การเตรียมตัวสอบ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
Mind Mapping อ. พิมพ์ชนก หาคำ 23 เมษายน 2556.
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
กระบวนการของการอธิบาย
กลุ่ม การจัดการความรู้ ช่างอากาศ (KM) หน่วยงาน ฝ่ายการช่าง ฝูงบิน 461 กองบิน 46 คำขวัญ “ มุ่งหน้าแก้ไขข้อขัดข้อง เพื่อตอบสนองภารกิจ ”
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ทบทวน “ เรื่อง แผน กัน หน่อย. เราทำแผน เพื่ออะไร.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
โครงงานจิตอาสา เรื่อง … เล่านิทานให้น้องฟัง จัดทำโดย กลุ่มจิตอาสา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ / ๓.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ การพัฒนาทักษะการพูด แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒๑
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
Workshop Introduction
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ผู้เข้าร่วมอบรมทุกท่าน
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
การพูดรายงาน จากการศึกษาค้นคว้า.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
หลักการเขียนข่าว เพื่อการประชาสัมพันธ์องค์กร
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเตรียมตัวสอบ

การเตรียมตัวสอบ การสอบ = การวัดประสิทธิภาพการเรียน วิธีเตรียมตัวสอบที่ดี = การสร้างนิสัยการเรียนอย่าง เป็นระบบ (สร้างความพร้อม) การเรียน การทำกิจกรรม การสอบ สอบกลางภาค สอบปลายภาค

ความสำคัญของเกรด เกรดสูง - มีกำลังใจ - ประกันว่าเรียนจบ - มีโอกาสเรียนต่อ (2.75) - มีโอกาสได้รับทุนการศึกษา - มีโอกาสเลือกงานที่ดีทำ เกรดสูง

ความวิตกกังวลและความเครียด 3 ความวิตกกังวลทำให้ขาดสมาธิ และเกิด ความเครียด ซึ่งจะส่งผลให้การเรียนการสอบมี ประสิทธิภาพไม่เต็มที่ การขจัดความวิตกกังวล 1. ทำลายวัฏจักรของจิตกังวล 2. ตรวจสอบว่าคุณมีความสุขกับเป้าหมาย ทั้งหมดของคุณ 3. รักษาระเบียบการเรียนและ ชีวิตประจำวัน

4. เก็บ/บันทึก/การอ้างอิงเข้าแฟ้มให้ชัดเจน 3 4. เก็บ/บันทึก/การอ้างอิงเข้าแฟ้มให้ชัดเจน 5. จัดลำดับก่อนหลัง: ศึกษาดูว่าอะไร สำคัญมากน้อยต่างกันและเลือกทำสิ่ง ที่สำคัญที่สุดก่อน 6. ใช้เวลาอย่างมีเหตุผล

เทคนิคการต่อต้านความเครียด 4 เทคนิคการต่อต้านความเครียด 1. รับประทานอาหารอย่างเหมาะสม 2. ออกกำลังกาย 3. ให้ร่างกายได้รับอากาศบริสุทธิ์ 4. นอนหลับให้พอเพียง

6. หลีกเลี่ยงการดื่มกาแฟ 4 5. พูดคุยกับผู้อื่น 6. หลีกเลี่ยงการดื่มกาแฟ 7. ยอมรับด้วยตัวเอง : ถ้าไม่สามารถ เอาชนะความเครียดได้ให้ปรึกษา อาจารย์หรือจิตแพทย์ 8. เรียนรู้การผ่อนคลาย

“ การเตรียมตัวสอบ ” ขั้นตอนของการเตรียมตัวสอบ มี 6 ขั้น คือ 1. วางแผนการเรียนตลอดทั้งภาคการศึกษา 2. มีเทคนิคในการทบทวนบทเรียน 3. สร้างทัศนคติแห่งความเชื่อมั่น 4. จัดระเบียบเวลาก่อนสอบ 5. ทำข้อสอบอย่างระมัดระวัง 6. ประเมินผลงานที่ทำและคะแนนที่ได้รับ.

