ความหลากหลายทางชีวภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Organic Intermediate ในการเกิดปฏิกิริยาของสารอินทรีย์จะต้องเกี่ยวข้องกับ การแตกพันธะ (bond breaking) และการสร้างพันธะ (bond forming) จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเข้าใจหลักการที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นพื้นฐานในการเขียนกลไกการเกิดปฏิกิริยาต่างๆ.
Advertisements

ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
การสืบค้นข้อมูลสำหรับการทำวิจัย
“ผลกระทบต่อไทยจากจีนในเศรษฐกิจโลก”
A wonderful of Bioluminescence
The Genetic Basis of Evolution
ดีเอ็นเอ และวิทยาศาสตร์พันธุกรรม
วิทยาศาสตร์พันธุกรรม ดีเอ็นเอ และ จีเอ็มโอ (Molecular Biotechnology)
การจำลองดีเอ็นเอเกิดขึ้นในลักษณะใด
“ไม่มีสิ่งมีชีวิตชนิดใด ที่สามารถอยู่ได้ตามลำพัง”
วิวัฒนาการของมนุษย์.
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
อาหารจากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ และการวิเคราะห์ความเสี่ยง
Introduction to EC, GA, GP
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
พันธุกรรมและวิวัฒนาการ
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
โดย : จิรวัฒน์ พรหมพร ปรับปรุงครั้งล่าสุด.22/03/50 แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล บ. บุ๊คโปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด.
เศรษฐกิจ FTA Trade Barrier (NTB) Hub CM. การเมือง วิสัยทัศน์ผู้นำ นโยบายผู้ว่า CEO นโยบาย Food Safety การเมืองมีพรรคใหญ่ 2 พรรค ความโปร่งใส เผด็จการ และ.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ดีเอ็นเอและเทคโนโลยีชีวภาพ
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
Genetic drift Before: 8 RR 0.50 R 8 rr 0.50 r After: 2 RR 0.25 R 6 rr
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
โดย นางณหทัย วิจิตโรทัย นางพัชรี เกิดชุ่ม
พันธุวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมพันธุศาสตร์
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
Computer Project I โครงงานด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 1 1(0-3)
หลักสูตร การเสริมสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ การประปาส่วนภูมิภาค วิทยากร : วุฒทัย การสมใจ และคณะ.
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา เรื่อง
ประวัติเมืองน่าน โดย นาย กันตพล วาทกุลชร
Department of Biochemistry, Faculty of Science, Mahidol University
ความสำคัญของ ความหลากหลายทางชีวภาพ 1
สิ่งแวดล้อมและ ผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์
โลกาภิวัตน์และอำนาจอธิปไตย Globalizaion and Sovereignty
การดำเนินการตามแนวทางปฏิบัติ เพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพของ IBC
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทาง DNA ในเชิงการเกษตร
การปนเปื้อน,อันตรายและการควบคุมแมลง
บทที่ 17 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง DNA
ภัยธรรมชาติและการระวังภัยในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย
หน่วยที่ 3 องค์การและการบริหารงานภายในองค์กร Organization & Management
ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน บทเรียนเรื่อง “ชีวิตและปรัชญาชีวิต” ภาคปลาย ปีการศึกษา 2557 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำนวย พิรุณสาร ภาควิชาสังคมวิทยาและ.
ความสำคัญของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่มีต่อคุณภาพชีวิต
การแบ่งเซลล์และวัฏจักรของเซลล์(3)
ผู้ช่วยสอน : นางสาวอมรรัตน์ ตันบุญจิตต์
การจัดการประชุมที่มีประสิทธิผล
วิวัฒนาการ (evolution)
การโคลนยีน หรือ การโคลน DNA (Gene cloning and DNA cloning)
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวภาพและเทคโนโลยีทาง DNA
ความผิดปกติทางพันธุกรรม
ECCi คือ EECi คือเมืองนวัตกรรมในระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) เพื่อสนับสนุนการสร้างเศรษฐกิจใหม่ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม.
วิวัฒนาการของมนุษย์.
การประยุกต์ใช้ในเชิงการเกษตร
กฎหมายและ โลกสมัยใหม่
การดำเนินงานของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ชาร์ลส์ ดาร์วิน (Charles Robert Darwin)
อนุกรมวิธาน (Taxonomy) และ ความหลากหลายทางชีวภาพ
กลไกการเกิดวิวัฒนาการ
ทรัพยากรธรณี เรื่อง ดิน
ประชากร นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
ประชากร.
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
การสืบพันธุ์ของพืช.
เวียดนาม.
การขยายพันธุ์พืช.
รางวัลและโทษทัณฑ์ ข้อมูลและการสื่อสาร กับ การระงับข้อพิพาท
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหลากหลายทางชีวภาพ

ความหลากหลายทางชีวภาพ หมายถึง การมีชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดมาอยู่ร่วมกัน ณ สถานที่หนึ่งหรือระบบนิเวศใดระบบนิเวศหนึ่ง

ความหลากหลายทางชีวภาพมี 3 ระดับ 1 ความหลากหลายในระดับพันธุกรรม 2 ความหลากหลายในระดับชนิดของสิ่งมีชีวิต 3 ความหลากหลายในระดับของระบบนิเวศ

ความหลากหลายทางพันธุกรรม      ในระบบนิเวศหนึ่งๆ จะประกอบด้วยกลุ่มสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด แม้ในสิ่งมีชีวิตเดียวกันก็ยังมีความหลากหลายทางพันธุกรรมที่ทำให้เกิดสายพันธุ์ต่างๆ อันเป็นรากฐานสำคัญที่เอื้ออำนวยให้สิ่งมีชีวิตสามารถดำรงชีวิตให้สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถดำรงเผ่าพันธุ์ได้สืบไป

รูปภาพแสดงความหลากหลายสายพันธุ์

รูปภาพแสดงความหลากหลายสายพันธุ์

รูปภาพแสดงความหลากหลายสายพันธุ์

รูปภาพแสดงความหลากหลายสายพันธุ์

ความหลากหลายทางพันธุกรรมมีสาเหตุดังนี้ 1. การผ่าเหล่า (Mutation) ลูกที่เกิดมาแตกต่างจากพ่อแม่ 2. การปรับปรุงพันธุ์ เพื่อให้ได้พันธุ์ใหม่ที่ดีกว่าเดิม 3. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ พ่อและแม่มีลักษณะเด่นและด้อยต่างกัน 4. การใช้เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ เช่น การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การผสมเทียม การโคลน การตัดต่อยีน

ความหลากหลายในระดับชนิดของสิ่งมีชีวิต โลกของเรามีสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดกว่า 1.5 ล้านชนิด เพื่อความสะดวกในการศึกษาจึงมีการจัดแบ่งออกเป็นกลุ่มๆ โดยในแต่ละกลุ่มที่มีการจัดกลุ่มย่อยที่เล็กลงไปตามลำดับจนถึงกลุ่มย่อยพื้นฐานที่สุดในระบบจำแนกสิ่งมีชีวิตเรียกว่า สปีชีส์ ( species ) สปีชีส์ คือ กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่เป็นประชากรเดียวกันผสมพันธุ์กันแล้วได้ลูกหลานสืบทอดต่อไป ตัวอย่าง : คนทุกชาติในโลกสปีชีส์เดียวกัน คือ Homo  sapiens

ความแตกต่างของจำนวนสิ่งมีชีวิตและจำนวนประชากร 1. การวิวัฒนาการแบบทีละเล็กละน้อย จนกระทั้งสามารถปรับตัวได้ เช่น วิวัฒนาการของยีราฟตามแนวคิดของชาลส์ ดาร์วิน

