การประเมินความสามารถด้านการอ่าน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เมื่อพิมพ์ แล้วกด enter (ในเบราว์เซอร์ IE, Chrome , หรือ Firefox)
Advertisements

การสมัครลงทะเบียน (Registration)
Pack Excel Pack Excel เป็นโปรแกรมสำหรับการ Encrypt แบบฟอร์ม Excel Loader ซึ่งผู้ใช้งานจะต้องทำการ Encrypt แบบฟอร์ม Excel ก่อนที่จะทำการนำส่งแบบฟอร์ม (Upload)
การพัฒนาโปรแกรม NAPHA EXTENSION
How to map download TCN 10.1 to Garmin Asus M10. เข้าสู่ Garmin Asus เว๊บไซด์ แล้วเลือก ประเทศไทย และ ทำ การเลือกในส่วน บริการ เลือกในส่วนของ การอัพเดพ.
แผนผังการวาง Access point ห้อง ประชุม Kk4_04 Kk4_02 Kk4_01 Kk4_05 หน้าเวที ภาพที่ 1.
ราคาวัสดุก่อสร้างในท้องถิ่น download แบบฟอรม์ Excel
ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ปีการศึกษา 2557 NT ป.3 O-NET ป. 6 O-NET ม. 3 NT ป.3 O-NET ป. 6 O-NET ม. 3.
สพป. พช.3 ป.3. นักเรียนชั้น ป.3 สังกัด สพฐ. / ตำรวจ ตระเวน ชายแดน ด้านภาษา (Literacy) ด้านคำนวณ (Numeracy) ด้านเหตุผล (Reasoning Abilities) กลุ่มเป้า.
นำเสนอโดย เกศมณี สิทธิศิลป์ และคณะทำงาน
การอบรมระบบความรับผิดทางละเมิดและแพ่ง
4.2.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรในหน่วยงาน น้ำหนัก : ร้อยละ 2 ผู้รับผิดชอบ : กรง. สกก.
การบริหารการทดสอบ O-NET
การบริหารการทดสอบระดับชาติ
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
19 พฤศจิกายน 2559 ณ ห้องประชุมสักทอง1
การประเมินความสามารถด้านการอ่าน
การประชุมเตรียมความพร้อม การประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (Reading Test: RT) ชั้นประถมศึกษาที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2560.
Agenda Training Admin User
แนวทางปฏิบัติ การจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ 2549
การใช้งานฐานข้อมูล Emerald Insight
Introduction to RapidMiner Studio
งานระบบเครือข่ายและบริการอินเทอร์เน็ต
ระบบเบิกจ่ายพัสดุครุภัณฑ์
การประเมินสมรรถนะออนไลน์ e-Competency
การพัฒนาศูนย์พึ่งได้ (OSCC)
MyEnglishLab Registration (Student)
วิธีการคำนวณค่าระดับเสียงเฉลี่ย
เทคนิคการวิเคราะห์ความเหมาะสมของโครงการ และแนวทางการติดตามประเมินผลสำเร็จของ ชุดโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะ ที่ต้นทาง ชุดที่ ๓ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก
วาระที่ 3.1 กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ
ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการฝึกอบรมครู
ระบบบริหารการจัดสอบ NT ACCESS.
สำหรับผู้บริหาร และอาจารย์
นายสำราญ สาราบรรณ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร วันที่ 1 กรกฏาคม 2560
ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
ประชุมการจัดสอบ O-NET2560
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
หน้าจอหลักของ บก. เข้าสู่โปรแกรมที่
สู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ ปีที่ ๙
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)
นายสำราญ สาราบรรณ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร วันที่ 1 กรกฏาคม 2560
โครงการ “อบรมการปฏิบัติงานด้านงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ”
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
คู่มือใช้งานระบบข้อมูลสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
รอบสามประเมินกลุ่มตัวบ่งชี้ที่ 1-5)
คู่มือการใช้งาน Expense ผ่าน Mobile/Tablet (Android) สำหรับผู้ใช้งานทั่วไป / ผู้อนุมัติ 01 มีนาคม 2560 ส่วน สนับสนุนธุรกิจ ฝ่าย Busitness IT.
การประชุมชี้แจงศูนย์สอบ O-NET ชั้น ป.6 และ ชั้น ม.3 ปีการศึกษา 2560
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( )
การประชุมซ้อมความเข้าใจการลงทะเบียนและ
คำแนะนำจากส่วนส่งเสริมและบริการการศึกษา
ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558
ผลกระทบที่มีต่อประชาชนผู้รับบริการ
ขั้นตอนการจัดซื้อ/จัดจ้าง (วิธีตกลงราคา)
จาก Recommendation สู่การพัฒนาคุณภาพ
ประกันสุขภาพคนต่างด้าว/แรงงานต่างด้าว
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
ณ ห้องประชุมศรีเวียงพิงค์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
วิธีเข้าระบบทดสอบจริยธรรมตำรวจ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดแบบและวิธีการรายงานผลการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
การสมัครเข้าใช้งานโปรแกรม (การขอ Username/ Password)
โครงการ 1 อำเภอ 1 สหกรณ์การเกษตรในโครงการ จะมีสหกรณ์ทั้งหมด
การจัดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ปีการศึกษา 2559
ด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง
ผลงานตามโครงการพระราชดำริ โครงการ TO BE NUMBER ONE 1
ส่วนของ ผู้ดูแลระบบ. ระบบการเรียนการสอนแบบ Interactive Model สำหรับ CSMA ด้วยเทคโนโลยี m-Learning.
สำนักพัฒนามาตรฐานระบบพัสดุภาครัฐ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ระดับสนามสอบ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

ความสามารถด้านการอ่าน ความสามารถด้านการอ่านรู้เรื่อง  คำ  ประโยค  ข้อความ ความสามารถด้านการอ่านออกเสียง

กลุ่มเป้าหมายในการประเมิน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ทุกสังกัดทั่วประเทศ

วันสอบ วัน 19 - 23 กุมภาพันธ์ 2561 ประกาศผล วันที่ 2 เมษายน 2561 สพป.แพร่ เขต1 วัน 27 กุมภาพันธ์ 2561

ตารางสอบ สอบระหว่าง วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 9.00 – 15.00 น.

โครงสร้างและรูปแบบของข้อสอบ RT

โครงสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน ด้าน สอบภาคปฏิบัติ เลือกตอบ จับคู่ เขียนตอบสั้น การอ่านออกเสียง - คำ - ประโยค - ข้อความ 20 คำ 10 ประโยค 1 ข้อความ - การอ่านรู้เรื่อง 10 ข้อ 5 ข้อ สามารถ Download ได้ที่ สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

โครงสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

ตัวอย่างข้อสอบอ่านออกเสียง อ่านเป็นคำ 1. ปูเสื่อ  2. หม้อแกง 

ตัวอย่างข้อสอบอ่านออกเสียง อ่านเป็นประโยค

ตัวอย่างข้อสอบอ่านออกเสียง อ่านเป็นข้อความ

ตัวอย่างข้อสอบอ่านรู้เรื่อง อ่านรู้เรื่องคำ (จับคู่) 1. แตงโม   2. เสื้อ   3. ลูกโป่ง  

ตัวอย่างข้อสอบอ่านรู้เรื่อง อ่านรู้เรื่องคำ (เขียนตอบ) 1. 2. 3. เสื้อ ลูกโป่ง แตงโม

ตัวอย่างข้อสอบอ่านรู้เรื่อง อ่านรู้เรื่องประโยค ตาบัวทาสีฟ้าที่รั้ว ที่ครัวสีน้ำตาล ตัวบ้านทาสีเขียวอ่อน 1. รั้วบ้านตาบัวมีสีอะไร สีฟ้า สีน้ำตาล สีเขียวอ่อน

