P S BB ART ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ กับ PART ผลผลิต ผลกระทบ ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ กับ PART ผลลัพธ์ ผลผลิต กิจกรรม งบประมาณ สำนักงบประมาณ
การประยุกต์ใช้ SPBB ในการจัดทำงบประมาณของหน่วยงาน เนื้อหาของการบรรยาย แนวคิด และหลักการ SPBB การวางแผนงบประมาณ การบริหารงบประมาณ การติดตาม ประเมินผลงบประมาณ การประยุกต์ใช้ SPBB ในการจัดทำงบประมาณของหน่วยงาน
สรุป พรฎ.กิจการบ้านเมืองที่ดี ผลผลิต/ ผลลัพธ์ กิจกรรม วัตถุประสงค์ 5. การมีประสิทธิภาพของผลผลิต 2. ลดขั้นตอนการทำงาน One stop Service 1. ตอบสนอง ความต้องการของประชาชน 6. สนองความต้องการและความ พึงพอใจของประชาชน 3. ปรับปรุงกระบวนการทำงาน 7. ความคุ้มค่าในภารกิจ 4. จัดลำดับความสำคัญ ปรับกฎหมาย/ระเบียบ 8. ประเมินผล สม่ำเสมอ
ผลสัมฤทธิ์ ตั้งเป้า ได้รับ ได้ทำ ทำเสร็จ ทำสำเร็จ ความประหยัด การบริหารราชการ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ RBM (Result Base Management) ผลสัมฤทธิ์ ตั้งเป้า ได้รับ ได้ทำ ทำเสร็จ ทำสำเร็จ วัตถุประสงค์ (Objectives) ปัจจัยนำเข้า (Inputs) กิจกรรม (Activities) ผลผลิต (Outputs) ผลลัพธ์ (Outcomes) ความประหยัด ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
Strategy Implementation กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารรัฐกิจแนวใหม่ นำยุทธศาสตร์ ไปปฏิบัติ Strategy Implementation ติดตาม ประเมินผล Strategic Control วางยุทธศาสตร์ Strategy Formulation วิสัยทัศน์/พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ Strategy Map แผนปฏิบัติการ กระบวนงาน โครงสร้าง เทคโนโลยี คน งบประมาณ กำกับติดตามและ ประเมินผล ทบทวนสถานการณ์ เพื่อวางยุทธศาสตร์ ใหม่ กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ 5 5
(Annual Performance Report) การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ แผนกลยุทธ์ระยะยาว ต้องจัดทำ (Strategic Plan) แผนการดำเนินงานประจำปี (Action Plan) รายงานผลการดำเนินงานประจำปี (Annual Performance Report)
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ SPBB ผลงาน = ผลผลิต + ผลลัพธ์ 7 7
องค์ประกอบที่สำคัญของ SPBB 04/04/62 1. มุ่งเน้นผลสำเร็จของงานตามผลผลิต ผลลัพธ์ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง ผลผลิตและตัวชี้วัด 3. การจัดทำงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะ ปานกลาง (MTEF) 4. การมอบอำนาจการบริหารจัดการงบประมาณ เน้นให้กระทรวงมีอำนาจในการบริหารจัดการงบประมาณเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จมากกว่าเน้นกฎระเบียบ 2. การเพิ่มขอบเขต ความครอบคลุมของงบประมาณ ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์มีองค์ประกอบที่สำคัญ 6 ประการ คือ 1. เป็นระบบงบประมาณที่มุ่งเน้นผลสำเร็จของงานตามผลผลิต ผลลัพธ์ ที่เชื่อมโยงไปสู่เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ 2. มีการประมาณการงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง ( 1 + 3 ปี) 3. มีการมอบอำนาจการบริหารงบประมาณให้กับส่วนราชการต่างๆ เพื่อให้สามารถบริหารงานได้อย่างคล่องตัว 4. เน้นหลักธรรมาภิบาล เพื่อให้มีการทำงานที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ 5. มีระบบการติดตามและประเมินผล เพื่อวัดผลสำเร็จของการดำเนินงาน 6. เพิ่มขอบเขตความครอบคลุมของงบประมาณ โดยให้ครอบคลุมถึงเงินจากแหล่งอื่น โดยเฉพาะเงินนอกงบประมาณ 5. เน้นหลักการธรรมาภิบาล - การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละระดับ - มีระบบการติดตามประเมินผลและการรายงานผลการดำเนินงานที่โปร่งใส และตรวจสอบได้ 6. ระบบการติดตามและประเมินผลความสำเร็จตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 8 สำนักงบประมาณ 8
วางแผนงบประมาณ ติดตามประเมินผล บริหารงบประมาณ กระบวนการงบประมาณ 5. 4. ผลกระทบ ( IMPACT) 5. วางแผนงบประมาณ กิจกรรม (ACTIVITY) 2. ผลผลิต 3. ผลลัพธ์ 4. 1.งบประมาณ (Input) (Top down) How ติดตามประเมินผล WHY (Bottom up) 1.งบประมาณ (Input) บริหารงบประมาณ
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ : SPBB เป้าหมายการให้บริการ แผน ผล ระดับ แผนบริหาร ราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์ ชาติ เป้าหมายยุทธศาสตร์ ผลกระทบ รัฐบาล ผลลัพธ์ ยุทธศาสตร์ กระทรวง เป้าหมายการ ให้บริการสาธารณะ แผน 4 ปี กระทรวง ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้น แผน 4 ปี แผนประจำปี กลยุทธ์หน่วยงาน เป้าหมายการให้บริการ ระดับหน่วยงาน หน่วยงาน แผนปฏิบัติ งาน สำนัก/กอง ผลผลิต ผลผลิต ที่เกิดขึ้น แผนงาน แผนเงิน ส่วน/ฝ่าย กิจกรรม ผลของกิจกรรม ที่เกิดขึ้น งบประมาณ บริหารงาน /เงิน/คน 10 10
ระบบงบประมาณ SPBB กับเครื่องมือ การวางแผนงบประมาณ การบริหารงบประมาณ การติดตามงบประมาณ แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการประจำปี รายงานการติดตามประเมินผล
ระดับความสำเร็จของการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ใช้เทียบกับ ประสิทธิภาพ ผลผลิต ประสิทธิผล ผลลัพธ์ ความคุ้มค่า งบประมาณที่ใช้เทียบกับ ผลลัพธ์ที่ได้ 12
การติดตาม ประเมินผลงบประมาณ ประเมินผลโดย ผลกระทบ Impact PART KPI 5 มิติ ปริมาณ,คุณภาพ,เวลา, สถานที่,กลุ่มเป้าหมาย ผลลัพธ์ Outcome บริหารงบประมาณ (งาน เงิน คน) โดยการติดตาม KPI 4 มิติ - เชิงปริมาณ ,คุณภาพ,เวลา,ต้นทุน ผลผลิต Output กิจกรรม Process KPI 2 มิติ - ปริมาณงาน,ระยะเวลา ทรัพยากร Input
การติดตามประเมินผล ผลกระทบ ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด (KPI) ระดับชาติ : ประชาชน GDP คุณภาพชีวิต ผลกระทบ (Impact) กระทรวง : กลุ่มสังคม 2Q2T1P กรม : กลุ่มผู้รับบริการ ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ (outcome) ประสิทธิผล วัดที่กลุ่มเป้าหมาย (outcome) วัดที่ตัวผลผลิต วัดได้ทันทีทันตา ผลผลิต ผลผลิต ประเมินผล QQCT ประสิทธิภาพ (output) (output) วัดที่กระบวนการทำงาน กิจกรรม กิจกรรม (activity) (activity) การติดตามผล จำนวนงานกับจำนวนเงิน(ปริมาณ) ระยะเวลา กิจกรรม กิจกรรม (activity) (activity) งบประมาณ งบประมาณ 14
