โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการ : การศึกษาและจัดทำระบบ GIS การพัฒนาลุ่มน้ำกลุ่มจังหวัด ( บางปะกง ปราจีนบุรี นครนายก โตนเลสาป ) กลุ่ม D.
Advertisements

ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
วันที่ 30 พฤษภาคม 2560 และ 20 มิถุนายน 2560
การเตรียมความพร้อมรับการประเมิน จาก สมศ.
ด้านการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
การปฏิบัติงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ
งานจัดการเรียนการสอน
การประเมินผลงานวิชาการ และการขอรับเงิน พ.ต.ก.
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
วันอังคารที่ 6 มีนาคม พ. ศ เวลา น
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
งานวันข้าวโพดเทียนบ้านเกาะ
เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน ของบ้านพักเด็กและครอบครัว ประจำปีงบประมาณ พ
การใช้คู่มือประเมินความสามารถทางเชาวน์ปัญญา เด็กอายุ 2-15 ปี
Learning Assessment and Evaluation
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
การดำเนินงานสาธารณสุขชายแดน ไทย- สปป.ลาว จังหวัดน่าน
หน่วยที่ 1. ความหมายและประเภทของโครงการ
บทบาทของ สถ. ในการสนับสนุน การดำเนินงานถ่ายโอนภารกิจ
ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)
Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี
สิทธิรับรู้ของประชาชน
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
ลำพูน นายพงษ์ธาดา แก้วกมล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการโยธาธิการ
เรื่อง การปรับปรุงค่าตอบแทนภาคราชการ
การจดทะเบียนพาณิชย์ ตามพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
สงขลา นายไมตรี สรรพสิน นางฐาปณี รสสุคนธ์ นายพิชัย อุทัยเชฏฐ์
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( )
EDT2303 การออกแบบเว็บไซต์เพื่อการศึกษา 3 (2-2-5)
MOCKUP PACKAGE Digital Restaurant.
เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เรื่อง การทอผ้าห่มสี่เขา/ตะกอ
พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ
อุบลราชธานี นายนิวัตร ชูสมุทร นายชัยศักดิ์ ปิยะประสิทธิ์
ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน ตำบลดงยาง อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม
การประชุมตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ รอบที่ 1 (Project and Progress Reviews) วันจันทร์ที่
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
แนวทางปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560
นโยบายการบริหารงาน ปี 2560
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
เรื่อง เทคโนโลยี ดนตรี หมอลำ
เรื่อง ทฤษฎีการค้นหาในการฝึกสุนัข
การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ
เรื่องชนเผ่าในจังหวัดมุกดาหาร
แนวทางและแผนการดำเนินงานฯ
ผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพปี 59ซึ่งเราจะทำการสำรวจปีละ 1 ครั้ง ในเดือน มิ.ย. – ส.ค. ของทุกปี ข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูล base line ในปีงบ 60 และในเดือนธันวาคมนี้จะมีการปรับมาตรฐานผู้ทำการสำรวจเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน.
การนำเสนอแบบโปสเตอร์
กองการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย
แผนงานโครงการที่จะนำไปใช้เพื่อ การแก้ปัญหาสุขภาพหรือบริการ
หมวด 2 : การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วีระโชติ รัตนกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หลักและศิลปะ ในการเขียนหนังสือติดต่อราชการ
การประชุมชี้แจงแนวทางการกรอกข้อมูล เกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะสำหรับกรุงเทพมหานคร โดย คณะที่ปรึกษาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยในเครือข่ายการวิจัย.
ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
ฉบับที่ ๑๕/๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐ น. นายปริญญา เพ็งสมบัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมเกษตรทฤษฏีใหม่ให้แพร่หลายสู่เกษตรกร เพื่อให้มีรายได้ และมีความยั่งยืนในการประกอบอาชีพตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่ม ให้เกิดความเข้มแข็ง มีความมั่นคงทางด้านอาหารอย่างเพียงพอและยั่งยืน 3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการบูรณาการองค์ความรู้ ตลาดและเชื่อมโยง กับงานโครงการต่าง ๆ ของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานนอก

เป้าหมายดำเนินการ ดำเนินการในพื้นที่ 77 จังหวัด 882 อำเภอ เกษตรกร 8,820 ครัวเรือน

เงื่อนไขเข้าร่วมโครงการ เป็นเกษตรกรที่มีเอกสารสิทธิ์เป็นของตนเอง/เช่า มีภูมิลำเนาและที่ตั้งแปลงอยู่ในชุมชนเดียวกัน มีพื้นที่ดำเนินการตั้งแต่ 1 ไร่ขึ้นไป มีแหล่งน้ำ เช่น บ่อขุด บ่อบาดาล ฯลฯ ในพื้นที่ที่เข้าร่วมโครงการ ต้องดำเนินการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี เกษตรกรต้องมีความสมัครใจ และไม่เป็นเกษตรกรที่สมัครเข้าร่วม โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่งดำเนินการโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

การเข้าร่วมโครงการ เกษตรกรที่สนใจเข้าร่วมโครงการฯ แต่อยู่ในพื้นที่เช่า ขอให้ทำหนังสือยินยอมให้เข้าทำประโยชน์ในพื้นที่เช่า เกษตรกรที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการฯ ต้องมาขึ้นทะเบียนเกษตรกร (ทบก.) กับกรมส่งเสริมการเกษตร กรณีที่เกษตรกรขึ้นทะเบียนเกษตรกร (ทบก.) อยู่แล้ว ต้องมาแจ้งปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร (ทบก.) โดยเพิ่มกิจกรรมเกษตรทฤษฎีใหม่เข้าในกิจกรรมการเกษตรของตนเอง กรณีที่เกษตรกรยังไม่เคยขึ้นทะเบียนเกษตรกร (ทบก.) ต้องมาแจ้งขึ้นทะเบียนเกษตรกร (ทบก.) กับกรมส่งเสริมการเกษตร

การเข้าร่วมโครงการ (ต่อ) การเข้าร่วมโครงการ (ต่อ) เกษตรกรที่สมัครเข้าร่วมโครงการฯ ต้องดำเนินงานตามรูปแบบของเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยต้องมีองค์ประกอบครบทั้ง 4 ส่วน ตามอัตราส่วน 30:30:30:10 ดังนี้ พื้นที่ส่วนที่หนึ่ง ประมาณ 30% ให้ขุดสระเก็บกักน้ำ พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ 30% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝน พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ 30% ให้ปลูกไม้ผล พืชผัก พืชสมุนไพร ฯลฯ พื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ 10% เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์และโรงเรือนอื่น ๆ สามารถยืดหยุ่นขนาดพื้นที่ในแต่ละส่วนได้แต่ต้องมีกิจกรรมครบทั้ง 4 ส่วน

เอกสารหลักฐานสมัครเข้าร่วมโครงการ ใบสมัครเข้าร่วมโครงการฯ ทะเบียนบ้าน บัตรประชาชน เอกสารสิทธิ์การถือครองที่ดิน/หนังสือยินยอมให้เข้าทำประโยชน์ในพื้นที่เช่า

การจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ ขนาดกว้าง 1.20 x 1.50 เมตร กลุ่มละ 1 ป้าย จำนวน 882 ป้าย ชื่อป้าย “แปลงส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่” (ภายใต้โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่และเกษตรกรรมยั่งยืน) โดยใช้ป้ายสังกะสี ทาพื้นสีเขียว ตัวอักษรสีขาว

การดำเนินงานกลุ่ม จัดตั้งกลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ 10 รายต่อกลุ่ม อำเภอละ 1 กลุ่ม จัดตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการกลุ่ม คัดจุดเรียนรู้ จำนวน 1 จุด เพื่อใช้เป็นจุดศูนย์กลางในการจัดเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้และฝึกปฏิบัติร่วมกัน รวมทั้งใช้เป็นจุดติดตั้งป้าย ประชาสัมพันธ์โครงการ

