PM4 งานคุ้มครองผู้บริโภค สิ่งแวดล้อม และควบคุมโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ โครงการพัฒนากระบวนการทำงาน (Re- Process) ประเภทความร่วมมือระหว่างสำนัก.
Advertisements

สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม จังหวัดพัทลุง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง จังหวัดพัทลุงพื้นที่ ๒, ๑๔๐, ๓๐๖ ไร่ ประชากร ๕๑๐, ๔๗๐ คน แบ่งการปกครอง ๑๑ อำเภอ.
1. การแนะแนวและระบบช่วยเหลือ
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
สรุปผลการนำเสนอแผนงานโครงการ ของ คปสอ. ปีงบประมาณ 2557.
Testing & Assessment Plan Central College Network I.
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ รอบที่ 1/2558 คณะที่ 4 ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ.
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ .... (รอบ ... เดือน)
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
ทิศทางการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2561
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
Cr อ.เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
แนวทางการให้บริการวัคซีน Rota
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
27 ปี งานกวาดล้างโปลิโอ รณรงค์ OPV ประจำปี
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
แนวทาง การให้บริการวัคซีนโปลิโอ
วาระประชุมเดือนกันยายน 2559
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
ขั้นตอนการดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการเลื่อนเงินเดือน
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
กลุ่มที่ 3 : Scenario 3.
วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การพัฒนาระบบบริหารจัดการ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม นางสุนิสา บุญยาทิษฐาน พัฒนาการจังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม 2560.
แนวทางการให้บริการวัคซีนโปลิโอ
โดย ภญ. ปิยะนาถ เชื้อนาค สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ
รูปแบบมาตรฐานการเขียนโครงการ
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน กลุ่มวัยเรียน
การเก็บกลับและทำลาย Trivalent OPV
“การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว” ผู้ช่วยจัดหางานจังหวัดนครสวรรค์
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การพัฒนาคุณภาพข้อมูลสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว
การขับเคลื่อนการกวาดล้างโรคโปลิโอ ในฉากสุดท้ายของประเทศไทย
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
Thailand 4.0 บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software).
นายแพทย์ธนรักษ์ ผลิพัฒน์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560
การกำจัดขยะและสารเคมี
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
สรุปงาน กศน.อำเภอไพศาลี ประจำเดือน มกราคม 2559
ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช
การเก็บกลับและทำลาย Trivalent OPV
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
อุทธรณ์,ฎีกา.
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
การปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑ จังหวัดสกลนคร ครั้งที่ ๑
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
การพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลัก ระดับอำเภอ ปี
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

PM4 งานคุ้มครองผู้บริโภค สิ่งแวดล้อม และควบคุมโรค วันที่ 8 ธันวาคม 2558

สภาพปัญหาที่ส่งผลต่อสุขภาพ มีการใช้สารเคมีภาคการเกษตร มากขึ้น (เกษตรกร/ผู้รับจ้าง/ปชช.) อาหารไม่ปลอดภัยต่อการบริโภค

สภาพปัญหาที่ส่งผลต่อสุขภาพ ทิศทาง/แนวโน้ม เป็นเมืองอุตสาหกรรมชุมชนแออัด/หนาแน่น 2. ปัญหาสังคม(ยาเสพติด,อาชญากรรม ฯ) ปัญหาแรงงานต่างด้าว/เคลื่อนย้าย อุบัติเหตุ/ภัยพิบัติ ขยะ สิ่งแวดล้อม ฯลฯ

การจัดระบบบริการสนับสนุน “ที่เที่ยว ที่กิน ที่พัก บริการ ความปลอดภัย” “ที่เที่ยว ที่กิน ที่พัก บริการ ความปลอดภัย” ระบบสาธารณสุข - ตลาด, อาหาร, ส้วม - ป้องกันควบคุมโรคสำคัญ ฯลฯ 2. ระบบบริการสุขภาพ - คุณภาพมาตรฐานบริการ - ธุรกิจบริการสุขภาพ - ภาษา

