สังคมวิทยาอุตสาหกรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปกลุ่ม 5 ทิศทางการพัฒนาขีดความสามารถ ในการแข่งขันในระดับสากลของไทย
Advertisements

สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
Sociology of Development
Sociology of Development
การพัฒนาสังคม Social Development 1-2 : 18/25 พ.ย.54.
วิชา การตลาดระหว่างประเทศ
วิสัยทัศน์ในการจัดการศึกษา ให้ทันกับความเปลี่ยนแปลง
ภาพรวมพฤติกรรมองค์กร
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
ทิศทางการพัฒนาระบบราชการไทย
Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญพนักงาน คู่ค้า
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
การเขียนแบบ รายงาน การเยี่ยมสำรวจ นันทา ชัยพิชิตพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
1 การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษนครพนม.
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนา
Information Systems Development
แผนพัฒนาจังหวัด 4 ปี (พ.ศ.2561 – 2564) ฉบับทบทวน
Chapter 6 Entrepreneurship Financing - Innofund
New Chapter of Investment Promotion
ยุทธศาสตร์ชาติกับการพัฒนา มจธ.
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
เอกสารประกอบการบรรยาย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย อุตสาหกรรม 4
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
Marketing Concept วิวัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด แบ่งได้ 5 แนว
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
Dr. Mano Choondee. By Director of Angthong
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
Health Promotion & Environmental Health
นวัตกรรมนำประเทศ สู่ไทยแลนด์ 4.0
กำหนดการสัมมนา CIO วันที่ 26 ธค.49 ณ MICT ชั้น ICT3 ห้องประชุม 1
Value Chain and Supply Chain ห่วงโซ่คุณค่า และห่วงโซ่อุปทาน
“สัมมนา 1 (Seminar I)” จัดโดย วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยพะเยา ณ อาคารเวฟเพลส ชั้น 8 วันเสาร์ที่ 19 กันยายน 2558 เวลา – น. โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การเพิ่มขีดสมรรถนะของ สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM)
ทิศทางการบริหารงานกองทุนสิ่งแวดล้อม ภายใต้นโยบาย Thailand 4.0
ทิศทางโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง ในยุคประเทศไทย 4.0
แนวโน้มประเด็นสำคัญของ การจัดการทรัพยากรมนุษย์
เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน (Economics for Everyday Life)
การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable development)
สู่สุขภาพและคุณภาพชีวิต
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
วิชา กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร. DMS.
ASEAN - China Free Trade Agreement (ACFTA)
หลักสูตรการพัฒนาผู้บริหาร สายสนับสนุนและช่วยวิชาการ
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การสื่อสารจากกระทรวงไปสำนักงานพาณิชย์จังหวัด
กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์และการฝึกอบรม
ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
การบริหารค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทนเชิงกลยุทธ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ถาวร อ่อนประไพ
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เมืองไทยกับกองทุน การเงินระหว่างประเทศ (IMF)
การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างกิจการใหม่
การจัดการตลาดสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
การรายงานผลการดำเนินงาน
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
คิดใหม่ ทำใหม่ ประสงค์ นรจิตร์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงอุตสาหกรรม
สังคมและการเมือง : Social and Politics
สังคมและการเมือง : Social and Politics
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

01460325 สังคมวิทยาอุตสาหกรรม Industrial Sociology ครั้งที่ 1 : ชี้แจงพื้นฐานและปัญหาการพัฒนา 1 : 17 ม.ค. 58

สังคมวิทยาอุตสาหกรรม (Industrial Sociology) 3 หน่วยกิต วัน/เวลา/สถานที่ : วันเสาร์ หมู่ 800 เวลา 9.00 - 12.00 น. ห้อง 10305 หมู่ 801 เวลา 13.00 - 16.00 น. ห้อง 10305 หมู่ 850 เวลา 16.30 - 19.30 น. ห้อง 10305 นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำนอกเวลาเรียน - วันจันทร์/พุธ เวลา 8.00 - 10.00 น. - วันอังคาร/พฤหัสบดี เวลา 16.00 - 16.30 น. - วันหรือวัน เวลาที่เหมาะสม โดยนัดหมายศูนย์การเรียน คณะวิทยาการจัดการ : http://www.ms.src.ku.ac.th : E-mail fmstss@src.ku.ac.th : Tel. 08-0663-3707 ผู้สอน : เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์/สมจิตต์ ปาละกาศ/พิรุณ สัยยะสิทธิ์พานิช