ตัวอย่างข้อสอบอ่านรู้เรื่อง อ่านรู้เรื่องข้อความ แม่นำไข่เป็ดมาทำไข่เค็ม เก็บไว้กินกับข้าวต้ม ซึ่งยายชอบมาก ส่วนหนูแววชอบกินข้าวต้มกับไข่เจียว 1. ใครชอบกินข้าวต้มกับไข่เค็ม แม่ ยาย หนูแวว

การแต่งตั้งกรรมการระดับสนามสอบ

คณะกรรมการระดับสนามสอบ คณะกรรมการระดับสนามสอบประกอบด้วย ประธานสนามสอบ ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน/รักษาการ ของโรงเรียนที่เป็นสนามสอบ กรรมการคุมสอบและตรวจให้คะแนน ได้แก่ ข้าราชการครู หรือบุคลากรทางการศึกษาหรือครูอัตราจ้าง โดยกำหนดให้มีกรรมการคุมสอบ 2 คน ต่อ 1 ห้องสอบ ดังนี้ - กรรมการคุมสอบคนที่ 1 เป็นครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนตนเอง - กรรมการคุมสอบคนที่ 2 เป็นครูผู้สอนที่มาจากต่างโรงเรียน และเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถในด้านการอ่านออกเสียง และอ่านรู้เรื่อง นักการภารโรง ได้แก่ นักการภารโรงของโรงเรียนที่เป็นสนามสอบ กรรมการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการอำนวยการระดับศูนย์สอบสามารถพิจารณาแต่งตั้งกรรมการเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสม

ศูนย์สอบ สพป.แพร่ เขต1 เครือข่ายการศึกษา ส่งประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการ ศูนย์สอบ สพป.แพร่ เขต1 แต่งตั้งคณะกรรมการ ประชุมกรรมการ 13-14 กุมภาพันธ์ 2561

เอกสารในระดับสนามสอบ

เอกสารระดับสนามสอบ คู่มือการบริหารจัดการสอบ RT ข้อสอบและแบบบันทึกคะแนน เอกสารธุรการประจำสนามสอบ

คู่มือการบริหารจัดการสอบ RT

คู่มือการบริหารจัดการสอบ RT

ข้อสอบและแบบบันทึกคะแนน

แบบทดสอบและแบบบันทึกคะแนน สนามสอบต้องมารับแบบทดสอบและแบบบันทึกคะแนนจากศูนย์สอบวันทำการสอบ โดยข้อสอบและแบบกรอกคะแนนในแต่ละสนามสอบจะถูกบรรจุลงในกล่อง โดยภายในกล่องจะมีซองข้อสอบและแบบกรอกคะแนนของแต่ละห้องสอบมัดรวมกันไว้ ซึ่งในแต่ละมัดจะมี 2 ซองจำแนกตามวิชาที่สอบ (อ่านออกเสียง 1 ซอง และอ่านรู้เรื่อง 1 ซอง) ดังภาพ 1 2 ห้องสอบที่ 1 ห้องสอบที่ 2 หมายเหตุ แบบทดสอบและกระดาษคำตอบสำรอง(5%) จะถูกบรรจุอยู่ในกล่องแบบทดสอบกล่องแรก

ข้อสอบอ่านออกเสียง(ใบปิดสีฟ้า) ซองแบบทดสอบ ข้อสอบอ่านรู้เรื่อง (ใบปิดสีขาว) ข้อสอบอ่านออกเสียง(ใบปิดสีฟ้า)

โดยในซองแบบทดสอบและกระดาษคำตอบแต่ละซอง (แต่ละวิชา) ด้านหลังปิดปากด้วยกาว และปิดทับด้วย Security Sealเพื่อป้องกันการเปิดก่อนถึงกำหนด ภายในซองประกอบไปด้วยแบบทดสอบ แบบบันทึกคะแนน และใบเซนต์ชื่อผู้เข้าสอบ(สพฐ.2)ของวิชานั้น