อยุธยานครประวัติศาสตร์ น่าเที่ยว น่าอยู่ ก้าวสู่สากล วิสัยทัศน์จังหวัด อยุธยานครประวัติศาสตร์ น่าเที่ยว น่าอยู่ ก้าวสู่สากล ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 2 3 พัฒนาคุณภาพ แหล่งท่องเที่ยว และบริการ สู่มาตรฐานสากล พัฒนาเมือง และชุมชนให้น่าอยู่ พัฒนา ภาคการผลิต การค้าและบริการ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

วาระสำคัญจังหวัด (Agenda) ด้านเศรษฐกิจ เพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร เกษตรปลอดภัย มาตรฐานการผลิต (GMP) พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่สากล มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน อาหารปลอดภัย ส้วม/สิ่งแวดล้อม ระบบบริการสุขภาพ เพิ่มมูลค่าพัฒนาการท่องเที่ยว

วาระสำคัญจังหวัด (Agenda) บริหารจัดการสิ่งแวดล้อม อยุธยาเมืองสะอาด ด้านบริหารจัดการ บริหารจัดการสิ่งแวดล้อม อยุธยาเมืองสะอาด ให้องค์ความรู้อปท. ร่วมจัดการ/ผลกระทบจากสิ่งแวดล้อม

งานคุ้มครองผู้บริโภค กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค

ยาปลอดภัย(เภสัชกรรมปฐมภูมิ) แผนงาน ปี2559 ยาปลอดภัย(เภสัชกรรมปฐมภูมิ) โฆษณา อาหารปลอดภัย Antibiotic Smart Use

ยาปลอดภัย พบการปนเปื้อน สเตียรอย์ ลดลง สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังยาไม่เหมาะสมในชุมชน สร้างชุมชนต้นแบบด้านยาปลอดภัยนำร่อง ร้อยละ 25 ของตำบล ค้นประชาชนที่ได้รับผลข้างเคียงจากการใช้ยาสเตียรอยด์ (CKD Clinic) และส่งต่อเข้ารับการรักษาที่สถานพยาบาล พบการปนเปื้อน สเตียรอย์ ลดลง

ประกวดยาปลอดภัย สนับสนุน ชุดตรวจสเตียรอยด์และไวนิล 1 ตำบล/อำเภอ 1 ตำบล ต่อ อำเภอ เพิ่ม Comsumer Protection Health Literacy ลดปัญหาได้อย่างเห็นผล ค้นหาผู้ป่วยที่ได้รับอันตรายจากการใช้ยา และส่งต่อ Innovation สนับสนุน ชุดตรวจสเตียรอยด์และไวนิล 1 ตำบล/อำเภอ

โฆษณา เฝ้าระวัง สร้างเครือข่าย ดำเนินการตามกฏหมาย

เน้น ตรวจน้ำ อาหาร ในศูนย์เด็กเล็ก บูรณาการในอบท อาหารปลอดภัย เน้น ตรวจน้ำ อาหาร ในศูนย์เด็กเล็ก บูรณาการในอบท น้ำมันทอดซ้ำ ยาฆ่าแมลง

เป้า วัดระดับรพช. และรพสต Antibiotic Smart Use เป้า วัดระดับรพช. และรพสต ร้อยละ 40

กลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย

ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ Goal : ประชาชนบริโภคอาหารและน้ำที่ปลอดภัย output : 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 2. ผู้ผลิตน้ำประปาผลิตน้ำประปาที่ได้มาตรฐานน้ำประปาดื่มได้ 3. ประชาชนมีความรู้ในการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง และเข้าถึงการ จัดบริการอาหารและน้ำที่สะอาดปลอดภัย outcome : 1.ประชาชนได้รับการป้องกันและควบคุมปัจจัยคุกคามด้านความปลอดภัย ของอาหารและน้ำบริโภค 2. ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยจากสถานประกอบการด้าน อาหารที่ได้มาตรฐาน 3. ประชาชนดื่มน้ำสะอาดเพียงพอ 4. ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง (กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ) 16

