิน 3. แบบแก้ไข (Corrective Control) กำหนดเพื่อแก้ไขข้อผิดพลาด หรือไม่ให้เกิดขึ้นอีกในอนาคต 4. แบบส่งเสริม (Directive Control) กระตุ้นให้เกิดการบรรลุวัตถุประสงค์ระดับต่าง ๆ เช่น การให้รางวัล

สารสนเทศและการสื่อสาร ฝ่ายบริหารต้องให้มีสารสนเทศอย่างเพียงพอ มีการสื่อสารอย่างเหมาะสม มีรูปแบบที่เหมาะสม ทันเวลา (เพื่อให้ทราบโดยทั่วกันและทันเวลา)

การติดตามประเมินผล ติดตามระหว่างการปฏิบัติงาน การประเมินเป็นรายครั้ง อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ 1. การประเมินด้วยตนเอง 2. การประเมินการควบคุมอย่างอิสระ

วงรอบระบบการควบคุมและประเมินผล ระบุความเสี่ยง การควบคุมที่มีอยู่/ความเสี่ยงที่ยังมีอยู่ แผนการปรับปรุงการควบคุม (Plan) การดำเนินการควบคุม (Do) การติดตามประเมินผล (Check) การปรับปรุงการควบคุม (Act)