ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ร่าง ยุทธศาสตร์ชาติ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ.2560-2564)
ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างสังคม ที่ไม่ทนต่อการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 3 วิสัยทัศน์ : ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต (Zero Tolerance & Clean Thailand) พันธกิจ : สร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทุกภาคส่วนแบบบูรณาการ และปฏิรูปกระบวนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตทั้งระบบ ให้มีมาตรฐานสากล เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์: ประเทศไทยได้รับการประเมินดัชนีการรับรู้การทุจริต(Corruption Perceptions Index: CPI)ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 วัตถุประสงค์ที่ 1 สังคมมีพฤติกรรม ร่วมต้านการทุจริตในวงกว้าง วัตถุประสงค์ที่ 2 เกิดวัฒนธรรม ทางการเมือง (Political Culture) มุ่งต้านการทุจริตในทุกภาคส่วน วัตถุประสงค์ที่ 3 การทุจริตถูกยับยั้ง อย่างเท่าทันด้วยนวัตกรรม กลไกป้องกัน การทุจริต และระบบบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล วัตถุประสงค์ที่ 4 การปราบปรามการทุจริตและการบังคับใช้กฎหมาย มีความรวดเร็ว เป็นธรรม และได้รับความร่วมมือจากประชาชน วัตถุประสงค์ที่ 5 ดัชนีการรับรู้เรื่องการทุจริต ของประเทศไทย (Corruption Perceptions Index: CPI) มีค่าคะแนนในระดับที่สูงขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างสังคม ที่ไม่ทนต่อการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับเจตจำนงทางการเมือง ในการต่อต้านการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 3 สกัดกั้นการทุจริตเชิงนโยบาย ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบป้องกันการทุจริตเชิงรุก ยุทธศาสตร์ที่ 5 ปฏิรูปกลไกและกระบวนการ การปราบปรามการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 6 ยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้ การทุจริตของประเทศไทย Benchmarking - CPIB(สิงคโปร์): การแก้ไขและบังคับใช้กฎหมาย, ระบบรับเรื่องร้องเรียน,การสืบสวนสอบสวน, การตรวจสอบบัญชี, การให้ข้อเสนอแนะแก่รัฐ, HRM&HRD, เจตจำนงของผู้นำ - ICAC(ฮ่องกง): ระบบรับเรื่องร้องเรียน, การสืบสวนสอบสวน, , การปรับฐานคิด ปชช., การปลูกฝังด้านการศึกษา, การให้ข้อเสนอแนะแก่รัฐ, HRM&HRD, เจตจำนงของผู้นำ - ACRC(เกาหลี): ระบบรับเรื่องร้องเรียน, การคุ้มครองพยาน, การปรับฐานคิด ปชช., การปลูกฝังด้านการศึกษา, การประเมินความโปร่งใส วิเคราะห์สภาพแวดล้อม จุดแข็ง(+) วิเคราะห์สภาพแวดล้อม โอกาส(+) วิเคราะห์สภาพแวดล้อม จุดอ่อน (-) วิเคราะห์สภาพแวดล้อม อุปสรรค(-) วงล้ออนาคต: Future wheel analysis การวิเคราะห์ทิศทางการป้องกันและปราบปรามการทุจริต - ร่าง รธน. แห่งราชอาณาจักรไทย - วาระปฏิรูป สภาปฏิรูปแห่งชาติ - ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี - ร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ 12 - นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. 2558 – 2560 - แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทยพ.ศ. 2558 - 2560 - แนวนโยบายและข้อสั่งการ คสช. ทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - รูปแบบและลักษณะการทุจริต - ปัญหาการทุจริตที่ควรมุ่งเน้นแก้ไข - ข้อจำกัดการดำเนินงานเพื่อปราบปรามการทุจริต - นัยสำคัญที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์คอร์รัปชันของประเทศ - มาตรการสากลเพื่อการป้องกันและปราบปรามการทุจริต - กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคม - การสร้างความร่วมมือจากทุกภาคส่วน - ธรรมาภิบาลกับภาคธุรกิจเอกชน - การป้องกันและปราบปรามการทุจริตในระดับชุมชน แนวคิดที่สำคัญอื่น ๆ (Idea) - จากการประชุมเชิงปฏิบัติการ - จากการฟังความเห็น - จากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ
