จรรยาบรรณ จรรยาบรรณ คือ จริยธรรมวิชาชีพ วิชาชีพ มีองค์ประกอบ 4 ประการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพิชิตความสำเร็จของงาน โดยใช้หลักคุณธรรม จริยธรรม
Advertisements

สร้างสรรค์คุณภาพชีวิตและความสุข
สภาพแวดล้อมทางธุรกิจและการจัดการ
Regulations for SoLA, KMUTT
บรรยายโดย ประวีณ ณ นคร ที่ปรึกษาสำนักงาน ก.พ.
Work Shop การพัฒนาหลักสูตรสำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
Ethics Case สมมติว่าคุณเป็นผู้ช่วยผู้ควบคุมที่รับผิดชอบการทำบัญชีแยกประเภททั่วไปที่ Bad Water Bottling Company บริษัทของคุณมีได้กู้เงินเป็นจำนวนมากจากบริษัทประกันภัย.
โครงสร้างการบริหารคณะเทคโนโลยี บัณฑิตพึงเรียนรู้ตลอดชีวิต
The Teacher by Thai Ideal
มุมมองการอุดมศึกษาไทย
IS Strategy :- Thammasarth University 19 MARCH 2549 คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน Pichai Takkabutr 1 MIS Literacy ความรู้ความรู้ความรู้ ความรู้สึกความรู้สึกความรู้สึก.
MIS: Pichai Takkabutr EAU นิยาม ความหมายการบริหาร การจัดการ การบริหาร การจัดการที่ดี (Good Governance) BACK การอยู่ร่วมกัน ต้องมีการจัดระเบียบและระบบสังคม(Code.
จรรยาบรรณ เรื่องส่งเสริมเสรีภาพในวิชาชีพ
นางสาวศิรินทิพย์ อินทรภาษิต
เรื่องของการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร ต้อง ให้ฉับไว ถูกต้อง ด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึง พอใจต้องสำรวจให้ครบทุกหน่วยงาน ต้องพัฒนาทักษะ ความรู้ความเข้าใจ จัดระบบงานใหม่ให้สอดคล้องกับความ.
จริยธรรม และ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
ธรรมาภิบาล และ การปฏิรูปราชการ
โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โดย... จิรวัฒน์
รศ.ดร. กุลยา ตันติผลาชีวะ
จรรยาบรรณวิชาชีพ และความรับผิดชอบต่อ สังคม ของวิชาชีพวิศวกรรม ปัญญรักษ์ งามศรีตระกูล พฤศจิกายน 2550.
บทที่ 3 : การป้องกันการเจาะระบบ Part1 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ
การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบและการวิเคราะห์ระบบ
โครงการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้ตรวจสอบภายในภาครัฐ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
บทที่ 3 องค์การสมัยใหม่ (Modern organization)
การเพิ่มผลผลิต.
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law
สังคมและการเมือง : Social and Politics
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ธเนศพงศ์ธรรม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
สำนักงานวิจัยนวัตกรรมและพันธมิตร มจธ.
ความเป็นมาและความสำคัญ ของการเพิ่มผลผลิต
จรรยาบรรณ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับการท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษาสุขภาพ
จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics)
จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
มองชุมชนไทยผ่านกรอบ Amartya Sen
บทที่ 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญา วิธิการทางปรัชญา
เส้นทางสู่ วิชาชีพนักกฎหมาย
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
ความหมายของปรัชญา.
อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อมทางสังคม
สิทธิทางปัญญาและจริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
คุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพ
ธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา
การเขียนบทความวิชาการ
คำนิยาม จริยธรรม: สิ่งที่ควรประพฤติ (ตามข้อกำหนด เพราะทำให้ สังคมเป็นสุข) ศิลธรรม: จริยธรรมที่กำหนดโดยหลักศาสนา คุณธรรม: ธรรมที่ปฏิบัติแล้วเป็นคุณทั้งต่อผู้อื่นและตนเอง.
การขับเคลื่อนการพัฒนาองค์กร นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
อาจารย์ณรงค์ชัย มุ่งแฝงกลาง คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
13 October 2007
Promoter - Supporter -Coordinator-Regulator
Network Security : Introduction
RDU Hospital ผลการดำเนินงาน ไตรมาส 1/2560 (ระดับการพัฒนา RDU ขั้นที่1) ปีงบประมาณ 60  ขั้นที่ 1 (เงื่อนไข 9 ข้อ) RDU- hospital 1. มีคณะกรรมการดำเนินงาน.
Career Path บุคลากรสายงานกิจการนิสิต
การบูรณาการ สมรรถนะที่ ก.พ. กำหนด สมรรถนะ M.O.P.H.
แผนผังแสดงกลไกการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตภาครัฐ
การมีส่วนร่วมและขจัดความขัดแย้งในการทำงาน
กระบวนการรับรู้ของผู้บริโภค
Service plan :RDU-AMR ปี 60 ไตรมาส 2 จังหวัดเชียงใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา THM๒๒๐๗ กฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพสำหรับอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวและบริการ 2. หัวข้อที่ประจำสัปดาห์นี้ จริยธรรมและจรรยาบรรณในงานด้านอุตสาหกรรมบริการ(ต่อ)
ทบทวน ;) จริยธรรมนักกฎหมายต่างจากจริยธรรมทั่วไปอย่างไร?
องค์ประกอบของกระบวนการสื่อสาร
(Code of Ethics of Teaching Profession)
บทที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีจริยศาสตร์ จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ (ต่อ)
บทที่ ๑ บทนำ วิธีการและมาตรการด้านวิศวกรรมในการควบคุมอุบัติเหตุ
ห่วงโซ่คุณภาพ (Chain of Quality)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จรรยาบรรณ จรรยาบรรณ คือ จริยธรรมวิชาชีพ วิชาชีพ มีองค์ประกอบ 4 ประการ 1. มีความรู้ 2. มีจรรยาบรรณ 3. มีการคัดเลือก 4. มีสมาคมวิชาชีพคอยควบคุม

