แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงิน ในระบบ GFMIS ณ วันสิ้นปีงบประมาณ พ สำนักบริหารการรับ – จ่ายเงินภาครัฐ สิงหาคม 2554
แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินในระบบ GFMIS ณ วันสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ณ วันสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ.2554 2. การขอกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี และ การขอขยายเวลาเบิกจ่ายเงินของหน่วยงาน เจ้าของงบประมาณที่ไม่มีเครื่อง Terminal 3. ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานในระบบ
การบันทึกข้อมูลในระบบ GFMIS ณ วันสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ให้เร่งดำเนินการบันทึกรายการขอเบิก (ขบ.) ใบสั่งซื้อสั่งจ้าง (PO) รายการรับและนำส่ง รายการเบิกหักผลักส่งไม่รับตัวเงิน ให้แล้วเสร็จภายในวันศุกร์ที่ 30 กันยายน 2554 (ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0420.2/ว296 ลงวันที่ 30 สิงหาคม 2554)
การบันทึกข้อมูลในระบบ GFMIS ณ วันสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ใบสำคัญ / ใบแจ้งหนี้ หากเบิกจ่ายเงินไม่ทัน ภายในวันศุกร์ที่ 30 กันยายน 2554 ให้เงิน งปม. นั้นพับไป และให้เบิกจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายค้างเบิกข้ามปี โดยปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0409.3/ว14 ลงวันที่ 27 มกราคม 2548
การบันทึกข้อมูลในระบบ GFMIS ณ วันสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ให้เร่งดำเนินการบันทึกใบสั่งซื้อสั่งจ้าง (PO) ในระบบ ให้แล้วเสร็จภายในวันศุกร์ที่ 30 กันยายน 2554 ใบสั่งซื้อสั่งจ้าง (PO) ที่มีจำนวนเงินต่ำกว่า 50,000 บาท และสัญญามีวงเงินต่ำกว่า 50,000 บาท ให้เร่งดำเนินการเบิกจ่ายเงินให้แล้วเสร็จ ภายในวันศุกร์ที่ 30 กันยายน 2554 หากเบิกจ่ายเงินไม่ทัน ให้เงิน งปม. นั้นพับไป (โดยปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0409.3/ว14 ลงวันที่ 27 มกราคม 2548)
การบันทึกข้อมูลในระบบ GFMIS ณ วันสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 การบันทึกรายการขอจ่ายเงิน ZF_53_PM (ขจ.05) ของรายการขอเบิกเงินในช่วงสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 และได้รับเงินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ให้บันทึกรายการขอจ่ายเงิน โดยระบุวันที่ผ่านรายการ และวันที่เอกสาร เป็นวันที่จ่ายเงินจริง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