2. ยกระดับเจตจำนงทางการเมือง ในการต่อต้านการทุจริต 3. สกัดกั้นการทุจริตเชิงนโยบาย 1. สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต ยุทธศาสตร์ 4. พัฒนาระบบป้องกันการทุจริตเชิงรุก 6. ยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้เรื่องการทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย 5. ปฏิรูปกลไกและกระบวนการ การปราบปรามทุจริต
ที่ไม่ทนต่อการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมหลักสูตร/บทเรียน /องค์ความรู้ แนวคิดคนไทยยุคใหม่ ปรับรูปแบบและวิธีการนำเสนอ การสื่อสารสำหรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1. ปรับฐานความคิดทุกช่วงวัยตั้งแต่ปฐมวัยให้สามารถแยกระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม 4. เสริมพลังการมีส่วนร่วมของพลเมือง (Civic Participation) และบูรณาการ ทุกภาคส่วนเพื่อต่อต้านการทุจริต การมีส่วนร่วม Social Sanction 2. ส่งเสริมให้มีระบบและกระบวนการ กล่อมเกลาทางสังคมเพื่อต้านทุจริต สร้างสังคม ที่ไม่ทนต่อการทุจริต กล่อมเกลาทุกช่วงวัย ผ่านสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา องค์กรวิชาชีพ และศาสนา สร้างความเป็นพลเมืองที่ดีและมีจิตสาธารณะ (เสียสละ จิตอาสา) พัฒนานวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้สำหรับทุกช่วงวัย การสื่อสารสำหรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม บทบาทของสื่อมวลชนในการสร้างสังคมโปร่งใส สร้าง Public Issue บูรณาการกับหน่วยงานเพื่อจัดทำ Integrity Log Books 3. ประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเครื่องมือต้านทุจริต เสริมหลักสูตร/บทเรียน /องค์ความรู้ ปรับรูปแบบและวิธีการนำเสนอ การสื่อสารสำหรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 2 กำหนดให้นักการเมืองต้องแสดงเจตจำนงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต จัดทำเอกสารแสดงเจตจำนงทางการเมืองของพรรคการเมืองในการต่อต้านการ ทุจริตและเผยแพร่ให้แก่ประชาชน 1.พัฒนากลไกการกำหนดให้นักการเมืองแสดงเจตจำนงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริตต่อสาธารณชน 6. ประยุกต์นวัตกรรมในการกำกับดูแลและควบคุมการดำเนินงานตามเจตจำนงทางการเมืองของพรรคการเมืองที่ได้แสดงไว้ต่อสาธารณะ 2. เร่งรัดการกำกับติดตามมาตรฐานทางจริยธรรมของนักการเมืองและเจ้าหน้าที่รัฐในทุกระดับ กำหนดให้พรรคการเมืองต้องแสดงแนวทางในการดำเนินนโยบาย และการใช้งบประมาณต่อนโยบายนั้นๆ ก่อนที่จะจัดให้มีการเลือกตั้ง จัดระบบฐานข้อมูลแนวทาง/มาตรการป้องกันการทุจริตในแต่ละโครงการที่พรรคการเมืองได้หาเสียงไว้กับประชาชน ศึกษาและกำหนดแนวทาง/ขั้นตอนการกำกับติดตามมาตรฐาน ทางจริยธรรมของนักการเมืองและเจ้าหน้าที่รัฐ ยกระดับเจตจำนง ทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต 3. สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนกำหนดกลยุทธ์และมาตรการในการต่อต้านการทุจริต 5. ส่งเสริมการจัดตั้งกองทุนต่อต้านการทุจริตสำหรับภาคเอกชนและภาคประชาชน โดยรัฐให้การสนับสนุนทุนตั้งต้น ประสานความร่วมมือระหว่างภาคส่วนต่างๆ ในการกำหนดกลยุทธ์และมาตรการในการปฏิบัติเจตจำนงทางการเมืองในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต 4.พัฒนาระบบการบริหารงบประมาณด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเพื่อให้ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่มีสัดส่วนเหมาะสมกับการแก้ปัญหา การศึกษาแนวทางการจัดตั้งกองทุนต่อต้านการทุจริตในรูปแบบนิติบุคคล ศึกษาวิเคราะห์แนวทางการปฏิรูประบบการจัดสรรงบประมาณ