ขั้นตอนการเตรียมตัวสอบ 1. วางแผนการเรียนตลอดทั้งปีการศึกษา - จัดตารางเวลาเรียนในแต่ละวันให้ตนเอง - จัดสถานที่ให้เหมาะสมที่จะทบทวนบทเรียน - หลีกเลี่ยงการเรียนที่หักโหม - จัดคำบรรยายและโน้ตย่อให้เป็นระเบียบ - แยกการเรียนในชั้นเรียนและการทบทวน บทเรียนออกจากกัน 6

2. มีเทคนิคในการทบทวนบทเรียน - จัดตารางการทบทวนบทเรียน 7 2. มีเทคนิคในการทบทวนบทเรียน - จัดตารางการทบทวนบทเรียน - วางแผนการทบทวนบทเรียนอย่างมีระบบ และต่อเนื่อง - ทำโน้ตสรุปย่อหัวข้อที่สำคัญ - คาดคะเนแนวข้อสอบ - ขอคำแนะนำจากอาจารย์ผู้สอนว่าควร จะเตรียมตัวสอบวิชานั้น ๆ อย่างไร - ทบทวนบทเรียนเป็นกลุ่ม - หลีกเลี่ยงการท่องหนังสือแบบรีบ ๆ

3. สร้างทัศนคติแห่งความเชื่อมั่น 4. จัดระเบียบเวลาก่อนสอบ - วันก่อนจะมีการสอบใหญ่ - ก่อนวันสอบควรรับประทานอาหารและ พักผ่อนให้เพียงพอ - วันสอบควรตื่นเช้า ๆ - อาบน้ำ ทานอาหารเช้า ออกกำลังกาย - ทำใจให้สบาย ไม่ควรอ่านหนังสือ หรือ ทบทวนบทเรียน ถ้าทำแล้วเกิดความรู้สึก กังวลใจหรือเครียด - ตรวจสอบอุปกรณ์ที่จะใช้สอบ 8

5. ทำข้อสอบอย่างระมัดระวัง - ดูคำสั่งให้ละเอียด 9 5. ทำข้อสอบอย่างระมัดระวัง - ดูคำสั่งให้ละเอียด - เขียนคำตอบด้วยลายมือที่อ่านง่าย 6. ประเมินผลงานที่ทำ และคะแนนที่ได้รับ

กลยุทธในการเตรียมตัวสอบ 10 กลยุทธในการเตรียมตัวสอบ - เป็นกุญแจสำคัญ - ต้องเริ่มทบทวนตั้งแต่เริ่มเรียน * การทบทวนบทเรียน * วิธีทบทวนบทเรียน 1. ต้องทำอย่างต่อเนื่อง + เป็นส่วนหนึ่งของ กิจวัตรประจำวัน 2. ทำตารางการทบทวน 3 - 5 สัปดาห์ก่อนสอบ 3. ควรทบทวนเป็นกลุ่ม 3 - 4 คน เพื่อแลกเปลี่ยน ความรู้ แก้ปัญหา-ตอบคำถาม

* ขั้นตอนในการเตรียมสอบ * 11 * ขั้นตอนในการเตรียมสอบ * 1. ทำตารางการอ่านหนังสือ และ อ่านอย่างสม่ำเสมอ 2. รู้วันสอบ วิชาสอบ และ ห้องสอบ 3. จัดตารางทบทวนวิชาที่สอบล่วงหน้า 4. ทำสรุป (โน้ตย่อ) เพื่อช่วยจำ 5. ฝึกตั้งคำถาม และ เตรียมคำตอบ

6. ถามแนวข้อสอบจากอาจารย์ 11 6. ถามแนวข้อสอบจากอาจารย์ 7. วิเคราะห์ข้อบกพร่องจากการทำ ข้อสอบครั้งที่แล้วเพื่อปรับปรุง 8. ฝึกทำการบ้านในเวลาจำกัด 9. ติวกับเพื่อนร่วมวิชา

การปฏิบัติตัวของผู้เข้าสอบ 12 การปฏิบัติตัวของผู้เข้าสอบ - แต่งกายให้ถูกระเบียบ - รู้วัน เวลา วิชา และสถานที่สอบ - ไปถึงห้องสอบก่อนเวลาสอบ - ปฏิบัติตามระเบียบเกี่ยวกับการสอบอย่างเคร่งครัด - ถ้ามีคำถาม/ข้อสงสัย ให้ถามผู้คุมสอบ - ไม่นำข้อสอบ/กระดาษเขียนตอบ ออกจากห้องสอบ