การบันทึกข้อมูลในระบบ GFMIS ณ วันสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 เมื่อเจ้าของงบประมาณ บันทึกสร้างข้อมูลหลักรายการเบิกแทน ในระบบแล้ว ให้เร่งส่งใบแจ้งการเบิกเงินงบประมาณแทนกันให้กรมบัญชีกลาง เพื่อดำเนินการในระบบ กรณีไม่ประสงค์ให้เบิกแทน / มีเงินเหลือ ให้ส่งใบแจ้งการโอนกลับเงินงบประมาณแทนกันให้กรมบัญชีกลาง เพื่อดำเนินการในระบบ ส่งแบบฯ ดังกล่าวให้ถึงกรมบัญชีกลาง ภายในวันพฤหัสบดีที่ 29 กันยายน 2554
การบันทึกข้อมูลในระบบ GFMIS ณ วันสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 หากผู้เบิกแทนไม่สามารถก่อหนี้ผูกพันหรือเบิกจ่ายเงิน ได้ทันภายในวันศุกร์ที่ 30 กันยายน 2554 ให้หน่วยงานผู้เบิกแทนเป็นผู้ขอกันเงินและขอขยายเวลา เบิกจ่ายเงินกับกระทรวงการคลัง ที่ กค 0409.7/ว 355 ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2550 ที่ กค 0406.3/ ว 17 ลงวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2553
การบันทึกข้อมูลในระบบ GFMIS ณ วันสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ปัญหากรณีงบประมาณไม่เพียงพอ / งบประมาณถูกใช้เกิน 1. เกิดจากการจัดสรรงบประมาณไม่ถูกต้อง 2. เกิดจากการบันทึกรายการขอเบิก (ขบ.) ใบสั่งซื้อสั่งจ้าง (PO) ไม่ถูกต้อง / บันทึกซ้ำ 3. แจ้งลบข้อมูลหลักผู้ขาย เนื่องจากสร้างผิดกลุ่ม หรือสร้างซ้ำ โดยไม่ตรวจสอบรายการคงค้างในระบบก่อน - ตรวจสอบรายการขอเบิก (ขบ.) จากคำสั่งงาน FBL1N - ตรวจสอบใบสั่งซื้อสั่งจ้าง (PO) จากคำสั่งงาน ME2N
การบันทึกข้อมูลในระบบ GFMIS ณ วันสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 4. มีรายการขอเบิก (ขบ.) คงค้างในระบบ ให้ตรวจสอบจากคำสั่งงาน Y_DEV_80000034 Y_DEV_80000035 - หากพบสถานะของรายการขอเบิกเป็นบล็อก “ 0” หรือ “A” ให้ดำเนินการไม่อนุมัติ (P1 หรือ P2) “N” ให้ดำเนินการกลับรายการ (ZFB08) “ B” หรือ “E” แจ้งกรมบัญชีกลางหรือสำนักงานคลัง ไม่อนุมัติหรือกลับรายการ (ว่าง)” ให้ตรวจสอบว่า กรมฯ โอนเงินเข้าบัญชีธนาคารแล้วหรือไม่
การบันทึกข้อมูลในระบบ GFMIS สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 Y_DEV_80000035
ปัญหาที่พบบ่อย ส่วนราชการลืมบันทึกรายการขอเบิก (ขบ.) ส่วนราชการลืมบันทึกรายการขอเบิก (ขบ.) ใบสั่งซื้อสั่งจ้าง (PO) เอกสารสำรองเงินในระบบ
กรณีรายการขอเบิกที่ธนาคารปฏิเสธการโอนเงิน สาเหตุเกิดจาก 1. บัญชีปิด / บัญชีถูกอายัด 2. ไม่มีบัญชีในแฟ้มข้อมูลของธนาคาร 3. เลขที่บัญชีไม่ถูกต้อง 4. บัญชีถูก Lock เนื่องจากมีคำสั่ง / บัญชีไม่เคลื่อนไหวเกิน 6 เดือน 5. รายการขอเบิก กรณีมีการโอนสิทธิการรับเงิน 6. บัญชีเงินฝากประจำ / เผื่อเรียกพิเศษ / บัญชีธนาคารออมสิน 15 หลัก
