คะแนนและความหมายของคะแนน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คะแนนมาตรฐาน Z ( Z Score) คะแนนมาตรฐาน T (T Score) เปอร์เซ็นต์ไทล์
Advertisements

Week 10 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น #2
คะแนนและความหมายของคะแนน
QUIZ ก่อนเรียน เขียน ชื่อ-นามสกุล, รหัสนักศึกษา และ section
การควบคุมงานก่อสร้าง ( การทดสอบวัสดุ ). หัวข้อการบรรยาย 1. การเจาะสำรวจชั้นดิน 2. การทดสอบแรงดึงของเหล็ก 3. การทดสอบกำลังอัดของคอนกรีต หมายเหตุ : การบรรยายจะอ้างอิงแบบ.
การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ กับแบบทดลอง เรื่อง การทำงานของ หม้อแปลงไฟฟ้า รายวิชา หม้อ แปลงไฟฟ้า นักเรียนระดับปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง.
กิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ e- meeting วันศุกร์ที่ 20 เมษายน 2555.
จรรยาบรรณ ( Code of Ethic) กลุ่มบริษัท อาร์เอ็กซ์ จำกัด R.X.Group ประกาศต่อผู้บริหารระดับสูง - ต้น 270 คน เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2548 ณ S.D. Avenue Hotel.
การประเมินภาวะโภชนาการ และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
งานธุรการ ให้บริการผู้บริหาร ครู และบุคลากร เกี่ยวกับงานธุรการและ เอกสารสำคัญ บริการที่มีคุณภาพ ตอบสนองด้วยความเป็น มิตร รวดเร็ว มักจะเกิดปัญหาและอุปสรรคต่าง.
แนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของ
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis).
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
โรคกระดูกพรุน.
การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การสำรวจและอธิบายข้อมูล
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การจัดการข้อมูล (Organizing Data)
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
การสำรวจและอธิบายข้อมูล
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
พัฒนาระดับภาค ๖ ภาค การจัดทำแผน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
รวบรวมข้อมูลโดย กลุ่มแผนงานงบประมาณอุดมศึกษา สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
บทที่ 4 ฐานข้อมูลลูกค้า.
โดย นายไพสุข สุขศรีเพ็ง รหัสนักศึกษา
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
1.
ผู้ดำเนินการวิจัย นางสาว นิลุบล สุวลักษณ์ รหัสนักศึกษา
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
แนวทาง การจัดทำงบประมาณ ปี พ.ศ. 2562
นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การประเมินการเรียนการสอน
การมีส่วนร่วมในระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากร
ลำพูน นายพงษ์ธาดา แก้วกมล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการโยธาธิการ
ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. พิเศษ 1/5 สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
สงขลา นายไมตรี สรรพสิน นางฐาปณี รสสุคนธ์ นายพิชัย อุทัยเชฏฐ์
การประเมินสุขภาพของเด็ก
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 MLP รายวิชาพื้นฐาน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 MLP รายวิชาพื้นฐาน
การวัดและประเมินผลการศึกษา
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558
การตัดเกรด อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
อุบลราชธานี นายนิวัตร ชูสมุทร นายชัยศักดิ์ ปิยะประสิทธิ์
กระบวนการเรียนการสอน
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
หลักการคำนวณค่าทางสถิติพื้นฐาน
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
นำเสนอโดย นางสาวหนูแพว วัชโศก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์
สถานการณ์ วิกฤติ 7 ระดับ
ประกาศ ณ วันที่ 26 กันยายน 2561
ดำเนินการวิจัย นางสาวขวัญใจ จันทรวงษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 MLP รายวิชาพื้นฐาน ม.4/1 – ม.4/4
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 MLP รายวิชาพื้นฐาน
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้จัดทำวิจัย
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 MLP รายวิชาพื้นฐาน
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
จำนวนรายการยาเฉลี่ยต่อผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก แยกตามภาควิชา (ไม่รวม ER) สูตรการคำนวณ = จำนวนรายการยาทั้งหมดที่สั่งจ่ายให้แก่ผู้ป่วยนอก.
ประจำปีการศึกษา พุทธศักราช 2555
สรุปผลการดำเนินงาน คณะอนุกรรมการการเงินการคลัง (CFO)
Chapter 3: Measures of Central Tendency and Measure of Dispersion
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คะแนนและความหมายของคะแนน อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์

คะแนนที่ได้จากการวัดผลด้านการศึกษานั้น ส่วนมากจะเป็นคะแนนที่อยู่ในมาตราอันตรภาค ซึ่งคะแนนชนิดนี้จะไม่มีความหมายในตัวมันเอง นอกจากจะนำไปเปรียบเทียบกับสิ่งหนึ่งสิ่งใดเสียก่อน เช่น คะแนนสูงสุด คะแนนต่ำสุด คะแนนเต็ม หรือคะแนนที่ครูตั้งไว้เป็นเกณฑ์ (criterion score) จึงจะมีความหมาย