สังคมวิทยาอุตสาหกรรม (Industrial Sociology) 3 หน่วยกิต วัตถุประสงค์ของวิชา (Objective of Subject) : 1. เพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับประวัติ ความเป็นมาและพัฒนาการของสังคม อุตสาหกรรม ลักษณะโครงสร้าง องค์ประกอบและประเภทอุตสาหกรรม ระบบอุตสาหกรรมและแรงงานสัมพันธ์ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการ พัฒนาอุตสาหกรรมและสังคม 2. เพื่อให้นิสิตมีความเข้าใจถึงการจัดระเบียบทางสังคมอุตสาหกรรม การ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประชากรและสิ่งแวดล้อม ของสังคมจากการพัฒนาอุตสาหกรรม 3. เพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับผลกระทบและปัญหาจากการพัฒนา อุตสาหกรรม รวมทั้งแนวทางการแก้ไขปัญหาการพัฒนาอุตสาหกรรม

สังคมวิทยาอุตสาหกรรม (Industrial Sociology) 3 หน่วยกิต คำอธิบายรายวิชา (Course Description) : ลักษณะและประวัติความเป็นมาของระบบอุตสาหกรรม การจัดระเบียบ สังคมในส่วนที่เกี่ยวกับระบบอุตสาหกรรม แรงงานสัมพันธ์ การเปลี่ยนแปลง ทางสังคมและปัญหาสังคมที่เกี่ยวข้องกับระบบอุตสาหกรรม Characteristic and development of the industrial system, social organization relating to industrial system, labour relations, social change and social problem concerning the industrialization.

สังคมวิทยาอุตสาหกรรม (Industrial Sociology) 3 หน่วยกิต วิธีการสอนและระบบสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ : การบรรยาย การอภิปรายแบบมีส่วนร่วม การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง/กลุ่ม การฝึกวิเคราะห์วิจารณ์และนำเสนอ โดยที่มีงานมอบหมายให้ค้นคว้าเพื่อศึกษาเพิ่มเติมหาความรู้ อุปกรณ์สื่อการสอน : 1. เอกสารประกอบการบรรยาย และงานการฝึกวิเคราะห์/วิจารณ์ 2. เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องฉาย LCD และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

สังคมวิทยาอุตสาหกรรม (Industrial Sociology) 3 หน่วยกิต การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน : 1. การมีส่วนร่วมและความสนใจในการเรียนโดยการ ร้อยละ 10 เข้าร่วมรับฟังคำบรรยายอย่างสม่ำเสมอ และอภิปรายแลกเปลี่ยนประสบการณ์ 2. การทำรายงาน/ แบบฝึกหัด/งานที่มอบหมายในชั้นเรียน ร้อยละ 25 3. การสอบกลางภาค ร้อยละ 25 4. การสอบปลายภาค ร้อยละ 40

สังคมวิทยาอุตสาหกรรม (Industrial Sociology) 3 หน่วยกิต การประเมินผลการเรียน : สูงกว่า 79.9 คะแนน ระดับคะแนน A หรือ 4.0 75.0 - 79.9 คะแนน ระดับคะแนน B+ หรือ 3.5 70.0 - 74.9 คะแนน ระดับคะแนน B หรือ 3.0 65.0 - 69.9 คะแนน ระดับคะแนน C+ หรือ 2.5 60.1 - 64.9 คะแนน ระดับคะแนน C หรือ 2.0 55.1 - 59.9 คะแนน ระดับคะแนน D+ หรือ 1.5 50.0 - 54.9 คะแนน ระดับคะแนน D หรือ 1.0 ต่ำกว่า 50.0 คะแนน ระดับคะแนน F หรือ 0.0

สังคมวิทยาอุตสาหกรรม (Industrial Sociology) 3 หน่วยกิต ข้อกำหนดการเรียน : 1. นิสิตจะต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 36 ชั่วโมง 2. นิสิตที่แต่งกายไม่เรียบร้อยจะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าชั้นเรียน นิสิตต้องไม่ส่งเสียงรบกวนในขณะสอนอันจะมีผลทำให้การเรียนการสอน ขาดคุณภาพ 4. นิสิตต้องเข้าร่วมทำงานกลุ่มและการจัดทำ รายงานกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ 5. นิสิตเข้าเรียนสาย 2 ครั้ง เท่ากับขาดเรียน 1 ครั้ง