มาตรฐานการจัดการทางการเงิน 7 Hurdles กระบวนการงบประมาณ 1.การวางแผนงบประมาณ การจัดทำงบประมาณ 2.การคำนวณต้นทุนผลผลิต 3.การจัดระบบการจัดซื้อจัดจ้าง การบริหารงบประมาณ 4.การบริหารทางการเงินและ ควบคุมงบประมาณ 5.การบริหารสินทรัพย์ 6.การรายงานทางการเงินและ ผลการดำเนินงาน การติดตามประเมินผล 7.การควบคุมแลตรวจสอบภายใน
หลักการจัดทำงบประมาณ SPBB 1. นำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ (Cascading) 2. การจัดลำดับความสำคัญ (Prioritize) 3. ติดตาม/ประเมินผล (Monitoring/ Evaluation) 16 16
กรอบแนวคิดการจัดทำคำของบประมาณปี 2553 2. สอดคล้องหน้าที่ตามกฎหมาย 1. สอดคล้องกับนโยบาย 2. สอดคล้องหน้าที่ตามกฎหมาย แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตาม กฎหมายรัฐธรรมนูญปี 50 คำแถลงนโยบายของรัฐบาล แผนบริหารราชการแผ่นดิน แผน 4 ปี กระทรวง และกรม ยุทธศาสตร์การจัดสรร งบประมาณ ปี 2553 กฎกระทวงตั้งหน่วยงาน โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ หน่วยงาน
การเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์และผลผลิต รัฐธรรมนูญ 2560 แผนพัฒนาฯแห่งชาติ กฎกระทรวง และ พรบ. ปัญหาสังคมและ ความต้องการของประชาชน การเตือนภัยของนักวิชาการ คำแถลงนโยบายของรัฐบาล แผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนยุทธศาสตร์ของกระทรวง แผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด แผนกลยุทธ์ของกรม แผนยุทธศาสตร์ของรัฐวิสาหกิจ องค์การอิสระ องค์การมหาชน แผนยุทธศาสตร์จังหวัด และกลยุทธ์ของหน่วยงานย่อย ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ ผลผลิต ผลผลิต ผลผลิต กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม 18
คำแถลงนโยบายของรัฐบาล รัฐธรรมนูญ2550 แผนพัฒนาฯแห่งชาติ กฎกระทรวง ความต้องการของประชาชน คำแถลงนโยบายของรัฐบาล แผนบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์การจัดสรร วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ระดับ ชาติ แนวทางการจัดสรรงบประมาณ แผนงาน ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เป้าหมายการให้บริการกระทรวง ยุทธศาสตร์ ระดับ กระทรวง ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน กลยุทธ์หน่วยงาน วัตถุประสงค์ ระดับ หน่วยงาน ผลผลิต/งาน/โครงการ กิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย กิจกรรมรอง/สนับสนุน งบประมาณ
ผลลัพธ์ (เป้าหมายการให้บริการ) 20
21
1. 22
Action Output Outcome * ผลลัพธ์ เพื่อใคร 23
2. ทบทวนเป้าหมายและตัวชี้วัด (KPI) ระดับชาติ : ประชาชน : GDP คุณภาพชีวิต ผลกระทบ KPI (Impact) กระทรวง : กลุ่มสังคม WHY ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ กรม : กลุ่มผู้รับบริการ : ประโยชน์/คุณค่าที่เกิดแก่กลุ่มเป้าหมาย (outcome) (outcome) KPI (ประสิทธิผล วัดที่กลุ่มเป้าหมาย) : 2Q2TP ผลผลิต ผลผลิต สำนัก : สินค้า/บริการ (วัดได้ทันที ทันตา) : QQCT (ดีกว่า ถูกกว่า รวดเร็วกว่า) : ประสิทธิภาพวัดที่ตัวผลผลิต KPI (output) (output) WHAT กิจกรรม กิจกรรม ส่วน/ฝ่าย : กิจกรรมหลัก กิจกรรมรอง กิจกรรมสนับสนุน : ภารกิจพื้นฐาน ภารกิจยุทธศาสตร์ : ปริมาณ (จำนวนเงิน จำนวนงาน) : เวลา (รายไตรมาส) (activity) (activity) กิจกรรม กิจกรรม KPI (activity) (activity) HOW งบประมาณ งบประมาณ 24