คะแนนที่ได้จากการสอบโดยตรงนี้เรียกว่า คะแนนดิบ (raw score) คะแนนดิบที่ได้จากการทดสอบแต่ละวิชานั้น เราไม่สามารถที่จะเปรียบเทียบกัน หรือรวมกันได้โดยตรง ทั้งนี้เพราะความยากง่ายของข้อสอบแตกต่างกันไป และนอกจากนี้คะแนนเต็มของแต่ละวิชาก็อาจจะไม่เท่ากัน ถึงแม้ว่าผู้สอนบางท่านจะปรับคะแนนเต็มของแต่ละวิชาให้เป็นหน่วยเท่ากันคือหน่วย 100 และคิดคะแนนของแต่ละวิชาออกเป็นมาเป็นเปอร์เซ็นต์ก็ไม่ช่วยได้มากนัก เพราะคะแนนที่ได้จากการวัดความสามารถที่เป็นนามธรรมของมนุษย์นั้นจัดอยู่ในมาตราที่ไม่มีศูนย์สมบูรณ์

การที่จะทำให้คะแนนที่ได้จากการสอบสามารถเปรียบเทียบกันได้ รวมกันได้ และมีความหมายที่ทุกคนเข้าใจตรงกันนั้นต้องอาศัยวิธีการทางสถิติในการแปลงคะแนนให้เป็นคะแนนมาตรฐาน (standard score) หรือคะแนนแปลงรูป (derived scores)

คะแนนแปลงรูป (derived scores) คะแนนดิบจากวิชาต่างๆ ต้องเปลี่ยนให้เป็นคะแนนแปลงรูปเสียก่อนจึงค่อยรวมกันซึ่งจะทำให้การรวมคะแนนของแต่ละวิชาเป็นไปอย่างยุติธรรม ทั้งนี้เพราะเมื่อเราแปลงคะแนนให้อยู่ในหน่วยของคะแนนแปลงรูปแล้วจะทำให้ค่าคะแนนเฉลี่ยและความเบี่ยงเบนมาตรฐานของแต่ละวิชาอยู่ในหน่วยเดียวกัน

เปรียบเทียบคะแนนมาตรฐานและคะแนนดิบของนักเรียนสองคนที่ได้จากการสอบ 5 วิชา แบบทดสอบ คะแนนดิบ คะแนนมาตรฐาน Mean S.D. นร.ก. นร.ข. ภาษาอังกฤษ 155.7 26.4 195 162 +1.49 +0.24 อ่านเอาเรื่อง 33.7 8.2 20 54 -1.67 +2.48 ความรู้ทั่วไป 54.5 9.3 39 72 +1.88 ความถนัดทางวิชาการ 87.1 25.8 139 84 +2.01 -0.12 จิตวิทยา 24.8 6.8 41 25 +2.38 +0.03 รวม 434 397 +2.54 +4.51 เฉลี่ย +0.51 +0.90

การแปลงคะแนนแบบเส้นตรง (Linear Conversion) การแปลงคะแนนแบบเส้นตรงนี้ หลักการสำคัญก็คือ การเปลี่ยนคะแนนดิบให้อยู่ในมาตรที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยและความเบี่ยงเบนมาตรฐานร่วมกัน ฉะนั้นลักษณะการกระจายของคะแนนที่แปลงรูปแล้วจะไม่เปลี่ยนแปลงไปจากลักษณะการกระจายของคะแนนดิบ

คะแนนมาตรฐาน (standard score) คะแนนมาตรฐาน คือ มาตราของการวัดที่แสดงความหมายและทิศทางของคะแนนในรูปของช่วงความเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ห่างจากคะแนนเฉลี่ย มาตราของคะแนนชนิดนี้ มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 0 และความเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1

สูตร คำนวณเพื่อแปลงคะแนนดิบเป็นคะแนนมาตรฐาน Z คือ คะแนนมาตรฐาน X คือ คะแนนดิบ คือ คะแนนเฉลี่ยของคะแนนดิบ S.D. คือ ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนดิบ

คะแนนมาตรฐาน T (Standard T-score) คะแนนมาตรฐาน T หรือคะแนน T นี้เป็นหน่วยการวัดของคะแนนแปลงรูปซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 50 และความเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10 การแปลงคะแนน z ให้เป็นคะแนน T กระทำได้จากสูตร T = 10 z + 50

