เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
แนวทางการบริหารงบประมาณ
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
การปรับพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนและการส่งงาน ของนักเรียนห้องการท่องเที่ยว 3/1 รายวิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ นางสาวสุคนทิพย์ ทองจันทร์แก้ว สถานศึกษาที่สังกัด.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
วิชาโครงการ รหัส & ระดับ ปวช. และ ปวส.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
เกณฑ์การประเมินเพื่อ เลื่อนระดับสูงขึ้น
ชุมชนปลอดภัย.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
Workshop Introduction
1.
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
วิศวกรรมอุตสาหการ (Industrial Engineering) งานของวิศวกรอุตสาหการครอบคลุมตั้งแต่การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจัดการระบบข้อมูล การควบคุมการใช้พลังงาน.
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
Continuous Quality Improvement
SMS News Distribute Service
พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน(ฉบับที่ 2 ) พ.ศ ให้ใช้
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
เรื่องเพื่อทราบ : ปฏิทินสรุปผลตรวจราชการปี รอบ 2/2561
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
รายงานผลการดำเนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน

จัดทำโดย 1. นาย กิตติศักดิ์ อิกำเนิด วศ.บ.อส.4.4 รหัส 55143404004-6 2. นาย ชนะภัย สมปินตา วศ.บ.อส.4.4 รหัส 55143404006-1 3. นาย อิษเรศ ยารวง วศ.บ.อส.4.4 รหัส 55143404029-3 นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย อาจารย์ที่ปรึกษา 1.อาจารย์พีรวัตร ลือสัก 2.อาจารย์อมรรัตน์ ปิ่นชัยมูล

ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หัวข้อการนำเสนอ ที่มาและความสำคัญ 1 2 ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3 ขั้นตอนการดำเนินงาน

ที่มาและความสำคัญ เหล็กกล้าที่นำมาใช้ในอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ผ่านกระบวนการอบชุบความร้อนด้วยกระบวนการอบอ่อน หรือทำให้แข็งขึ้นด้วยกระบวนการชุบแข็ง การชุบแข็งเหล็กกล้าอาจทำทั้งการชุบแข็งตลอดชิ้นงาน หรือการชุบแข็งเฉพาะที่ผิว วัสดุโลหะกลุ่มเหล็กที่นิยมนำมาชุบแข็งได้แก่ เหล็กกล้าคาร์บอนต่ำ เหล็กกล้าคาร์บอนปานกลาง และเหล็กกล้าคาร์บอนสูง ในกระบวนการการชุบแข็งเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติของเหล็กกล้าคาร์บอนเพื่อเพิ่มด้านความแข็งทนต่อการเสียดสี การกด การทดต่อการขีดขวนโดยมีวิธีการปรับปรุงคุณสมบัติ มีตัวกลางการชุบแข็งหลายตัวกลางได้แก่ น้ำ น้ำเกลือ น้ำผสมน้ำแข็ง น้ำมัน และอากาศเป็นต้น ตัวกลางในการชุบแข็งบางครั้งมีสารตัวการบางชนิดเหมาะสมกว่าสารตัวกลางบางชนิดเช่น เหล็กคาร์บอนปานกลางที่ผ่านกระบวนการชุบแข็งด้วยน้ำมันให้ค่าความแข็งน้อยกว่าการชุบแข็งด้วยน้ำเป็นต้น ดังนั้นผู้วิจัยจึงมุ่งเน้นศึกษาตัวกลางที่เหมาะกับเหล็กแต่ละชนิดโดยทำการทดลองการชุบแข็งตามตัวกลางการชุบแข็งแต่ละชนิดคือ น้ำ น้ำเกลือ น้ำผสมน้ำแข็ง น้ำมัน และอากาศหลังจากนั้นทำการทดสอบคุณสมบัติทางกลเช่น การทดสอบความแข็ง การทดสอบความล้า และการทดสอบแรงกระแทกของเหล็กแต่ละชนิดที่ทำการชุบแข็งเพื่อหาตัวกลางที่เหมาะสมกับเหล็กแต่ละชนิด

วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อศึกษาตัวกลางการชุบแข็งที่เหมาะสมของเหล็กกลุ่ม เหล็กกล้าคาร์บอนปานกลาง และ เหล็กกล้าคาร์บอนสูง เพื่อศึกษาคุณสมบัติทางกลจากการทดสอบวัสดุจากกระบวนการชุบแข็ง