แนวทางในการป้องกันกรณีธนาคารปฏิเสธ การโอนเงินเข้าบัญชี / กรณีกรมบัญชีกลาง ไม่สามารถประมวลผลสั่งจ่ายเงินได้ 1. ตรวจสอบการสร้างข้อมูลหลักผู้ขายในระบบ 2. ตรวจสอบการบันทึกใบสั่งซื้อสั่งจ้าง (PO) ในระบบ 3. ตรวจสอบการบันทึกรายการขอเบิก (ขบ.) ในระบบ
แนวทางในการป้องกันกรณีธนาคารปฏิเสธ การโอนเงินเข้าบัญชี /กรณีกรมบัญชีกลาง ไม่สามารถประมวลผลสั่งจ่ายเงินได้ 1. ตรวจสอบการสร้างข้อมูลหลักผู้ขายในระบบ ชื่อผู้ขายในระบบ ควรตรงกับหนังสือจดทะเบียนการค้า / พาณิชย์ / หนังสือบริคณห์สนธิ รหัสผู้ขายต้องสัมพันธ์กับสำเนาบัตรประจำตัวผู้เสียภาษี / สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน (ว 47) กลุ่ม 1000 รหัสผู้ขาย 1XXXXXXXXX กลุ่ม 2000 รหัสผู้ขาย 9XXXXXXXXX
แนวทางในการป้องกันกรณีธนาคารปฏิเสธ การโอนเงินเข้าบัญชี / กรณีกรมบัญชีกลาง ไม่สามารถประมวลผลสั่งจ่ายเงินได้ ชื่อเจ้าของบัญชีธนาคาร ต้องเป็นภาษาอังกฤษ ตรงกับสำเนา สมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร / สำเนาสมุดเช็ค / คำขอเปิดบัญชี เลขที่บัญชีธนาคารและชื่อเจ้าของบัญชีในระบบ ต้องตรงกับ สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร / สำเนาสมุดเช็ค และต้องเป็นบัญชีเงินฝากประเภทออมทรัพย์ / กระแสรายวัน เท่านั้น ห้ามใช้ บัญชีเงินฝากประจำ เผื่อเรียกพิเศษ ธนาคารออมสิน 15 หลัก ฐานข้อมูลภาษี
ตารางระบุภาษีหัก ณ ที่จ่าย แยกตามกลุ่มบัญชีผู้ขาย ตารางระบุภาษีหัก ณ ที่จ่าย แยกตามกลุ่มบัญชีผู้ขาย ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0427 / ว 374 ลงวันที่ 1 พฤศจิกายน 2547 กลุ่มบัญชี With.t. type รหัสภาษี ภาระ Ree.ty คำค้นหา 01 B1 ภงด.01 เลขประจำตัวผู้เสียภาษี (10หลัก) ขึ้นต้นด้วยเลข 2 3 , 4 02 B2 10 A1 ภงด.53 สำหรับเลขประจำตัวผู้เสียภาษี (10 หลัก) ขึ้นต้นด้วยเลข 2 ให้เปลี่ยนฐานภาษี เป็นแบบบุคคลธรรมดา 11 A2 ภงด. 03 เนื่องจากผู้ขายเสียภาษี เสมือนบุคคลธรรมดา (ตามประมวลรัษฎากร) 1000 *
กลุ่มบัญชี With.t. type รหัสภาษี ภาระ Ree.ty คำค้นหา 2000 01 B1 ภงด.01 - เลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก 02 B2 11 A2 ภงด.03 3000 - หน่วยเบิกจ่าย 10 หลัก 10 A1 ภงด.53 4000 13 A4 ภงด.01-เงินเดือน - หน่วยเบิกจ่าย 10 หลัก 5000 - เลขประจำตัวผู้เสียภาษี 10 หลัก