1. เขียนชื่อและรายละเอียดตามที่ระบุไว้ในข้อสอบ 13 สรุปการทำข้อสอบ 1. เขียนชื่อและรายละเอียดตามที่ระบุไว้ในข้อสอบ 2. อ่านคำถามอย่างระมัดระวัง 3. ทำเครื่องหมาย/เลือกข้อที่จะตอบในกระดาษคำถาม 4. กำหนดเวลาในการตอบข้อสอบแต่ละข้อ 5. เลือกทำข้อที่จะทำได้ดีที่สุดก่อน เพื่อให้เกิดความมั่นใจ 6. จดประเด็นสำคัญ ๆ ในกระดาษคำถาม ก่อนการเขียนตอบข้ออัตนัย 7. จัดเวลาประมาณ 5-10 นาที เพื่ออ่านทบทวนคำตอบ

การตอบข้อสอบอัตนัย 1. อ่านคำสั่งให้เข้าใจ 14 1. อ่านคำสั่งให้เข้าใจ 2. อ่านคำถามทุกข้อก่อนลงมือทำข้อสอบ 3. อ่านคำตอบแต่ละข้อให้ทำเค้าโครงคำตอบ 4. ใช้กราฟ รูปภาพ เพื่อสื่อความหมาย 5. เขียนให้อ่านออกง่าย 6. ต้องรู้ให้แน่ชัดว่าคำถามต้องการให้ตอบอะไร เช่น ให้วิเคราะห์ ให้วิจารณ์ ให้เปรียบเทียบ ให้อธิบายเป็นต้น

7. ตอบข้อที่ง่ายที่สุดก่อน 8. จัดแบ่งเวลาสำหรับทำข้อสอบแต่ละข้อ 14 7. ตอบข้อที่ง่ายที่สุดก่อน 8. จัดแบ่งเวลาสำหรับทำข้อสอบแต่ละข้อ 9. เริ่มต้นคำตอบด้วยประโยคสรุป ความสำคัญของเนื้อหาแล้วจึงค่อยขยาย ความต่อไป 10. อย่าสนใจเพื่อนข้างเคียง 11. นั่งอยู่ในห้องสอบจนหมดเวลา แม้ว่าจะ ทำข้อสอบเสร็จแล้วก็ตาม.

การตอบข้อสอบปรนัย 1. อ่านคำสั่งทุกแห่งที่มีให้ดีก่อน 15 1. อ่านคำสั่งทุกแห่งที่มีให้ดีก่อน 2. ข้อไหนยากทำไม่ได้ให้ผ่านไปก่อน 3. ถ้าทำผิดแล้วไม่ติดลบให้เดา 4. ในกรณีที่จะเดา ให้ตัดคำตอบที่น่าจะผิดมาก ที่สุดออก 5. ขีดเส้นใต้คำว่า ไม่-มักจะ-เท่านั้นเสมอ ๆ ก่อน ที่จะตอบเพราะคำเหล่านี้จะทำให้พลาดได้ 6. ถ้าคำถามข้อไหนยากให้เปลี่ยนวิธีการ พูดใหม่แต่ให้มีความหมายเหมือนเดิม

9. ก่อนส่งข้อสอบควรตรวจทานอีกครั้ง. 15 7. ในการตอบคำถามประเภทเติมคำใน ช่องว่าง ถ้านักศึกษาจำศัพท์เฉพาะทาง ไม่ได้แม่นตามตำรา ให้ตอบเป็นคำพูด ของตัวองที่มีความหมายเหมือนศัพท์ 8. หากนึกคำตอบไม่ออกแบบ “ติดอยู่ที่ริม ฝีปาก” ให้ใช้วิธีเชื่อมโยงกับตำราที่เคย อ่านว่า อยู่หน้าไหนมีภาพประกอบอย่างไร 9. ก่อนส่งข้อสอบควรตรวจทานอีกครั้ง.