ความหมาย “คุณภาพชีวิต (Quality of Life)” มิติของคุณภาพชีวิต คุณภาพทางจิตใจ คุณภาพ ทาง จิตวิญญาณ คุณภาพทางสังคม คุณภาพทางกายภาพ

คุณภาพชีวิตทางกายภาพ : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนแง่วัตถุ สิ่งของและสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ประกอบด้วย - ปัจจัย 4 : อาหาร ที่อยู่ เสื้อผ้าและยารักษาโรค - สิ่งก่อสร้างและการบริการขั้นพื้นฐาน : เส้นทางคมนาคม ระบบ ไฟฟ้า น้ำประปา สถานศึกษาและสาธารณสุข สวนสาธารณะ ศูนย์กลางค้า สถานบริการและอื่นๆ - เครื่องมือ เครื่องใช้และอุปกรณ์ : สิ่งอำนวยความสะดวก ได้แก่ ยานพาหนะ โทรทัศน์ โทรศัพท์ เครื่องใช้และอื่นๆ

: ระดับความเป็นอยู่ประชาชนไม่ใช่วัตถุ สิ่งของและสิ่งปลูกสร้าง คุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิตทางจิตใจ : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนไม่ใช่วัตถุ สิ่งของและสิ่งปลูกสร้าง ความเชื่อมั่นใจ การพึ่งตนเอง การมีศักดิ์ศรี การเข้ามีส่วนร่วม ภาวะ จิตใจสงบสุข ผ่อนคลาย ไม่เครียด คล่องแคล่ว มีความเมตตา กรุณา มีสติ มีสมาธิ เป็นต้น คุณภาพชีวิตทางสังคม : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนที่มีการอยู่ร่วมกันด้วยดีในครอบครัว ชุมชน สังคมและโลกอย่างสงบและสันติภาพ รวมถึงการได้รับบริการ ทางสังคม หรือบริการจากรัฐที่ดี เป็นต้น

คุณภาพชีวิตทางจิตวิญญาณ : ระดับความเป็นอยู่ประชาชนที่มีความสุขจากการมีจิตใจสูง รู้จัก เสียสละเข้าถึงความจริงทั้งหมด - การลด ละ เลิกความเห็นแก่ตัว - มุ่งถึงความดีสูงสุด/ภาวะคุณภาพชีวิตทางจิตวิญญาณ เป็นมิติทางคุณค่าที่สูงสุดเหนือไปจากโลกหรือทางวัตถุ การมี ศรัทธาและการเข้าถึงคุณค่าที่สูงส่ง ทำให้เกิดความสุขอันลึกล้ำ

มนุษย์เป็นแกนกลางของการพัฒนา ประเด็นพิจารณา มนุษย์เป็นแกนกลางของการพัฒนา เทคโนโลยี Technology สังคม Social มนุษย์ Human เศรษฐกิจ Economic สิ่งแวดล้อม Environment

วัตถุนิยม ค่านิยมต่างประเทศ ทุนต่างประเทศ แรงกดดันต่างประเทศ แผนพัฒนา ปรับตัว รวดเร็ว ชุมชน เข้มแข็ง นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง เพิ่มทุน ทางสังคม ความต้องการให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้น สังคมยอมรับ ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม เศรษฐกิจ พอเพียงและยั่งยืน สะสม ทรัพย์สิน วัตถุนิยม แก้ไขกฎหมาย และนโยบาย ความต้องการ บริโภค ขยายการผลิต และบริการ กอบโกย ทรัพย์สิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม กลับสู่สมดุล การใช้ ทรัพยากร เพิ่มขีด ความสามารถ คุ้มค่า ประสิทธิภาพ ไม่ทำลาย จัดสรรทรัพยากร อย่างยุติธรรม คงความหลากหลาย ทางชีวภาพ ลดความขัดแย้ง บริหารจัดการที่ดี กลไกรัฐและเอกชน การมีส่วนร่วม เพิ่มประสิทธิภาพ การใช้และรักษาสิ่งแวดล้อม สังคมสงบและพัฒนา สังคมพึ่งพาและ พัฒนาตัวเอง แผนพัฒนา

กรอบแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน “การพัฒนาที่มีดุลยภาพระหว่างมิติ : ทางเศรษฐกิจ : ทางสังคม : ทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างเกื้อกูลกันเพื่อความอยู่ดีมีสุขของประชาชนตลอดไป”