ประเด็นยุทธศาสตร์ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ Strategic Goal : เพื่อป้องกันและควบคุมปัจจัยที่คุกคามสุขภาพและ คุ้มครองสิทธิของประชาชนด้านความปลอดภัยของอาหารและน้ำบริโภค เหตุผลในการกำหนดเป็นประเด็นยุทธศาสตร์ 1. สอดคล้องกับบทบาทกรมอนามัยในการขับเคลื่อนนโยบายอาหารปลอดภัย 2. เป็นงานที่ต้องบูรณาการกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุข 3. สนับสนุนแนวนโยบายแห่งรัฐในการกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4. สนับสนุนการดำเนินการตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 5. สอดคล้องกับกรอบยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทยของ คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ ในยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพและความปลอดภัย อาหาร 17

แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ประเด็นยุทธศาสตร์ ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ ปี พ.ศ. 2556-2559 ป้องกันและควบคุมปัจจัยที่คุกคามสุขภาพและคุ้มครองสิทธิของประชาชนด้านความปลอดภัยของอาหารและน้ำบริโภค 1.ประชาชนได้รับการป้องกันและควบคุมปัจจัยคุกคามด้านความปลอดภัยของอาหารและน้ำบริโภค KPI : อาหารและน้ำบริโภคมีการปนเปื้อนลดลง 2.ประชาชนได้รับบริการจากสถานประกอบการด้านอาหารและน้ำบริโภคที่ได้มาตรฐาน KPI : สถานประกอบการด้านอาหารและน้ำบริโภคได้มาตรฐานเพิ่มขึ้น ประชาชน 3.อปท.มีระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำที่มีคุณภาพ KPI : จำนวน อปท.ที่มีระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 4.หน่วยงานส่วนกลาง (กสธ.) มีส่วนร่วมสนับสนุนการดำเนินงาน KPI : จำนวนหน่วยงานที่บูรณาการดำเนินงาน 5.หน่วยงานในสังกัดกสธ.ระดับเขตและจังหวัดมีส่วนร่วมสนับสนุนการดำเนินงาน KPI : จำนวนหน่วยงานที่ขับเคลื่อน แนะนำ ให้คำปรึกษา ถ่ายทอด 6.ภาคีภาครัฐ ธุรกิจเอกชน และประชาสังคมมีส่วนร่วมและสนับสนุนการจัดการและดำเนินงาน KPI : จำนวนภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมในการจัดการและดำเนินงานด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 7.เครือข่ายสื่อมวลชน สื่อสังคมสามารถสื่อสารข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ KPI : มีการประชาสัมพันธ์ด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ภาคีเครือข่าย 9.มีระบบการเฝ้าระวังและเตือนภัย การสื่อสารความเสี่ยง KPI : จำนวนการเตือนภัย / จำนวนรายงานสถานการณ์การเฝ้าระวังด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 8.มีการพัฒนานโยบายสาธารณะและข้อเสนอเชิงนโยบาย รวมทั้งการเสริมอำนาจภาคประชาชน KPI : จำนวนนโยบายและข้อเสนอเชิงนโยบาย 12.มีระบบอำนวยความยุติธรรม KPI : ความสำเร็จของการจัดการเรื่องอุทธรณ์ 10.มีระบบพัฒนาบุคลากรด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ KPI : บุคลากรมีความรู้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด KPI : จำนวนหลักสูตร 11.มีระบบการพัฒนาองค์ความรู้และการจัดการความรู้ KPI : จำนวนความรู้ที่นำไปใช้ KPI : จำนวนความร็ที่เกิดขึ้น กระบวนการ 13.การสื่อสารสาธารณะ KPI : จำนวนชุดความรู้ที่สื่อสาร 16.มีระบบการประกันคุณภาพ KPI : จำนวน อปท. ที่เข้าร่วมระบบการประกันคุณภาพ 14.มีระบบติดตาม และประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ KPI : รายงานสถานการณ์ของพื้นที่ 15.มีระบบการตรวจวิเคราะห์ทางวืทยาศาสตร์ที่ได้มาตรฐาน KPI : จำนวนวิธีตรวจวิเคราะห์ที่ได้มาตรฐาน KPI : จำนวนตัวอย่างที่ได้รับการตรวจ 17.บุคลากรกรมอนามัยมีสมรรถนะด้านวิชาการและการจัดการ KPI : จำนวนบุคลากรของกรมอนามัยที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ 18.มีระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศที่ถูกต้อง ทันสมัย เข้าถึงง่าย KPI : ระบบฐานข้อมูลสุขาภิบาลอาหารและน้ำที่ถูกต้อง ทันสมัย 19.มีโครงสร้างและอัตรากำลังที่เหมาะสม KPI : มีแผนพัฒนาโครงสร้างอัตรากำลังผู้รับผิดชอบงานสุขาภิบาลอาหารและน้ำ ของกรมอนามัย พื้นฐาน 18

ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายประเด็นยุทธศาสตร์ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ 2556 2557 2558 2559 1. สถานประกอบการด้านอาหารและน้ำบริโภคได้มาตรฐานเพิ่มขึ้น 1.1 ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้มาตรฐาน CFGT ร้อยละ 80 1.2 ตลาดประเภทที่ 1 ได้มาตรฐานตลาดสด น่าซื้อ 1.3 ระบบประปาภูมิภาคผ่านการรับรองมาตรฐานน้ำประปาดื่มได้ 60 70 90

ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายประเด็นยุทธศาสตร์ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ 2556 2557 2558 2559 1.4 ระบบประปาเทศบาลผ่านการรับรองมาตรฐานน้ำประปาดื่มได้ ร้อยละ 10 20 30 40 1.5 ระบบประปาหมู่บ้านผ่านการรับรองมาตรฐานน้ำประปาดื่มได้ 1 2 3 4 2. จำนวน อปท.ที่มีระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารระดับพื้นฐาน แห่ง 48 3. จำนวน อปท.ที่มีระบบการจัดบริการน้ำบริโภคระดับพื้นฐาน

ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายประเด็นยุทธศาสตร์ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ 2555 2556 2557 2558 4. อาหารและน้ำบริโภคมีการปนเปื้อนลดลง ร้อยละของตัวอย่างอาหารและน้ำบริโภคที่มีการปนเปื้อน 40 35 30 25