ขอบเขตของโครงการ ตัวกลางในการชุบแข็งคือ น้ำ น้ำเกลือ น้ำผสมน้ำแข็ง(1:1) น้ำมัน และอากาศ วัสดุเหล็กในกลุ่มเหล็กกล้าคาร์บอนปานกลาง และคาร์บอนสูง ทำการทดสอบคุณสมบัติทางกลด้าน ความล้า ความแข็ง และแรงกระแทก ทำการทดสอบคุณสมบัติทางด้านความแข็งแบบ วิธี (Rockwell Hardness Testing Method) ใช้กระบวนการออกแบบการทดลองแบบ full factorial

ขอบเขตของโครงการ (ต่อ) ใช้กระบวนการออกแบบการทดลองแบบ full factorial จำนวนชิ้นงานที่ใช้ในการทดลองการทดสอบ ความแข็งขนาดขนาดตามมาตรฐานการทดสอบ จำนวน 243 ชิ้น จำนวนชิ้นงานที่ใช้ในการทดลองการทดสอบ ความล้าขนาดตามมาตรฐานการทดสอบ จำนวน 243 ชิ้น

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ สามารถประยุกต์การวิเคราะห์การทดลองการศึกษาด้านต่างๆโดยใช้ทฤษฎีการออกแบบการทดลอง สามารถเรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับตัวกลางการชุบแข็งต่างๆ

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง บทความ การชุบแข็ง การศึกษาการชุบแข็งนำมาใช้ในการศึกษาตัวกลางการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอนเพื่อให้ทราบถึงคุณสมบัติและโครงสร้างหลังทำการชุบแข็ง การทดสอบความแข็ง การทดสอบความแข็งนำมาใช้ทดสอบความแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอนหลังจากทำการชุบแข็งที่ผ่านสารตัวกลางต่างๆเพื่อทราบค่าความแข็งที่เหมาะสมที่สุด

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) บทความ การทดสอบความล้า การทดสอบความล้านำมาใช้ทดสอบความล้าของเหล็กกล้าคาร์บอนหลังจากทำการชุบแข็งที่ผ่านสารตัวกลางต่างๆเพื่อทราบถึงการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอย่างถาวร ภายในชิ้นงาน ตลอดจนเกิดรอยร้าวและแตกหัก หลังจากรับแรงสลับไปมาจำนวนหนึ่ง การทดสอบการกระแทก การทดสอบการกระแทกนำมาใช้ทดสอบความล้าของเหล็กกล้าคาร์บอนหลังจากทำการชุบแข็งที่ผ่านสารตัวกลางต่างๆเพื่อทราบถึงค่าความแข็งแรงการกระแทกรวมถึงความสามารถในการรับแรงกระแทกได้สูงสุด

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) บทความ การออกแบบการทดลอง การออกแบบการทดลองเป็นเทคนิคทางสถิตชั้นสูงที่ใช้ในการปรับค่าสภาวะของกระบวนการเพื่อให้ได้ผลตอบสนองเป็นไปตามที่ต้องการของการศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน สถิติพื้นฐาน คำนวณทางสถิติ เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างความแข็ง และความทนต่อแรงกระแทกกับตัวกลางที่ใช้ในการชุบแข็ง และอุณหภูมิที่ใช้ในการอบชุบรวมทั้งศึกษาโครงสร้างของเหล็กที่ผ่านการชุบแข็ง

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ลำดับ ชื่องานวิจัย การชุบแข็ง การทดสอบความแข็ง การทดสอบความล้า การทด- สอบแรงกระแทก สถิติพื้นฐาน การทดลอง 1. การศึกษาอิทธิพลของตัวแปรด้านการชุบแข็งของเหล็กกล้าเครื่องมืองานเย็น 2. การศึกษาเงื่อนไขของตัวแปรในการอบชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอนรอบสูงสำหรับการผลิตเอ็นมิลล์ (End mill) 3. อิทธิพลของอุณหภูมิและเวลาอบชุบแข็งของเหล็ก AISI 1010 4. ผลของการอบชุบต่อค่าความแข็งและการสึกหรอของเหล็กหล่อโครเมียมสูง 5. การศึกษาตัวแปรในการอบชุบที่มีผลต่อสมบัติเชิงกลและโครงสร้างจุลภาค

แผนการดำเนินงาน ปี พ.ศ. 2558 2559 เดือน วิธีการดำเนินงาน ส.ค. ก.ย.   ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. 1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ การชุบแข็ง 2. รวบรวมข้อมูลที่ได้ จากการศึกษา 3. ออกแบบตารางการ ทดลอง 4. ดำเนินการทดลองชุบ แข็งและทดสอบ คุณสมบัติทางกล 5. บันทึกผลการทดสอบ 6. สรุปผลการทดสอบ และทดสอบ

วิธีการดำเนินงาน

วิธีการดำเนินงาน (ต่อ)

จบการนำเสนอแล้วครับ ...