การแปลงคะแนนแบบอาศัยพื้นที่ใต้โค้งปรกติ (Area Conversion) วิธีการแปลงคะแนนแบบอาศัยพื้นที่ใต้โค้งปรกตินี้เป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ข้อตกลงเบื้องต้นของวิธีการนี้ ก็คือคุณลักษณะหรือความสามารถของนักเรียนที่เราทำการทดสอบนั้นมีการแจกแจงเป็นโค้งปรกติ การแปลงคะแนนให้อยู่ภายใต้โค้งปรกตินี้จะสมเหตุสมผลก็ต่อเมื่อผู้สอนมีความรู้สึกว่า ความสามารถของนักเรียนที่ทำการทดสอบนั้นมีตั้งแต่ ต่ำสุด - ปานกลาง - สูงสุด และเมื่อรู้สึกว่าคะแนนดิบนั้นไม่ได้เป็นตัวแทนของมาตราที่มีหน่วยแต่ละหน่วยเท่ากัน

การแปลงคะแนนดิบให้เป็นคะแนน T ปรกติ เรียงคะแนนดิบตามลำดับจากน้อยไปหามาก คำนวณความถี่ของคะแนน จากรอยขีดคะแนน คำนวณความถี่สะสมของคะแนน (Cumulative frequency) โดยรวมความถี่จากคะแนนต่ำสุดถึงคะแนนสูงสุด ค่าความถี่สะสมตัวสุดท้ายจะเท่ากับจำนวนของนักเรียนในกลุ่มที่ทำการทดสอบ หรือ cf คำนวณความถี่สะสมของจุดกลางของความถี่แต่ละช่วง (Cumulative frequency of midpoint) โดย นำความถี่สะสมจากคะแนนที่ต่ำลงไปจากจุดที่ต้องการหนึ่งจุดรวมกับครึ่งหนึ่งของความถี่ในจุดของคะแนนที่ต้องการคำนวณ คำนวณตำแหน่งร้อยละ (percentile) สำหรับคะแนนแต่ละจุดโดยนำ 100/n คูณกับค่าความถี่สะสมของจุดกลางของความถี่ของคะแนน เทียบคะแนน T ปรกติจากตารางที่กำหนดให้

คะแนน T % ที่อยู่ใต้ 10 .0032 30 2.28 50 50.00 70 97.22 11 .0048 31 2.87 51 53.98 71 98.21 12 .007 32 3.59 52 57.93 72 98.61 13 .011 33 4.46 53 61.79 73 98.93 14 .016 34 5.48 54 65.54 74 99.18 15 .023 35 6.68 55 69.15 75 99.38 16 .034 36 8.08 56 72.57 76 99.53 17 .048 37 9.68 57 75.80 77 99.65 18 .069 38 11.51 58 78.81 78 99.74 19 .097 39 13.57 59 81.59 79 99.81 20 .13 40 15.87 60 84.13 80 99.865 21 .19 41 18.41 61 86.43 81 99.903 22 .26 42 21.19 62 88.49 82 99.931 23 .35 43 24.20 63 90.32 83 99.952 24 .47 44 27.43 64 91.92 84 99.966 25 .62 45 30.85 65 93.32 85 99.977 26 .82 46 34.46 66 94.52 86 99.984 27 1.07 47 38.21 67 95.54 87 99.9890 28 1.39 48 42.07 68 96.41 88 99.9928 29 1.79 49 46.02 69 97.13 89 99.9952 90 99.9986

แปลงคะแนนดิบต่อไปนี้ ให้เป็นคะแนน T ปรกติ 30 2.28 .5 1 32 35 6.82 1.5 2 33 38 11.38 2.5 3 40 15.93 3.5 4 42 20.48 4.5 5 43 25.03 5.5 6 45 31.85 7.0 8 44 47 38.68 8.5 9 48 43.23 9.5 10 46 49 47.78 10.5 11 52 56.88 12.5 14 51 54 65.98 14.5 15 55 70.53 15.5 16 57 75.08 16.5 17 58 79.63 17.5 18 60 84.18 18.5 19 59 62 88.73 19.5 20 61 65 93.24 20.5 21 70 97.83 21.5 22 66 T f cf คะแนนดิบ cf+ แปลงคะแนนดิบต่อไปนี้ ให้เป็นคะแนน T ปรกติ 66 40 51 57 38 42 51 59 45 33 58 61 35 46 44 55 32 65 54 44 48 51

คะแนน stanine เป็นคะแนนมาตรฐานที่แสดงด้วยตัวเลขหลักเดียว มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 5 ความเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2 และแบ่งสัดส่วนของการกระจายออกเป็น 9 ส่วน ภายใต้พื้นที่ของโค้งปรกติ

เปอร์เซ็นต์ของคะแนน stanine แต่ละช่วงจาก 1-9 ภายใต้โค้งปกติ 20% 17% 12% 7% 4% 1 2 3 4 5 6 7 8 9