0215104 introduction to Computer Programming e-mail address: thiansuda@gmail.com web site: http://mis.csit.sci.tsu.ac.th/suda
บทที่ 1 บทนำ ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ตัวแปลภาษา
ภาษาโปรแกรม คือ โปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ซึ่งเขียนขึ้นเพื่อให้สามารถทำงานเฉพาะอย่างตามที่ต้องการ เช่น โปรแกรมการจัดการซื้อขาย การจัดการเงินเดือน ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น ภาษาซี
ใช้ภาษาอังกฤษแทนคำสั่ง เช่น ภาษา Pascal, C, C++, Visual Basic, Fortran ตัวอย่าง input(W,X,Y); Z = W + X * Y; การแปลภาษา ภาษาเครื่อง
ตัวแปลภาษา คือ โปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ซึ่งเขียนขึ้นเพื่อใช้สำหรับแปลชุดคำสั่งที่เราเขียนขึ้นมาให้เป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถนำไปประมวลผลตามคำสั่งได้
การ Compile ที่ไม่มี error หรือความผิดพลาดเท่านั้น คอมไพเลอร์ (Compiler) - แปลคำสั่งที่เขียนขึ้น (Source Program) ทั้งหมดในครั้งเดียว แล้วนำผลลัพธ์ไปเก็บเป็น Object Program เพื่อนำไปประมวลผลต่อไป เช่น ภาษา C, Pascal การ Compile ที่ไม่มี error หรือความผิดพลาดเท่านั้น จึงจะมีการสร้าง OBJ File
การสร้างโปรแกรม (1) สร้าง Source code Compile Run EXE File ไฟล์ชนิด CPP Source code เป็นภาษาอังกฤษที่เขียนขึ้นตามกฎเกณฑ์ ของภาษา เพื่อเป็นการสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำอะไร อย่างไร และทำเมื่อไร โดยชนิดของไฟล์ที่บันทึก จะถูกกำหนดให้เป็น CPP
การสร้างโปรแกรม (2) ขั้นต่อไปก็คือการสั่งให้โปรแกรมทำงานเรียกว่าการรัน ( run ) โดยจะต้องมีการตรวจสอบว่าโปรแกรมเขียนถูกต้องตามกฎหรือไม่ ถ้าไม่ถูกจะมีการแสดงข้อความระบุสาเหตุของความผิดพลาด และ แสดงตำแหน่งที่ผิดพลาดใน Source code
ขั้นตอนหลักของการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การออกแบบโปรแกรม การเขียนโปรแกรม การทดสอบความถูกต้องของโปรแกรม
การออกแบบโปรแกรม ต้องมีการกำหนด รูปแบบของผลลัพธ์ ข้อมูลที่นำเข้าสู่คอมพิวเตอร์ วิธีการประมวลผล เครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบโปรแกรม คือ ผังงาน ผังงาน (Flowchart) คือแผนภาพแสดงขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมหรือระบบรวมทั้งการไหลของข้อมูลตั้งแต่แรกจนได้ผลลัพธ์ตามต้องการ
รูปแสดงสัญลักษณ์ของผังงานโปรแกรม เริ่มต้น/จบงาน จุดเชื่อมต่อ การตัดสินใจเลือก ขึ้นหน้าใหม่ แทนการกำหนดค่า หรือคำนวณค่า ลูกศรแสดงทิศทาง รับข้อมูลเข้า หรือแสดงข้อมูล
วิธีเขียนผังงานที่ดี ใช้สัญลักษณ์ตามที่กำหนด สามารถแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง ซ้ายไปขวา คำอธิบายสั้น กะทัดรัด เข้าใจง่าย มีลูกศรแสดงทิศทางเข้าออกทุกแผนภาพ ไม่ควรโยงเส้นไกลกันมากๆ ควรใช้สัญลักษณ์เชื่อมต่อแทน ควรทดสอบความถูกต้องก่อนนำไปเขียนโปรแกรม
ผังการทำงานของคอมพิวเตอร์ Input Process Output
ตัวอย่าง 1 จงเขียนผังงานแสดงชื่อของนิสิตทางจอภาพ เริ่มต้น “kookai” จบ
ตัวอย่าง 2 จงเขียนผังงานแสดงผลการบวกเลข 2 กับ เลข 5 ทางจอภาพ เริ่มต้น x จบ X = 2 + 5 กำหนดให้ X แทนผลของการบวก
การเขียนแบบโปรแกรม (1) จงเขียนผังงานแสดงชื่อของนิสิตทางจอภาพ #include <stdio.h> main() { printf(“kookai”); } เริ่มต้น “kookai” จบ
การเขียนแบบโปรแกรม (2) จงเขียนผังงานแสดงผลการบวกเลข 2 กับ เลข 5 ทางจอภาพ เริ่มต้น x จบ X = 2 + 5 กำหนดให้ X แทนผลของการบวก #include <stdio.h> main() { int X; X = 2+5; printf(“%d”,X); }
การทดสอบความถูกต้องของโปรแกรม ทดสอบว่าโปรแกรมให้ผลลัพธ์ออกมาถูกต้องตามที่ต้องการหรือไม่ โดยการป้อนข้อมูลสมมติหลาย ๆ ค่าที่เป็นไปได้เข้าไปแล้วดูผลลัพธ์ว่าถูกต้องหรือไม่
โครงสร้างภาษา C #include <stdio.h> main() { ส่วนกำหนดตัวแปร ส่วนชุดคำสั่ง }
คำสั่งรับ และ แสดงผล ข้อมูล scanf(“รหัสรูปแบบ”, &ชื่อตัวแปร); เช่น scanf(“%s”,&name); scanf(“%f”,&score); printf(“ข้อความ”); printf(“my name is kookai”); printf(“ข้อความ หรือ รหัสรูปแบบ”, ชื่อตัวแปร) printf(“my name is %s \n”, name); }
printf(): ฟังก์ชันที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ printf(control string, variable) control string : ใช้ในการควบคุมการแสดงผลข้อมูล ต้องอยู่ใน “” แบ่งออกเป็น 2 ส่วน - ข้อความ - รหัสรูปแบบ (format code) ใช้รหัสควบคุมการแสดงผล (Carriage Code) ร่วมกับ control string ได้
ตัวกำหนดชนิดของข้อมูล Format code ตัวกำหนดชนิดของข้อมูล ความหมาย %c การแสดงผลแบบ 1 อักขระ %d การแสดงผลแบบเลขจำนวนเต็ม %e การแสดงผลแบบเลขจำนวนทศนิยมยกกำลัง %f การแสดงผลแบบเลขจำนวนทศนิยม %o การแสดงผลแบบเลขฐาน 8 %s การแสดงผลแบบข้อความ %u การแสดงผลแบบเลขจำนวนเต็มไม่คิดเครื่องหมาย %% การแสดงผล %