จรรยาบรรณ / จรรยาชีพ มุ่งให้เกิดประโยชน์ 1. ทำให้คนที่อยู่ในอาชีพนั้นมีประสิทธิภาพ 2. ให้เกิดความเป็นธรรม 3. ให้ผู้อยู่ในอาชีพมีเกียรติ / ศักดิ์ศรี * คนเก่งแต่ไม่ดี ? * คนดีไม่เก่ง ? * คนเก่งและคนดี ?

วัตถุประสงค์ของจรรยาบรรณ มี 10 ประการ 1. เป็นที่ยอมรับของหมู่คณะ (สังฆสุฏฐุตา) 2. เพื่อความผาสุกของหมู่คณะ (สังฆผาสุตา) 3. เพื่อข่มคนดื้อและเป็นเครื่องอ้าง (นิคคหะ) 4. เพื่อพิทักษ์คนดี (ผาสุวิหาร) 5. เพื่อป้องกันปัญหาต่าง ๆ (สังวร)

6. เพื่อกำจัดปัญหาในอนาคตที่จะเกิดขึ้น(ปฏิฆาตะ) 7. เพื่อสร้างความเลื่อมใสศรัทธาของผู้บริการ(ปสาทะ 8. ทำให้คนที่ศรัทธาและเลื่อมใสระบบระราชการ อยู่แล้ว มีศรัทธายิ่ง ๆ ขึ้นไป (ภิยโยภาพ) 9. เพื่อความรู้รอกของระบบ (ฐิติ) 10 เพื่อการอนุเคราะห์เรื่องระเบียบวินัย(วินยานุคคหะ

สรุปความสัมพันธ์ (จริยธรรม จริยศาสตร์ และจริยศึกษา) จริยธรรม คือแนวทางของการประพฤติ หรือข้อ ปฏิบัติตนเป็นคนดี เพื่อ ประโยชน์สุขของคนและส่วนรวม มาจาก * ขนบธรรมเนียม * ประเพณี *วัฒนธรรม * ศาสนา * ปรัชญา

จริยธรรม เป็นข้อปฏิบัติที่ชักจูงให้คนทำตาม โดย ไม่ต้องตั้งคำถามหาเหตุผลว่าไม่ต้องทำ (เป็นความจริงสากล ; สัจพจน์) จริยศาสตร์ ทำหน้าที่เสนอ ทฤษฎีแห่งความประ- พฤติตามหลักจริยธรรม ที่ควรปฏิบัติตาม กล่าวอีกนัยหนึ่ง

