บุคลากร (Workforce) หมวด 5 หน้า 1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
PMQA Organization PMQA 2550 หลักสูตร การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ปี พ.ศ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
บุคลากร (Workforce) หมวด 5 หน้า 1.
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
กลุ่มที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด นครราชสีมา.
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการบุคลากรทรัพยากรมนุษย์
Strategic Line of Sight
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ผ.ศ.เสาวลักษณ์ สุขประเสริฐ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
Office of Basic Education Commission Quality Award (OBECQA)
FA Interview.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บุคลากร (Workforce) หมวด 5 หน้า 1

เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (OBECQA) นักเรี ยน หน้า 2

5.บุคลากร (Workforce) หน้า 3 5.1. สภาพแวดล้อมของบุคลากร (Workforce Environment) 5.2. ความผูกพันของบุคคล (Workforce Engagement) หน้า 3

5.1 สภาพแวดล้อมของบุคลากร (Workforce Environment) หัวข้อถามถึงความต้องการด้านขีด ความสามารถและอัตรากำลังบุคลากรวิธี ตอบสนองความต้องการเหล่านั้นเพื่อให้งาน ของโรงเรียนบรรลุผล รวมทั้งถามถึงวิธีการที่ ทำให้โรงเรียนมั่นใจได้ว่าบรรยากาศ ในการทำงานเกื้อหนุนการปฏิบัติงาน จุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่มี ประสิทธิภาพที่ส่งผลให้การทำงานของ โรงเรียนบรรลุผลสำเร็จและสามารถเกื้อหนุน บุคลากรได้ หน้า 4

5.2 ความผูกพันของบุคคล (Workforce Engagement) หัวข้อนี้ถามถึงระบบของโรงเรียนในเรื่องการจัดการ ผลการปฏิบัติงานของบุคลากรการพัฒนาบุคลากร เพื่อสร้างความสามารถและกระตุ้นให้บุคลากร ทุกคนปฏิบัติงานให้โรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิผล และเต็มความสามารถโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สนับสนุนผลการดำเนินการที่ดีของโรงเรียน เพื่อนำ สมรรถนะหลักของโรงเรียน (Core Competencies) มาใช้ และเพื่อส่งเสริมให้โรงเรียน บรรลุแผนปฏิบัติ อีกทั้งทำให้มั่นใจว่ามีความสำเร็จ ในปัจจุบันและในอนาคต หน้า 5

5.1 สภาพแวดล้อมของบุคลากร (Workforce Environment) หน้า 6 2.1   ก. ขีดความสามารถและอัตรากำลังบุคลากร 2.2 (1)ประเมินความต้องการด้านขีดความสามารถและอัตรากำลังบุคลากร 2.2n(4) (2)สรรหาว่าจ้าง บรรจุ และรักษาบุคลากรใหม่ไว้ (3)จัดรูปแบบการทำงานและบริหารบุคลากร (4)เตรียมบุคลากรให้พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงความต้องการด้านขีดความสามารถและอัตรากำลังบุคลากร 5.2ข(1)   1.1 ข. บรรยากาศการทำงานของบุคลากร (1)สร้างความมั่นใจด้านสุขภาพสวัสดิภาพของบุคลากรและความสะดวกในการเข้าถึงสถานที่ทำงานของบุคลากร หมวด6 (2)สนับสนุนบุคลากรโดยจัดให้มีการบริการ สิทธิประโยชน์และนโยบาย 7.3 หน้า 6

5.1 สภาพแวดล้อมของบุคลากร (Workforce Environment) โรงเรียนมีวิธีการอย่างไรในการสร้าง สภาพแวดล้อมที่เกื้อหนุนให้บุคลากรทำงานอย่าง มีประสิทธิผล ขีดความสามารถและอัตรากำลังบุคลากร (Workforce capability and Capacity ) ข. บรรยากาศการทำงานของบุคลากร(Workforce Climate ) หน้า 7