THAILAND

ทุน ทุนธรรมชาติ (natural capital) ทุนทางสังคม ทุนมนุษย์ (Social capital) ทุนมนุษย์ (Human capital) ทุนทางเศรษฐกิจ (Economic capital)

การเปลี่ยนแปลงในบริบทของการพัฒนา 1 การเปลี่ยนแปลงในบริบทของการพัฒนา 1. การรวมตัวของเศรษฐกิจโลก 2. เทคโนโลยี 3. แนวโน้มประชากรและสังคม 4. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. พฤติกรรมการบริโภค

การรวมกลุ่มและความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก การรวมตัวเศรษฐกิจระดับทวิภาคี ภูมิภาค และพหุภาคี และบทบาทเศรษฐกิจ ของเอเชียที่เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะจีน และอินเดีย ผลของความไม่สมดุลของเศรษฐกิจสหรัฐ ต่อค่าเงิน การรวมกลุ่มและความเชื่อมโยงเศรษฐกิจโลก การเคลื่อนย้ายเงินทุนในโลกมีมากขึ้น Hedge Funds เก็งกำไรในเงินและราคาสินค้า จะมีกฎ ระเบียบ การกำกับตรวจสอบ และธรรมาภิบาลของสถาบันการเงิน และธุรกิจเอกชนที่เข้มงวดขึ้น เช่น Basel II, COSO2 เป็นต้น

เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร เทคโนโลยี เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุ นาโนเทคโนโลยี

ประชากร ประชากรและสังคม สุขภาพ ความปลอดภัยในสังคม วัฒนธรรมและค่านิยม

มาตรการการค้าไม่ใช่ภาษี ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ข้อผูกพันระดับโลก ปัจจัยการผลิต

การขยายตัวของความเป็นเมือง โครงสร้างอายุ รูปแบบการบริโภค รายได้ การขยายตัวของความเป็นเมือง

หลักการพื้นฐานการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม ฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืน Economic stability and sustainability เพิ่มมูลค่าผลผลิตด้วยฐานความรู้ Value creation from knowledge application Sustained Prosperity More Balanced Structure Better Distribution เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก และภูมิภาค Global and regional positioning นโยบายสังคมเชิงรุก Proactive social policy to create positive externality

Economic Restructuring Agriculture Industry Service Economic Restructuring Value Chain by Cluster Sustained Prosperity More Balanced Structure Better Distribution Infrastructure and Logistics S&T, R&D, Innovation Macroeconomic Policy Human Resource Development Laws and Regulations

โครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตร์เพิ่มมูลค่าภาคการเกษตรและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ยุทธศาสตร์เพิ่มมูลค่าภาคอุตสาหกรรม และการค้าระหว่างประเทศ ยุทธศาสตร์การปรับ โครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตร์การขยายฐานภาคบริการ ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมเชิงรุก ยุทธศาสตร์ความมั่นคงและการต่างประเทศ ยุทธศาสตร์การปรับปรุงประสิทธิภาพภาครัฐ

กรอบทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะ 10-15 ปีข้างหน้า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การพัฒนาที่สมดุล มีคุณภาพ และยั่งยืน สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีคุณภาพ เสมอภาคและสมานฉันท์ สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจอย่างมีคุณภาพ ปรับตัวได้มั่นคงและกระจายการพัฒนาที่เป็นธรรม จัดการและคุ้มครองฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนเพื่อผลประโยชน์ต่อคนรุ่นอนาคต พัฒนาศักยภาพคนและการปรับตัวบนสังคมฐานความรู้ พัฒนาเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ และมีภูมิคุ้มกันที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง พัฒนาคุณภาพชีวิต และความมั่นคงในการดำรงชีวิต สงวนรักษาทรัพยากร ธรรมชาติทั้งการใช้ การป้องกัน และการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างความเสมอภาคและการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนาในการบริหารจัดการสังคมที่ดี ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจที่สมดุล พึ่งตนเองและเข่งขันได้ด้วยฐานความรู้ จัดการและธำรงไว้ซึ่งคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี กระจายผลประโยชน์ของการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม สร้างภูมิคุ้มกันและความเข้มแข็งของทุนทางสังคมให้เกิดสันติสุข สมานฉันท์ และเอื้ออาทรต่อกัน กระจายการใช้ทรัพยากรอย่างเป็นธรรมและการมีส่วนร่วมของประชาชน