กลุ่มบัญชี With.t.type รหัสภาษี ภาระ Ree.ty คำค้นหา 6000 01 B1 ภงด.01 Passport Number หรือ 02 B2 รหัสประเทศ + เลขประจำตัวผู้เสียภาษี 10 A1 ภงด.53 7000 - หน่วยเบิกจ่าย 10 หลัก 8000 - * ผู้ขายกลุ่ม 1000 ที่มีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีขึ้นต้นด้วยเลข 2 ให้เปลี่ยนรหัสภาษีเป็น 11 A2 ภงด.03 B1 ค่าปรับหน้าฎีกา รายได้แผ่นดิน B2 ค่าปรับหน้าฎีกา รายได้ส่วนราชการ A1 รหัสภาษีสำหรับนิติบุคคล (53) A2 รหัสภาษีสำหรับบุคคลธรรมดา (03)
แนวทางในการป้องกันกรณีธนาคารปฏิเสธ การโอนเงินเข้าบัญชี / กรณีกรมบัญชีกลาง ไม่สามารถประมวลผลสั่งจ่ายเงินได้ 2. ตรวจสอบการบันทึกใบสั่งซื้อสั่งจ้าง (PO) ใน ระบบ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลในระบบ ให้ตรงกับสัญญา / หนังสือสั่งซื้อ / สั่งจ้าง ชื่อผู้ขาย และเอกสารหลักฐานของผู้ขาย เช่น บัญชีธนาคาร และรหัสงบประมาณ แหล่งของเงิน กิจกรรมหลัก
แนวทางในการป้องกันกรณีธนาคารปฏิเสธ การโอนเงินเข้าบัญชี / กรณีกรมบัญชีกลาง ไม่สามารถประมวลผลสั่งจ่ายเงินได้ 3. ตรวจสอบการบันทึกรายการขอเบิก (ขบ.) ในระบบ วันที่ผ่านรายการ รายการขอเบิกปกติ ย้อนหลังได้ไม่เกิน 1 เดือน รายการขอเบิกประจำเดือน (KO) ต้องระบุวันที่ เป็นเดือนปัจจุบัน ประเภทเอกสาร วิธีการชำระเงิน เลขที่ใบสั่งซื้อสั่งจ้าง (PO) เลขที่บัญชีธนาคาร
แนวทางในการป้องกันกรณีธนาคารปฏิเสธ การโอนเงินเข้าบัญชี / กรณีกรมบัญชีกลาง ไม่สามารถประมวลผลสั่งจ่ายเงินได้ จำนวนเงินขอรับสุทธิ กรณีจ่ายตรงผู้ขาย ต้องไม่ต่ำกว่า ๑๓ บาท กรณีจ่ายผ่านส่วนราชการ ต้องไม่ต่ำกว่า ๑ บาท รายการหักต่าง ๆ เช่น ภาษี ค่าปรับ กรณีมีการโอนสิทธิการรับเงิน
แนวทางในการป้องกันกรณีธนาคารปฏิเสธ การโอนเงินเข้าบัญชี / กรณีกรมบัญชีกลาง ไม่สามารถประมวลผลสั่งจ่ายเงินได้ หน่วยงานใดมีรายการขอเบิกที่มีการโอนสิทธิการรับเงิน ให้ธนาคารที่มีเลขที่บัญชีขึ้นต้นด้วย 001XXXXXXX และจำนวนเงินขอรับสุทธิคงเหลือไม่ถึง 2,000,000 บาท ขอให้แจ้งกรมบัญชีกลาง หรือสำนักงานคลังจังหวัด เพื่อดำเนินการแก้ไขในส่วนของข้อมูลเพิ่มเติม คีย์อ้างอิง 1 ให้เป็น SWIFT ก่อนการอนุมัติรายการขอ เบิก
กรณีแจ้งให้กรมบัญชีกลางยกเลิกเอกสาร / ผ่านรายการ เพื่อให้ระบบคืนงบประมาณ ขอให้ส่งเรื่องถึง กรมบัญชีกลาง ภายในวันอังคารที่ 27 กันยายน 2554
การบันทึกข้อมูลรับและนำส่งเงินในระบบ GFMIS การบันทึกรายการนำส่งเงินรายได้แผ่นดินแทนส่วนราชการอื่น อย่าลืม อนุมัติรายการนำส่งในระบบด้วย (P3) * ขอให้แจ้งหน่วยงานในสังกัดด้วย