จัดกระบวนการเรียนรู้ สำนักงานเกษตรอำเภอดำเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้ อย่างน้อย 3 ครั้ง ดังนี้ เวทีที่ 1 จัดทำแผนผังแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ แผนการผลิตและปฏิทิน การปลูกพืช เวทีที่ 2 อบรมถ่ายทอดความรู้ โดยเน้นหลักสูตรการทำเกษตรทฤษฎี ใหม่ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เทคโนโลยีการผลิตพืช สัตว์ และ ประมง เวทีที่ 3 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ณ จุดเรียนรู้ที่กำหนด เพื่อให้เป็นเวทีของสมาชิกในการร่วมกันคิด

การจัดทำแปลงส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการฯ จะได้รับการสนับสนุนปัจจัยการผลิต บางส่วน ครัวเรือนละ 2,100 บาท รูปแบบของปัจจัยการผลิต ได้แก่ พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ และประมง ต้องอยู่ในหมวดของงบดำเนินงานเท่านั้น เกษตรกรผู้รับปัจจัยการผลิตต้องกล่าวคำถวายสัตย์ปฏิญาณต่อหน้า พระบรมฉายาลักษณ์ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

การเชื่อมโยงตลาด สนับสนุนกลุ่มเกษตรกรในการนำผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรทฤษฎีใหม่ มาจำหน่ายร่วมกับตลาดเกษตรกร ตลาดท้องถิ่น ตลาดสีเขียว ตลาดอื่น ๆ และหรือเข้าร่วมกับหน่วยงานอื่น ๆ รูปแบบของการสนับสนุน ได้แก่ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลผลิตทางการ เกษตรของกลุ่มเกษตรกร จัดหาสถานที่จำหน่ายผลผลิตทางการเกษตรให้แก่ กลุ่มเกษตร พัฒนาผลผลิตทางการเกษตรของกลุ่มเกษตรกรให้ได้มาตรฐาน แปรรูปผลผลิตเพื่อเพิ่มมูลค่า เป็นต้น

การรายงาน สำนักงานเกษตรอำเภอ • นำจุดเรียนรู้ของกลุ่มมาจัดทำโมเดลเกษตรทฤษฎีใหม่ พร้อมต้นทุนการผลิต อำเภอละ 1 จุด และจัดส่งให้สำนักงานเกษตรจังหวัด สำนักงานเกษตรจังหวัด • รายงานผลการดำเนินงานลงในระบบ e-Project • สรุปผลการดำเนินงานฯ โดยจัดทำเป็นรูปเล่ม พร้อมรูปภาพประกอบ • ตรวจสอบและรวบรวมโมเดลเกษตรทฤษฎีใหม่ พร้อมต้นทุนการผลิต จัดส่งทาง e-mail : onefarm_362@hotmail.com • ส่งภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2560

การรายงาน (ต่อ) สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1-9 การรายงาน (ต่อ) สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1-9 • สรุปรายงานการติดตาม สนับสนุน แก้ไขปัญหาในพื้นที่ โดยจัดทำเป็นรูปเล่ม พร้อมรูปภาพประกอบ ส่งให้กรมส่งเสริมการเกษตร ภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2560

Q & A

เจ้าหน้าที่ผู้ประสานงาน 1. นางคนึงนิตย์ ทองลิ่ม รักษาการผู้อำนวยการกลุ่มจัดการฟาร์มและเกษตรกรรมยั่งยืน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร โทร. 094-9704242 2. นางสาวอรวรรณ คงอภิรักษ์ นวส.ชำนาญการพิเศษ โทร. 081-9142482 3. นางสาวเสาวณิต เทพมงคล นวส.ปฏิบัติการ โทร. 086-9908166 กลุ่มจัดการฟาร์มและเกษตรกรรมยั่งยืน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร โทร. 02-9406055 E-mail : onefarm_362@hotmail.com Line : http://line.me/R/ti/g/42yqWsGH4X

ขอบคุณค่ะ