ความแตกต่างของจำนวนสิ่งมีชีวิตและจำนวนประชากร 2. การคัดเลือกพันธุ์ตามธรรมชาติ จะคัดเลือกสายพันธุ์ที่ดี เหมาะสม กับการดำรงชีวิตเอาไว้ เช่น ลักษณะปากของนกฟินซ์ที่เหมาะสมกับการ กินอาหาร

ความหลากหลายของระบบนิเวศ ระบบนิเวศแต่ละระบบเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตมากมาย หลายชนิด โดยมีสภาวะที่เหมาะสมกับสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด โดยที่ระบบนิเวศจะมีความหลากหลายที่สามารถแยกออกได้ 4 ลักษณะ คือ  1. ระบบนิเวศแหล่งน้ำจืด 2. ระบบนิเวศในทะเล 3. ระบบนิเวศป่าชายเลน 4. ระบบนิเวศป่าไม้

ระบบนิเวศแหล่งน้ำจืด

ระบบนิเวศในทะเล

ระบบนิเวศป่าชายเลน

ระบบนิเวศป่าไม้

ผลของความหลากหลายทางชีวภาพ 1. ผลที่มีต่อมนุษย์ ทำให้มนุษย์สามารถคัดเลือกสาย พันธุ์พืชและสัตว์มาใช้ประโยชน์ตามต้องการได้ 2. ผลที่มีต่อสัตว์และพืช ทำให้สัตว์และพืชอยู่ร่วมกัน ในธรรมชาติอย่างสมดุล เช่น แบบอิงอาศัย หรือ ภาวะปรสิต 3. ผลที่มีต่อสิ่งแวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพ ทำให้ สิ่งแวดล้อมมีความสมดุลทั้งทางอากาศ ดิน และน้ำ

การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ 1. การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิตและบริโภค ที่ทำการเกษตรแบบมุ่งเน้นการค้า มีการใช้สารเคมีมากขึ้นในการเกษตร เช่น ยาฆ่าแมลงและยาปราบศัตรูพืช เกิดสารพิษตกค้างในดินและแหล่งน้ำ กระทบต่อสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กในดิน และสัตว์น้ำ 2. การเติบโตของประชากรและการกระจายตัวของประชากร ทำให้เกิดการรุกล้ำเข้าไปในพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง ซึ่งกระทบต่อความสมดุลของระบบนิเวศ

การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ 3. การทำลายถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติของสัตว์นานาพันธุ์ เช่น การทำลายป่า การล่าสัตว์ 4. มีการนำทรัพยากรธรรมชาติไปใช้ประโยชน์มากเกินไป 5. การตักตวงผลประโยชน์จากชนิดพันธุ์ของพืชและสัตว์ป่า เพื่อผลประโยชน์ทางการค้า โดยการค้าขายสัตว์และพืชป่าแบบผิดกฎหมาย 6. การนำเข้าชนิดพันธุ์ต่างถิ่น ซึ่งมีผลกระทบต่อการทำลายสายพันธุ์ท้องถิ่น 7. การสร้างมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม เช่น มลพิษทางน้ำ มลพิษทางอากาศ และขยะ เป็นต้น

การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ 8. การเปลี่ยนแปลงภาวะเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมของโลก เช่น อุณหภูมิโลกสูงขึ้น การเพิ่มขึ้นของน้ำทะเล ภัยแล้งทำให้เกิดปัญหาการขาดแคลนน้ำ การเกิดไฟป่า 9. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology)ด้านการตัดต่อหน่วยพันธุกรรมหรือ จีเอ็มโอ (GMO; Genetically Modified Organisms) หรือพันธุวิศวกรรมศาสตร์ (genetic

ภาพแสดงถึงการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ

ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย ในประเทศไทยมีความสมบูรณ์ทางด้าน พรรณไม้ประมาณ 13,200 ชนิด พันธุ์สัตว์ประมาณ 12,000 ชนิด ป่าไม้