การบันทึกข้อมูลรับและนำส่งเงินในระบบ GFMIS การบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืน และรายการ เบิกหักผลักส่งไม่รับตัวเงิน หากส่วนราชการ ประสงค์จะเบิกจ่ายเงินดังกล่าวให้ทันภายใน วันศุกร์ที่ 30 กันยายน 2554 จะต้องนำส่งเงิน และบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืน และรายการ เบิกหักผลักส่งไม่รับตัวเงินในระบบ ให้แล้วเสร็จ ภายในวันอังคารที่ 27 กันยายน 2554
การบันทึกข้อมูลรับและนำส่งเงินในระบบ GFMIS ให้ตรวจสอบรายการคงค้างของบัญชีพักเงินนำส่ง รหัสบัญชีแยกประเภท 1101010112 ใช้คำสั่งงาน FBL3N
ข้อควรระวังในการนำส่งเงิน 1. การดาวน์โหลดใบนำฝากเงิน Pay-in slip 2. ตรวจสอบการบันทึกรายการในใบนำฝากเงินให้ถูกต้องทุกครั้ง ก่อนนำเงินส่งที่ธนาคาร 3. ตรวจสอบรายการในใบนำฝากเงิน Pay-in slip ให้ถูกต้อง ครบถ้วน ตรงกับรายการที่นำส่งทุกครั้ง ก่อนออกจากธนาคาร เช่น ประเภทการชำระเงิน จำนวนเงิน 4. ตรวจสอบการบันทึกรายการนำส่งในระบบให้ถูกต้องตรงกัน กับใบนำฝากเงิน Pay-in slip (CJ) ทุกครั้ง เช่น จำนวนเงิน วันที่คิดมูลค่า การกำหนด (ศูนย์ต้นทุนผู้นำส่ง) และเลขที่ คีย์การอ้างอิง 16 หลัก
กรณีหน่วยงานไม่สามารถก่อหนี้ผูกพันหรือเบิกจ่ายเงิน การขอกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี และการขอขยายเวลาเบิกจ่ายเงิน ของหน่วยงานเจ้าของงบประมาณที่ไม่มีเครื่อง GFMIS Terminal กรณีหน่วยงานไม่สามารถก่อหนี้ผูกพันหรือเบิกจ่ายเงิน ได้ทันภายในวันศุกร์ที่ 30 กันยายน 2554 และ อยู่ในหลักเกณฑ์การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี ให้สรุปรายละเอียดตามแบบที่ ก.ค.กำหนด และส่ง ให้ถึงกรมบัญชีกลาง ภายในวันพุธที่ 21 กันยายน 2554
การขอกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี และการขอขยายเวลาเบิกจ่ายเงิน ของหน่วยงานเจ้าของงบประมาณที่ไม่มีเครื่อง GFMIS Terminal (ต่อ) การขอให้กรมบัญชีกลางเปลี่ยนแปลงเอกสาร สำรองเงินจากกรณีไม่มีหนี้ผูกพัน ประเภท เอกสาร CF เป็นกรณีมีหนี้ผูกพัน ประเภท เอกสาร CX ให้ส่งเรื่องถึงกรมบัญชีกลาง ภายในวันพุธที่ 21 กันยายน 2554
ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ณ วันสิ้นปีงบประมาณ 1. ให้แจ้งรายละเอียดของรายการขอเบิกที่บันทึกรายการ ในวันศุกร์ที่ 30 กันยายน 2554 ไม่สำเร็จ / ไม่สมบูรณ์ / ไม่ได้เลขที่เอกสาร จากระบบ เกิดภัยพิบัติ หรือ เหตุสุดวิสัย (ตามแบบที่กรมบัญชีกลางกำหนด) โดยให้หัวหน้าส่วนราชการลงนามรับรองข้อมูลดังกล่าว ส่งให้กรมบัญชีกลาง หรือสำนักงานคลังจังหวัด เพื่อเป็นหลักฐาน
สำนักบริหารการรับ - จ่ายเงินภาครัฐ สวัสดีค่ะ สำนักบริหารการรับ - จ่ายเงินภาครัฐ โทร. 02 127 7000 ส่วนบริหารรายรับ ต่อ 4802 - 4816 ส่วนบริหารรายจ่าย ต่อ 4818 - 4831 กลุ่มงานสั่งจ่ายเงิน ต่อ 4535 , 4841