Roadmap การดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารของจังหวัดอยุธยา ปี ๒๕๕๙ พัฒนาร้านอาหาร แผงลอย โรงอาหาร ได้มาตรฐาน CFGT ๘๕ % ๑.มีการรณรงค์ ส่งเสริมความรู้ให้กับสถานประกอบการ ผ่านมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข ๒. มีการประชาสัมพันธ์สถานประกอบการผ่านมาตรฐาน ๓. มีการใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทนโฟมที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ ๔. เลิกใช้โฟมบรรจุอาหารอย่างน้อย ๓ เดือนติดต่อกัน ๘.ตรวจเยี่ยม/ติดตาม ร่วมคิด - ร่วมแก้ปัญหา ธค.๕๘-เมย.๕๙ ๖.การประกวด ๗.สรุปบทเรียน เมย.๕๙ ผู้ประสานงาน กลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย สสจ.พระนครศรีอยุธยา ๑. นางโชติมา วนสินธุ์ โทร.๐ ๓๕๒๔ ๑๓๐๒ ต่อ/๑๑๖ มือถือ ๐๘๑๔๕๘๖๒๓๗ ๒. นายคมกฤษ บัวพิมพ์ มค.-มีค.๕๙ ๕.การรณรงค์ลด ละ เลิกใช้โฟมบรรจุอาหาร Roadmap การดำเนินงานสุขาภิบาลอาหารของจังหวัดอยุธยา ปี ๒๕๕๙ มค.-มีค.๕๙ ๔.สร้างกระแส/ประชาสัมพันธ์/Social Media/ป้าย ๓.๒ ขอความร่วมมือ(การประชุมระดับอำเภอ) สถานประกอบการใน - หน่วยราชการ/รัฐวิสาหกิจ - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - สถาบันศึกษา - โรงพยาบาลเอกชน ๑.สนับสนุนการดำเนินงานสุขาภิบาลอาหาร (วัสดุ/อุปกรณ์/วิทยากร/สื่อประชาสัมพันธ์) ๒.ขยายภาคีเครือข่ายการลด ละ เลิกการ ใช้โฟมใส่อาหาร มค.๕๙ ๓.ขยายงาน/ ประสานเครื่อข่าย ๓.๑ ภาคบังคับ สถานประกอบการในสสอ./รพศ./รพท./รพช./รพ.สต.ทุกแห่ง ผ่าน CFGT ๑.สำรวจร้านอาหารและแผงลอย ๒.สำรวจโรงอาหารในโรงเรียน และศูนย์เด็กเล็ก ธค.๕๘ หน่วยงานสังกัด กสธ 22

Ayuttaya Say To No Foam องค์กร/หน่วยงานปลอดโฟมบรรจุอาหาร ๑๐๐% ๑. มีการรณรงค์ ส่งเสริมการลด ละ เลิก ใช้โฟม บรรจุอาหาร ๒. มีการบริหารและประชาสัมพันธ์ในหน่วยงาน ๓. มีการใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทนโฟมที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ ๔. เลิกใช้โฟมบรรจุอาหารอย่างน้อย ๓ เดือนติดต่อกัน ๘.ตรวจเยี่ยม/ติดตาม ร่วมคิด - ร่วมแก้ปัญหา ตค.๕๘-เมย.๕๙ ๖.มอบรางวัล/ประกาศ No Foam ๗.สรุปบทเรียน เมย.๕๙ ผู้ประสานงาน กลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย สสจ.พระนครศรีอยุธยา ๑. .นางสาวเสาวลักษณ์ สุวรรณภาค โทร.๐ ๓๕๒๔ ๑๓๐๒ ต่อ/๑๑๕ มือถือ๐๘๑๙๙๔๑๙๗๕ ๒. นางโชติมา วนสินธุ์ โทร.๐ ๓๕๒๔ ๑๓๐๒ ต่อ/๑๑๖ มือถือ๐๘๑๔๕๘๖๒๓๗ ตค.-ธค.๕๘ ๕.การรณรงค์ลด ละ เลิกใช้โฟมบรรจุอาหาร Roadmap ลด ละ เลิกใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนอยุธยา ปี ๒๕๕๙ ตค.-ธค.๕๘ ๔.สร้างกระแส/ประชาสัมพันธ์/Social Media/ป้าย ๓.๒ ภาคขอความร่วมมือ(กรมการจังหวัด) - หน่วยราชการ/รัฐวิสาหกิจ - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - สถาบันศึกษา - โรงพยาบาลเอกชน - ตลาด/ร้านอาหาร/แผงลอย ๒.ประชุมพัฒนาวิชาการ ภัยจากโฟมบรรจุอาหาร บรรจุภัณฑ์ทดแทนโฟม ลงนาม MOU /แถลงข่าวการรณรงค์ ธค.๕๘ ๓.ขยายงาน/ ประสานเครื่อข่าย ๓.๑ ภาคบังคับ สสจ./สสอ./รพศ./รพท./รพช./รพ.สต. ทุกแห่ง และ ศูนย์วิชาการสาธารณสุขทุกแห่ง ๑. สำรวจการใช้ภาชนะโฟม บรรจุอาหาร และลงนาม MOU ตค.๕๘ หน่วยงานสังกัด กสธ 23