25
บัณฑิตเรียนต่อหรือมีงานทำ 26
ด้านงานวิจัยและพัฒนา 27
สรุปการทบทวน 3 ดู 1. ดูตำแหน่ง ผลผลิต ผลลัพธ์ กิจกรรม สรุปการทบทวน 3 ดู 1. ดูตำแหน่ง ผลผลิต ผลลัพธ์ กิจกรรม 2. ดู KPI ครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ 3. ดูความเชื่อมโยงและสอดคล้อง - ผลลัพธ์ ผลผลิต กิจกรรม - ดูการถ่ายทอดจากเป้าชาติ กระทรวง กรม กิจกรรม
ขั้นตอนการจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปี 1.ตรวจสอบและจัดเตรียมข้อมูล 2.จำแนกข้อมูล 3.พิจารณารายละเอียด ค่าใช้จ่าย 4.จัดส่งแบบฟอร์มคำของบประมาณ รายการงบกลาง ระดับกระทรวง และหน่วยงาน ข้อมูลพื้นฐาน ผลผลิต โครงการ ระดับกิจกรรม ระดับรายการ ภารกิจพื้นฐาน ภารกิจยุทธศาสตร์ กิจกรรมที่ดำเนิน ตามแผนปฏิบัติ ราชการประจำปี จังหวัด/กลุ่ม จังหวัด รายจ่ายประจำขั้นต่ำ ที่จำเป็น รายจ่ายล่วงหน้าระยะ ปานกลาง MTEF กำหนดค่าใช้จ่าย/ ราคาต่อหน่วยงบ ลงทุน ระดับกระทรวง ระดับหน่วยงาน ระดับผลผลิต ระดับกิจกรรม จำแนกตามงบ รายจ่าย ผลการวิเคราะห์ ความเสี่ยง
กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ สรุป SPBB เป็น กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ จุดมุ่งหมาย เป้าหมาย และ KPI กลยุทธ์ ติดตาม ประเมินผล 30
หน่วยงานควรจัดเตรียม 1.การจัดทำแผนกลยุทธ์ การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย Goods receipt: 1000 pcs การจัดทำ SWOT การจัดวางทิศทางขององค์กร ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และผลผลิตของหน่วยงาน การกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จระดับยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และผลผลิตของหน่วยงาน 2. การจัดทำแผนปฏิบัติงาน (Action Plan) 31 31 31
3. การจัดทำระบบการประเมินผลของหน่วยงาน แผนการประเมินผลระยะยาว รายงานการประเมินผลลัพธ์ รายงานการประเมินผลผลิต รายงานการประเมินผลโดยหน่วยงานภายนอก 4. เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องของหน่วยงาน รายงานที่เกี่ยวกับกำหนดนโยบายของหน่วยงาน รายงานการคำนวณต้นทุนต่อหน่วย คู่มือการประกันคุณภาพ ควบคุมคุณภาพ/การบริหารความเสี่ยง บันทึกการประชุม 32 32 32
5. การจัดระบบการบริหารจัดการของหน่วยนำส่งผลผลิต แผนปฏิบัติราชการประจำปี ระบบข้อมูลพื้นฐานและสารสนเทศ การใช้ต้นทุนผลผลิตต่อหน่วย การตรวจสอบทางการเงิน การประเมินบุคคลที่สัมพันธ์กับการนำส่งผลผลิต 33 33 33
วงจร P – D – C – A และ S – D – C – A Plan (วางแผน) Action (แก้ไข) Check (ตรวจ สอบ) Do A C D P P = Plan คือ การวางแผน S = Standard คือ มาตรฐาน D = Do คือ ทำตามแผน C = Check คือ ตรวจสอบการทำ A = Action คือ การแก้ไข
ได้ตามแผน ... ทำให้เป็นมาตรฐาน วงจรต่อเนื่อง PDCA เพื่อประยุกต์ใช้งาน..แบบหวังผล ตั้งธง ... 1 ตั้งทีม ... เขียนแผนงาน ... Action Plan ทำตามแผน ... 2 ทำทันที ... Check Do มีบันทึก ... 3 ความก้าวหน้า ... ผลลัพธ์ ... ประสิทธิภาพ ... 4 ไม่ได้ตามแผน ...ทำใหม่ ได้ตามแผน ... ทำให้เป็นมาตรฐาน