1. วางมาตรการเสริมในการสกัดกั้นการทุจริตเชิงนโยบายบนฐานธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์ที่ 3 1. วางมาตรการเสริมในการสกัดกั้นการทุจริตเชิงนโยบายบนฐานธรรมาภิบาล ศึกษาวิเคราะห์ เพื่อสร้างองค์ความรู้ในการตรวจสอบการทุจริตเชิงนโยบายของ อปท. เผยแพร่องค์ความรู้ ขั้นการก่อตัวนโยบาย (Policy formation) ขั้นการกำหนดนโยบาย (Policy Formulation) ขั้นตัดสินใจนโยบาย (Policy Decision) ขั้นการนำนโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation) ขั้นการประเมินนโยบาย (Policy Evaluation) 4. ส่งเสริมให้มีการศึกษา วิเคราะห์ ติดตาม และตรวจสอบ การทุจริตเชิงนโยบายในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สกัดกั้นการทุจริต เชิงนโยบาย การตรวจสอบแนวนโยบายหาเสียงของพรรคการเมือง เกณฑ์ชี้วัดความเสี่ยงของนโยบาย Policy Risk Indicator (PRI) การพิจารณาและวิเคราะห์เนื้อหาของกฎหมายว่าไม่เอื้อประโยชน์ต่อกลุ่มใด กระบวนการตรวจสอบการจัดสรรงบประมาณและการใช้จ่ายงบประมาณ เสริมสร้างความรับผิดชอบทางการเมืองของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง การสร้างกลไกการตรวจสอบการใช้อำนาจของฝ่ายบริหาร กระบวนการควบคุมจริยธรรมของนักการเมืองและผู้บริหารระดับสูงและ ข้าราชการในระดับต่างๆ การกำหนดบทลงโทษในกรณีที่มีการฝ่าฝืนจริยธรรม หรือเป็นความผิด ในทางบริหาร บูรณาการติดตามและประเมินนโยบาย การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับนโยบาย 3. การพัฒนานวัตกรรมสำหรับการรายงานและตรวจสอบธรรมาภิบาลในการนำนโยบายไปปฏิบัติ การพัฒนานวัตกรรมสำหรับการส่งเสริมภาคธุรกิจเอกชน สื่อมวลชน และประชาชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอล 2. การรายงานผลสะท้อนการสกัดกั้น การทุจริตในวงจรนโยบาย (Policy cycle feedback) บูรณาการและประมวลผลข้อมูลเพื่อการรายงานนโยบาย
พัฒนาระบบป้องกันการทุจริตเชิงรุก ยุทธศาสตร์ที่ 4 1. เพิ่มประสิทธิภาพระบบงานป้องกันการทุจริต 2. สร้างกลไกการป้องกันเพื่อยับยั้งการทุจริต ระบบงาน แนวคิด มาตรการ 8. การพัฒนาระบบและส่งเสริมการดำเนินการตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 (United Nations Convention Against Corruption C.C. 2003 – UNCAC 2003) เครื่องมือ/กลไกในการตรวจสอบ/ยับยั้ง 3. พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อลดปัญหาการทุจริต พัฒนาระบบป้องกันการทุจริตเชิงรุก Online Public Sector Trends 4. พัฒนารูปแบบการสื่อสารสาธารณะ เชิงสร้างสรรค์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 7. พัฒนาสมรรถนะและองค์ความรู้เชิงสร้างสรรค์ของบุคลากรด้านการป้องกันการทุจริต 5. การพัฒนา วิเคราะห์และบูรณาการระบบการประเมิน ด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน เพื่อเชื่อมโยงกับแนวทางการยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้เรื่องการทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย Marketing in Public Sector Content Theme Creative Thinking Competency Trends 6. สนับสนุนให้ภาคเอกชนดำเนินการตามหลักบรรษัทภิบาล Cooperate Governance พัฒนาเกณฑ์มาตรฐานการประเมินด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน
ปฏิรูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 5 1. ปรับปรุงระบบรับเรื่องร้องเรียนการทุจริตให้มีประสิทธิภาพ 2. ปรับปรุงการตรวจสอบความเคลื่อนไหวและความถูกต้องของทรัพย์สินและหนี้สิน การปรับปรุงระบบการรับเรื่องร้องเรียนให้มีความรวดเร็วเข้าถึงง่าย การสร้างความเชื่อมั่นและความไว้วางใจต่อระบบการรับเรื่องร้องเรียน การพัฒนาระบบการตรวจสอบความเคลื่อนไหวและการตรวจสอบความถูกต้องของทรัพย์สินและหนี้สิน การกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินให้ครอบคลุมถึงโอกาสในการทุจริต 9. การเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินคดีทุจริตระหว่างประเทศ 8. การเปิดโปงผู้กระทำความผิดให้สาธารณชนรับทราบและตระหนักถึงโทษของการกระทำการทุจริตเมื่อคดีถึงที่สุด 3. ปรับปรุงกระบวนการและพัฒนากลไกพิเศษในการปราบปรามการทุจริตที่มีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ปฏิรูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามทุจริต 4. ตรากฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายในการปราบปรามการทุจริตให้เท่าทันต่อพลวัตรของการทุจริต และสอดคล้องกับสนธิสัญญาและมาตรฐานสากล 7. พัฒนาสมรรถนะและองค์ความรู้เชิงสหวิทยาการของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการปราบปรามการทุจริต พัฒนาองค์ความรู้/ทักษะ/ขีดความสามารถให้พร้อมปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง แลกเปลี่ยนเจ้าหน้าที่ด้านการปราบปรามการทุจริตระหว่างหน่วยงาน การเสริมความรู้ในรูปแบบสหวิชาการ สร้างระบบการแบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing) ระหว่างบุคลากรขององค์กร การตรากฎหมายหรือปรับปรุงกฎหมายให้เม่าทันต่อพลวัตรของการทุจริต การบังคับใช้กฏหมาย 6.การเพิ่มประสิทธิภาพในการคุ้มครองพยานและผู้แจ้งเบาะแส (Whistleblower) และเจ้าหน้าที่ในกระบวนการปราบปรามการทุจริต 5. บูรณาการข้อมูลและข่าวกรองในการปราบปรามการทุจริต พัฒนาระบบฐานข้อมูล จัดตั้งประชาคมศูนย์กลางข่าวกรอง ร่วมมือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวกรองร่วมกับสื่อมวลชน/ภาคประชาสังคม มีมาตรการในการคุ้มครองพยานและผู้ให้เบาะแสที่มีความน่าเชื่อถือและสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้ถูกคุ้มครองได้
ยุทธศาสตร์ที่ 6 2. บูรณาการเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเพื่อยกระดับดัชนีการรับรู้เรื่องการทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย 1.ศึกษา และกำกับติดตามการยกระดับดัชนีการรับรู้เรื่องการทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย วิเคราะห์และเชื่อมโยงเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 3 เพื่อยกระดับดัชนีการรับรู้การทุจริต กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ ศึกษา วิเคราะห์ประเด็นการประเมินและวิธีสำรวจตามแต่ละแหล่งข้อมูลที่ใช้สำหรับการจัดอันดับดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เร่งรัด และกำกับ ติดตามการดำเนินการยกระดับดัชนีการรับรู้เรื่องการทุจริตของประเทศไทย การจัดการการรับรู้ (Perceptions) ยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้เรื่องการทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย
การดำเนินงานขั้นต่อไป จัดทำยุทธศาสตร์ฉบับสมบูรณ์ จัดทำบทสรุปสำหรับผู้บริหาร (Executive Summary) โดยจัดทำเป็น 4 ภาษา คือ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น นำเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. กลางเดือนสิงหาคม 2559 ให้ความเห็นชอบเพื่อนำเสนอคณะรัฐมนตรี นำเสนอคณะรัฐมนตรี เดือนสิงหาคม 2559 เพื่อพิจารณาและให้ความเห็นชอบ มีมติให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องถือปฏิบัติ Executive Summary 4 ภาษา การดำเนินงานขั้นต่อไป +
ขอบคุณ