พัฒนาร้านอาหารและร้าน OTOP ได้มาตรฐาน ๑๐๐% อร่อยกดไลท์ ใช่กดเลย พัฒนาร้านอาหารและร้าน OTOP ได้มาตรฐาน ๑๐๐% ในแหล่งท่องเที่ยว ๑.มีการรณรงค์ ส่งเสริมความรู้ให้กับสถานประกอบการ ผ่านมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข ๒. มีการประชาสัมพันธ์สถานประกอบการผ่านมาตรฐาน ๓. มีการใช้ผลิตภัณฑ์ทดแทนโฟมที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ ๔. เลิกใช้โฟมบรรจุอาหารอย่างน้อย ๓ เดือนติดต่อกัน ๘.ตรวจเยี่ยม/ติดตาม ร่วมคิด - ร่วมแก้ปัญหา ธค.๕๘-เมย.๕๙ ๖.มอบรางวัล/ประกาศ No Foam ๗.สรุปบทเรียน เมย.๕๙ มค.-มีค.๕๙ ๕.การรณรงค์ลด ละ เลิกใช้โฟมบรรจุอาหาร Roadmapการพัฒนาอาหารปลอดภัยเพื่อรองรับการท่องเที่ยวของจังหวัดอยุธยา ปี ๒๕๕๙ มค.-มีค.๕๙ ๔.สร้างกระแส/ประชาสัมพันธ์/Social Media/ป้าย ๓. ประสานภาคีเครือข่าย ๓.๑ ขอความร่วมมือสถานประกอบการใน พื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๓.๒ จัดกิจกรรมถนนอาหารปลอดภัยในแหล่งท่องเที่ยว ๑.ประชุมพัฒนาวิชาการกับสถานประกอบการ/การรณรงค์ ๒.คัดเลือกถนนอาหารปลอดภัย มค.๕๙ ๑.สำรวจร้านอาหารและ ร้านOtop (วัดท่าการร้อง) ธค.๕๘ 24

งานควบคุมโรคติดต่อ ปี 2559

ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ เขต จว. กรม ร้อยละของอำเภอ ที่สามารถควบคุมโรค ติดต่อที่สำคัญของ พื้นที่ได้ (DHF) 1.ร้อยละของอำเภอที่ สามารถควบคุมโรค ติดต่อที่สำคัญของ พื้นที่ได้ (DHF) 2.ลดอัตราป่วยตาย โรคไข้เลือดออกไม่เกิน ร้อยละ 0.11 1.อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ร้อยละ 12 (ระดับความสำเร็จของการ ดำเนินงานควบคุมโรคไข้เลือดออก) 2. อัตราป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ ลดลงจากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ร้อยละ 30 3.อัตราป่วยอุจจาระร่วงลดลง จากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 5

ไข้เลือดออก (DHF) มาตรการสำคัญ เป้าหมาย : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงจากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ร้อยละ 12 1. การป้องกัน ผลักดันให้เกิดความร่วมมือของเครือข่ายชุมชนและท้องถิ่นให้จัดการสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 2. การควบคุมโรค เน้นประสิทธิภาพในการควบคุมโรคของทีม SRRT และท้องถิ่น ป้องกันไม่ให้การระบาดเกิน 2 Gen. 3. ป้องกันการเสียชีวิต โดยให้มีการสนับสนุนคู่มือมาตรฐานการรักษาและจัดระบบแพทย์ที่ปรึกษา ระบบการส่งต่อ การสำรองเวชภัณฑ์ 4. สื่อสารประชาสัมพันธ์ ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อให้ประชาชนรู้จักวิธีการป้องกันตนเองและร่วมมือในการควบคุมโรค มาตรการสำคัญ