5.1 สภาพแวดล้อมของบุคลากร (Workforce Environment) หน้า 8 ขีดความสามารถและอัตรากำลังบุคลากร (Workforce capability and Capacity ) (1) ขีดความสามารถและอัตรากำลัง (Capability and Capacity) โรงเรียนมีวิธีการอย่างไร ในการประเมินความต้องการด้านขีดความสามารถและอัตรากำลังบุคลากร รวมทั้งการประเมินทักษะสมรรถนะ คุณวุฒิ (Certification) และจำนวนบุคลากรที่ต้องการในแต่ละระดับ (Staffing Levels) (2)บุคลากรใหม่ (New Workforce Members) โรงเรียนมีวิธีการอย่างไรในการสรรหา ว่าจ้าง บรรจุ และรักษาบุคลากรใหม่ไว้โรงเรียนทำให้มั่นใจได้อย่างไรว่าบุคลากรเป็นตัวแทนที่สะท้อนให้เห็นถึงความหลากหลายทางมุมมอง(Ideas) วัฒนธรรม และวิธีคิด (Thinking)ของชุมชน ของบุคลากรที่โรงเรียนจ้าง และชุมชนของนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หน้า 8

หน้า 9 (3) ความสำเร็จในงาน(Work Accomplishment) โรงเรียนมีวิธีการอย่างไรในการจัดรูปแบบการทำงาน และบริหารบุคลากร เพื่อให้ งานของโรงเรียนบรรลุผลสำเร็จ ใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่จากสมรรถนะหลัก(Core Competencies)ของโรงเรียน ส่งเสริม สนับสนุนการมุ่งเน้นนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีผลการดำเนินการที่เหนือกว่าความคาดหมาย (4)การจัดการการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร (Workforce Change Management) โรงเรียนมีวิธีในการเตรียมบุคลากร ให้พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงความต้องการ ด้านขีดความสามารถและอัตรากำลังบุคลากร อย่างไร บริหารบุคลากร บริหารความต้องการของบุคลากร และของโรงเรียนเพื่อทำให้มั่นใจว่าสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง ป้องกันการลดจำนวนของบุคลากร และลดผลกระทบ หากเกิดกรณีดังกล่าว การเตรียมการและบริหารในช่วงที่มีการเพิ่มจำนวนของบุคลากร การเตรียมบุคลากรสำหรับการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างของโรงเรียนและระบบงานเมื่อจำเป็น หน้า 9

(1) สภาพแวดล้อมของการทำงาน ((Workforce Environment) ข. บรรยากาศการทำงานของบุคลากร(Workforce Climate ) (1) สภาพแวดล้อมของการทำงาน ((Workforce Environment) โรงเรียนดำเนินการอย่างไรเกี่ยวกับการสร้างความมั่นใจด้านสุขภาพสวัสดิภาพของบุคลากรและความสะดวกในการเข้าถึงสถานที่ทำงานของบุคลากร ตัววัดและเป้าประสงค์ในการปรับปรุงปัจจัยด้าน สภาพแวดล้อมในการทำงานมีอะไรบ้าง มีความแตกต่างของปัจจัย ตัววัด หรือเป้าหมายที่ สำคัญอะไรบ้างสำหรับสภาพแวดล้อมของสถานที่ ทำงานที่แตกต่างกัน หน้า 10

(2) นโยบายและสิทธิประโยชน์ (Workforce Benefits and Policies) โรงเรียนสนับสนุนบุคลากรโดยจัดให้มีการ บริการ สิทธิประโยชน์ และนโยบาย อย่างไร โรงเรียนออกแบบการบริการ สิทธิประโยชน์และนโยบายให้เหมาะสมกับ ความต้องการของบุคคลที่หลากหลาย ตามความแตกต่างของกลุ่มและ ประเภทของบุคลากรอย่างไร สิทธิประโยชน์ที่สำคัญที่โรงเรียนจัดให้บุคลากรมี อะไรบ้าง หน้า 11