จริยศาสตร์ เสนอ * เหตุผล จริยศาสตร์ เสนอ * เหตุผล * หลักการ / วิธีการ * ประพฤติปฏิบัติดี แห่งกระบวนการจัดกิจกรรมมุ่งหาจริยธรรม ให้ ปลูกฟังเจตคติ หรือ คุณธรรมลงในจิตใจ (จิต-วิญญาณ)

จริยศึกษา มุ่งสร้าง * หาเหตุผล จริยศึกษา มุ่งสร้าง * หาเหตุผล * เจตคติ * ทักษะ (ปฏิบัติในชีวิตจริง) (การคิด; การใช้เหตุผล) ด้วยปัญญา

* จริยศาสตร์ มุ่งเสนอทฤษฎี * จริยธรรม มุ่งชี้วิธีการปฏิบัติ * จริยศาสตร์ มุ่งเสนอทฤษฎี * จริยธรรม มุ่งชี้วิธีการปฏิบัติ * จริยศึกษา มุ่งให้เกิดทักษะ --------กล่าวอีกนัยหนึ่ง--------- * จริยศาสตร์ ให้หลักการ * จริยธรรม ให้วิธีการ * จริยศึกษา ให้ความชำนาญ

สรุป “จริยธรรม” คือแนวทางของการประพฤติปฏิ บัติตนให้เป็นคนดี เพื่อประโยชน์สุขของตนเอง และส่วนรวม ศีลธรรม อันเป็นหลักแห่งความประพฤติ อันหนึ่ง มาจากคำสอนทางศาสนา ว่าด้วยความ ประพฤติชอบ ส่วน จริยธรรม หลักแห่งความประพฤติปฏิบัติ

อันวางรากฐานอยู่บนหลักคำสอนของศาสนา ปรัชญา และขนบธรรมเนียมประเพณี จริยธรรมใน ฐานะที่เป็นระบบ ส่วน ศีลธรรม เป็นส่วนประกอบที่สำคัญ

จริยธรรมในเชิงปรัชญา * จริยธรรม ; จริยศาสตร์ (Ethics) เป็นสาขาหนึ่ง ของปรัชญาที่กล่าวถึงปัญหาด้าน “จริยธรรม” หรือ “ปรัชญาชีวิต” เช่น : มาตรฐานการตัดสินความดี : มาตรฐานการตัดสินความชั่ว

: การประพฤติของบุคคลว่าอย่างไรดี : “ “ ชั่ว : การประพฤติของบุคคลว่าอย่างไรดี : “ “ ชั่ว : “ “ ถูกต้อง : “ “ ผิด : ชีวิตที่ดีมีลักษณะอย่างไร : อะไรคือสิ่งที่หน้าปรนาสูงสุดของชีวิต : อะไรคือจุดหมายปลายทางของชีวิต

: ความดีคืออะไร : อาศัยอะไรเป็นเกณฑ์ในการตัดสิน ความดี-ชั่ว : ความดีคืออะไร : อาศัยอะไรเป็นเกณฑ์ในการตัดสิน ความดี-ชั่ว * เป็นเรื่องจิตใจของแต่ละบุคคลที่ปฏิบัติวิถีชีวิต จริยธรรมในเชิงจิตวิทยา จริยธรรม ศึกษาถึงความดีอันสูงสุดของมนุษย์ * ดี - ชั่ว * ถูก - ผิด * ควร - ไม่ควร

จิตวิทยา ศึกษาถึงธรรมชาติที่แท้จริงของจิต * มนุษย์ * พันธุกรรม * สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ จิตวิทยาเป็นพื้นฐานของจริยธรรม ศึกษาเรื่องต่างๆ ร่วมกัน * เจตนา กับความต้องการ

* ความคิด * ความตั้งใจ * ความเพลิดเพลิน * ความคิด * ความตั้งใจ * ความเพลิดเพลิน จจริยธรรมในเชิงศาสนา ความสุขสุงสุดนั้นต้องประกอบด้วยคุณธรรม คำสอนของศาสนา * ศาสนาทวนิยม สอนว่า ........ * ศาสนาอเทวนิยม สอนว่า ....... “ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว”

ศาสนา : ขึ้นอยู่กับความเชื่อ; สอนความจริงสากล จริยธรรม : ขึ้นอยู่กับเหตุผล; ความแท้จริงสากล