มาตรการจัดการไข้เลือดออก แบ่งตามระยะการเกิดโรค จำนวนผู้ป่วย(ราย) ก่อนฤดูกาลระบาด ฤดูกาลระบาด หลังฤดูกาลระบาด วิเคราะห์สถานการณ์และประเมินความเสี่ยงระดับพื้นที่ (จัดลำดับความสำคัญพื้นที่) ป้องกันโรคล่วงหน้า โดยการลดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย (6 ร.= โรงเรือน โรงเรียน โรงพยาบาล โรงธรรม โรงงาน โรงแรม ) สอบสวน+ควบคุมโรค เพื่อยับยั้งการแพร่เชื้ออย่างมีประสิทธิภาพ (ไม่ให้เกิด 2nd generation) การเตรียมพร้อมบุคลากร เครื่องมือ กระบวนการสร้างความร่วมมือของชุมชน การควบคุมการระบาดโดย SRRT เตรียมพร้อม ร.พ เพื่อการรักษา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่ปรึกษา DENGUE CORNER สำรองเวชภัณฑ์ เฝ้าระวังโรคในช่วงปลายปี เพื่อแจ้งเตือนการระบาด สรุปบทเรียนการดำเนินงาน สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ กว้างขวาง ประสาน เครือข่าย ทุกภาคส่วน มีเวลาทอง เพียง 2-3 เดือน เปลี่ยนพื้นที่เสี่ยงสูงเป็น ชุมชนปลอดลูกน้ำยุงลาย (HI<10,CI=0) มัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี (2553-2557) คาดการณ์ความชุกชุมยุงลาย

โรคไข้หวัดใหญ่ (Influenza) สถานการณ์ อัตราป่วย อันดับ 1 ของเขต อันดับ 6 ของประเทศ ( อัตราป่วยระดับเขต 73.73 , ประเทศ 85.35 ) จำนวนผู้ป่วย จ. พระนครศรีอยุธยา 1,708 ราย อัตราป่วย 212.54 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยตาย ๑ ราย อัตราตาย 0.12 ต่อแสนประชากร กลุ่มอายุที่พบสูงสุด คือกลุ่มอายุ 0-4 ปี (40%) อำเภอที่มีอัตราป่วยสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ อ.พระนครศรีอยุธยา อ.บางบาล และ อ.บางปะหัน

อัตราป่วยต่อแสนประชากรโรคไข้หวัดใหญ่จำแนกรายโซน ปี 2558 (1 มค. -4 ธค อัตราป่วยต่อแสนประชากรโรคไข้หวัดใหญ่จำแนกรายโซน ปี 2558 (1 มค.-4 ธค. 58)

ข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่จำแนกกลุ่มอายุ ปี 2558

โรคไข้หวัดใหญ่ (Influenza) กิจกรรมดำเนินการ 1. พัฒนาระบบคุณภาพบริการโรคติดเชื้อ ระบบทางเดินหายใจ 2. การวินิจฉัยโรคที่ถูกต้อง 3. ความครอบคลุมวัคซีน 4. ศูนย์เด็กเล็ก/รร.อนุบาลปลอดโรค 5. ระบบการเฝ้าระวังโรคและสื่อสารความ เสี่ยง

โรคอุจจาระร่วง (Diarrhoea) สถานการณ์ อัตราป่วย : สูงเป็นอันดับ 1 ของจังหวัดฯ จำนวนผู้ป่วย เท่ากับ 16,924 ราย อัตราป่วย 2129.12 ต่อแสนประชากร ( อัตราป่วยปี 2557 เท่ากับ 2673.35 ) อำเภอที่มีอัตราป่วยสูงสุด คือ อ.อุทัย อัตราป่วย 2850.47/แสนประชากร รองลงมา คือ อำพระนครศรีอยุธยา อัตราป่วย 2809.75/แสนประชากร อำเภอบางไทร อัตราป่วย 2678.24 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ

อัตราป่วยต่อแสนประชากรโรคอุจจาระร่วง จำแนกรายโซน ปี 2558 (1 มค. -4 ธค อัตราป่วยต่อแสนประชากรโรคอุจจาระร่วง จำแนกรายโซน ปี 2558 (1 มค.-4 ธค.58)

โรคอุจจาระร่วง ( Diarrhoea ) กิจกรรมดำเนินการ 1. ทบทวนแผนการรักษา/การวินิจฉัยโรค เครือข่ายบริการทุกระดับ 2. การรณรงค์กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ 3.รณรงค์สุขาภิบาลอาหารในโรงเรียนและ ศูนย์เด็กเล็ก 4.เฝ้าระวังสุขาภิบาลอาหาร /รณรงค์อาหาร ปลอดภัย/CFGT 5. ศูนย์เด็กเล็ก/โรงเรียนอนุบาลปลอดโรค 6. ระบบการเฝ้าระวังโรคและควบคุมโรค (SRRT)

การกวาดล้างโปลิโอ

ทำไมเด็กต้องรับวัคซีนโปลิโอชนิดฉีด (IPV) เพื่อปูพื้นการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสโปลิโอ ทั้ง 3 สายพันธุ์ ได้แก่ ชนิดที่ 1 , 2 และ 3 โดยฉีดให้ เด็กอายุ 4 เดือน เด็กอายุ 4 เดือน เป็นช่วงอายุที่เหมาะสม (ตามคำแนะนำ ของคณะอนุกรรมการสร้างเสริมฯ) สอดคล้องแผนระดับโลกของการกวาดล้างโปลิโอ (Polio Eradication and Endgame Strategic Plan 2013-2018)

ฉากสุดท้ายของการกวาดล้างโปลิโอ ไม่มีเชื้อโปลิโอตามธรรมชาติ และไม่มีเชื้อโปลิโอมีชีวิตสายพันธุ์วัคซีน Polio end game 2559 Introduce เริ่มใช้วัคซีน IPV ในงาน EPI Switch tOPV to bOPV Withdraw เลิกใช้ OPV ทุกชนิด 2563 กวาดล้างโปลิโอสำเร็จ กำจัดเชื้อโปลิโอทุกสายพันธุ์ เมษายน 2559 กำจัดเชื้อโปลิโอทัยป์ 2 ใน OPV ทำลายเชื้อโปลิโอทัยป์ 2 ในห้อง lab ธันวาคม 2558 เริ่มกระบวนการ

กลุ่มเป้าหมายการให้วัคซีนโปลิโอ เพิ่ม IPV 1 ครั้ง แก่ เด็กอายุ 4 เดือน ทุกคน ครั้งที่ อายุ ชนิดของวัคซีนโปลิโอ 1 2 เดือน OPV1 และ DTP-HB1 2 4 เดือน IPV1, OPV2 และ DTP-HB2 3 6 เดือน OPV3 และ DTP-HB3 4 1 ปี 6 เดือน OPV4 และ DTP4 5 4 ปี OPV5 และ DTP5 + กลุ่มเป้าหมายในการให้วัคซีน IPV เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 4 เดือน ขึ้นไป ทุกคน ทั้งที่อยู่ในและนอกพื้นที่ที่รับผิดชอบตามกำหนดการให้วัคซีน กรณีที่เด็กมารับวัคซีน OPV ครั้งแรกล่าช้าหลังอายุ 4 เดือน เป็นต้นไป ขอให้ฉีดวัคซีน IPV พร้อมกับหยอดวัคซีน OPV ในครั้งแรกที่พบ และหยอดวัคซีน OPV ต่ออีก 4 ครั้งตามกำหนดการเดิม ถ้าเด็กมารับวัคซีน OPV ครั้งแรกล่าช้าหลัง 4 เดือน ให้ฉีด IPV + หยอด OPV ในครั้งแรก และให้ OPV ต่ออีก 4 ครั้งตามกำหนดการเดิม

Thank You