5.2 ความผูกพันของบุคคลากร:โรงเรียนมีวิธีการอย่างไรในการสร้างความผูกพันกับบุคลากรเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมการทำงานที่มีผลการดำเนินการที่ดี P1ข(3) ความผูกพันของบุคลากร (1) เสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เกิดการสื่อสารที่เปิดกว้าง การทำงานที่ให้ผลการดำเนินการที่ดี และบุคลากรที่มีความผูกพัน 1.1   (2) กำหนดปัจจัยสำคับที่ส่งผลต่อความผูกพัน ของบุคลากร 5.1ข   (3) ประเมินความผูกพันของบุคลากร 2.2   (4) ระบบการจัดการผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรสนับสนุน ให้เกิดการทำงานที่ให้ ได้ผลการดำเนินการที่ดีและความผูกพันของ บุคลากร ข. การพัฒนาบุคลากรและผู้นำ หมวด7   (1)ระบบการเรียนรู้และพัฒนาการ สนับสนุน ความต้องการของโรงเรียนและการพัฒนา ตนเองของบุคลากรผู้บริหารและผู้นำ (2) ประเมินประสิทธิผลและประสิทธิภาพของ ระบบการเรียนรู้ หมวด1   (3) จัดการความก้าวหน้าในอาชีพการงานของ โรงเรียน หน้า 12 7.3

5.2 ความผูกพันของบุคคลากร โรงเรียนมีวิธีการอย่างไรในการสร้างความ ผูกพันกับบุคลากร เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมการทำงานที่มีผล การดำเนินการที่ดี ก. ความผูกพันและผลการปฏิบัติงานของบุคลากร (Workforce Engagement and Performance) ข.การพัฒนาบุคลากรและผู้นำ (Workforce and Leader Development) หน้า 13

5.2 หน้า 14 ก. ความผูกพันและผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ความผูกพันของบุคคลากร:โรงเรียนมีวิธีการอย่างไรในการสร้างความผูกพันกับบุคลากรเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมการทำงานที่มีผลการดำเนินการที่ดี ก. ความผูกพันและผลการปฏิบัติงานของบุคลากร (Workforce Engagement and Performance) (1) วัฒนธรรมองค์กร (Organization Culture) โรงเรียนมีวิธีการอย่างไรในการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เกิดการสื่อสาร ที่เปิดกว้างการทำงานที่ให้ผลการดำเนินงานที่ดีและบุคลากรที่มีความผูกพัน โรงเรียนทำให้มั่นใจได้อย่างไรว่าวัฒนธรรมองค์กร ได้ใช้ประโยชน์ จากความหลากหลายของมุมมอง (Ideas) วัฒนธรรมและวิธีคิด (Thinking) ของบุคลากร โรงเรียนมีวิธีการอย่างไรในการให้อำนาจการ ตัดสินใจแก่บุคลากร หน้า 14

(2) ปัจจัยขับเคลื่อนความผูกพัน (Drivers of Engagement) โรงเรียนมีวิธีการอย่างไรในการกำหนดปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันของบุคลากร วิธีการกำหนดปัจจัยที่ขับเคลื่อนเหล่านี้แตกต่างกันอย่างไร (3) การประเมินความผูกพัน (Assessment of Engagement) โรงเรียนประเมินความผูกพันของบุคลากรอย่างไร มีวิธีการและตัววัด ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการอะไรบ้าง ที่ใช้ในการประเมิน ความผูกพันและความพึงพอใจของบุคลากร วิธีการและตัววัดเหล่านี้มีความแตกต่างกันอย่างไรในแต่ละกลุ่มและส่วนของบุคลากร โรงเรียนใช้ตัวชี้วัดอื่นๆ เช่น อัตราการคงอยู่ของบุคลากร การขาดงาน การร้องทุกข์ ความปลอดภัยและผลิตภาพ เพื่อประเมินและปรับปรุงความผูกพันของบุคลากรอย่างไร หน้า 15

การบรรลุผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการ (4) การจัดการผลการปฏิบัติงาน (Performance Management) ระบบการจัดการผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสนับสนุน ทำให้เกิดการทำงาน ที่ให้ผลการดำเนินการที่ดีและความผูกพันของบุคลากรอย่างไร ระบบจัดการผลการปฏิบัติงานของบุคลากร พิจารณาถึงการบริหารค่าตอบแทน การให้รางวัล การยกย่องชมเชยและการสร้างแรงจูงใจอย่างไร ระบบการจัดการผลการปฏิบัติงานของบุคลากร เสริมสร้างในเรื่องต่อไปนี้ได้อย่างไร การยอมรับความเสี่ยงที่ผ่านการประเมินผลได้ผลเสียอย่างรอบด้าน (Intelligent Risk Taking) ที่นำไปสู่การสร้างนวัตกรรม การมุ่งเน้นนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การบรรลุผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการ หน้า 16

หน้า 17 ข.การพัฒนาบุคลากรและผู้นำ (Workforce and Leader Development) (1) ระบบการเรียนรู้และการพัฒนา (Learning and Development System) ระบบการเรียนรู้และการพัฒนา สนับสนุนความต้องการของโรงเรียนและการพัฒนาตนเองของบุคลากร ผู้บริหาร และผู้นำระบบการเรียนรู้และการพัฒนาของโรงเรียนดำเนินการในเรื่องต่อไปนี้อย่างไร • พิจารณาถึงสมรรถนะหลักขององค์กร (Core Competencies) ความท้า ทายเชิงกลยุทธ์ และการบรรลุผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการ ทั้งในระยะสั้น และระยะยาวของโรงเรียน • สนับสนุนการปรับปรุงผลการดำเนินการและ การเปลี่ยนแปลงของโรงเรียนตลอดจนการสร้าง นวัตกรรม • สนับสนุนจริยธรรมและปฏิบัติงาน อย่างมีจริยธรรม หน้า 17

หน้า 18 • ปรับปรุงการมุ่งเน้นนักเรียนและผู้ มีส่วนได้ส่วนเสีย • ทำให้มั่นใจถึงการถ่ายโอน ความรู้จากบุคลากรที่ลาออก หรือ เกษียณอายุราชการ • ทำให้มั่นใจว่ามีการผลักดันให้ใช้ความรู้ และทักษะใหม่ในการปฏิบัติงาน หน้า 18

การเชื่อมโยงผลลัพธ์การเรียนรู้และการพัฒนา กับผลการประเมินความผูกพัน (2) ประสิทธิผลของการเรียนรู้และการพัฒนา (Learning and Development Effectiveness) โรงเรียนมีวิธีการประเมินประสิทธิผลและประสิทธิภาพของ ระบบการเรียนรู้และ การพัฒนาอย่างไร โรงเรียนมีวิธีการดำเนินการในเรื่อง ต่อไปนี้อย่างไร การเชื่อมโยงผลลัพธ์การเรียนรู้และการพัฒนา กับผลการประเมินความผูกพัน ของบุคลากรกับผลลัพธ์ที่สำคัญที่รายงานในหมวด7 การใช้ผลความเชื่อมโยงนี้เพื่อระบุโอกาสในการปรับปรุงความผูกพันของบุคลากรการเรียนรู้และพัฒนา หน้า 19

(3) ความก้าวหน้าในวิชาชีพ (Career Progression) โรงเรียนมีวิธีการอย่างไรในการจัดการความก้าวหน้าในวิชาชีพของโรงเรียน โรงเรียนมีวิธีการอย่างไรในการจัดการความก้าวหน้าในวิชาชีพของบุคลากรในโรงเรียนโรงเรียนมีวิธีการอย่างไรในการวางแผนการสืบทอดตำแหน่งของผู้บริหารและผู้นำ หน้า 20

ตัวอย่าง กระบวนการบริหารขีดความสามารถและอัตรากำลัง  Prepare clinical trial workforc e plan budget Strategic plan (Fig.2.2-1) Consolidate all word plans Continually assess workforce Capability, Capacity & flexibility Request staff in Center core budget Request staff in Clinical trial budget (Fig.5.1-2) Is Existing job descriptio n Available ? Position analysis & description (Fig.5.1-3) NO Brinm recruits Yes Fig.5.1-3 Select hiring agency & submit job request VA recruits หน้า 21

ตัวอย่าง การจัดการสุขภาพ ความปลอดภัยและสวัสดิภาพของพนักงาน

ตัวอย่าง Figure 5.1 Process for identifying TM Engagement and Satisfaction Factors

ตัวอย่าง Performance Management System

ตัวอย่าง Learning and Development System

จบการนำเสนอ หน้า 22