(มีจำนวนเท่าจำนวนนักเรียนในห้องสอบ) ซองบรรจุแบบทดสอบอ่านรู้เรื่อง ภายในซองประกอบไปด้วย 1. แบบทดสอบ 2. แบบบันทึกคะแนน 3. ใบเซนต์ชื่อผู้เข้าสอบ(สพฐ.2) ดังภาพ แบบทดสอบ (มีจำนวนเท่าจำนวนนักเรียนในห้องสอบ) แบบบันทึกคะแนน ใบเซนต์ชื่อ(สพฐ.2)

(มีจำนวนเท่าจำนวนนักเรียนในห้องสอบ) ซองบรรจุแบบทดสอบอ่านออกเสียง ภายในซองประกอบไปด้วย 1. แบบทดสอบอ่านออกเสียง (ฉบับนักเรียน) 2. แบบทดสอบอ่านออกเสียง (ฉบับกรรรมการ) 3. แบบบันทึกคะแนน 4. ใบเซนต์ชื่อผู้เข้าสอบ(สพฐ.2) ดังภาพ ใบเซนต์ชื่อ(สพฐ.2) แบบบันทึกคะแนน แบบทดสอบ(นักเรียน) (มีห้องสอบละ 1 ฉบับ) แบบทดสอบ(กรรมการ) (มีจำนวนเท่าจำนวนนักเรียนในห้องสอบ)

แบบทดสอบจะมี 2 วิชา 3 ชุด โดยในแต่ละฉบับพิมพ์ด้วยหมึกสีที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน เพื่อให้เกิดความสะดวกในการจัดเก็บ ดังนี้ ชุดที่ 1 แบบสอบด้านการอ่านรู้เรื่อง(สีม่วง) ชุดที่ 2 แบบสอบด้านการอ่านออกเสียง (ฉบับนักเรียน) (สีเขียว) ชุดที่ 3 แบบสอบด้านการอ่านออกเสียง (ฉบับกรรมการ)(สีฟ้า) ดังภาพ

แบบบันทึกคะแนน พิมพ์ด้วยกระดาษปอนด์ แยก 2 วิชา ๆ ละ 1 แผ่น ได้แก่ พิมพ์ด้วยกระดาษปอนด์ แยก 2 วิชา ๆ ละ 1 แผ่น ได้แก่ แผ่นที่ 1 - แบบบันทึกคะแนน 1. (การอ่านรู้เรื่อง) แผ่นที่ 2 - แบบบันทึกคะแนน 2. (การอ่านออกเสียง)

แบบบันทึกคะแนน ข้อมูลนักเรียนแต่ละคน จะถูกพิมพ์เสร็จเรียบร้อยมาจากโรงพิมพ์ แบบบันทึกคะแนน(สำรอง) ในแต่ละสนามสอบจะมีไม่ต่ำกว่า 1 แผ่น แต่ไม่เกินร้อยละ 5 นักเรียนเข้าสอบกรณีพิเศษ(walk in)กรอกข้อมูลพื้นฐานและคะแนนสอบ ต่อจากนักเรียนในห้องสุดท้าย

ช่องบันทึกคะแนน (กรรมการบันทึก) แบบบันทึกคะแนน ข้อมูลห้องสอบ ข้อมูลนักเรียน ช่องบันทึกคะแนน (กรรมการบันทึก)

การบันทึกแบบบันทึกคะแนน (กรณีขาดสอบ) การบันทึกแบบบันทึกคะแนน (กรณีขาดสอบ) กรณีนักเรียนขาดสอบ ให้กรรมการเขียนเส้นแดงในช่องคะแนน แล้วเขียน “ขาดสอบ” ในช่องสถานะด้วย ขาดสอบ

เอกสารธุรการประจำสนามสอบ 1) ใบรายชื่อติดบอร์ดหน้าสนามสอบ (ติดด้านล่างของอาคารที่เป็นห้องสอบ) 2) ใบรายชื่อติดหน้าห้องสอบแต่ละห้องสอบ (2 ใบ ติดประตูหน้าห้องและหลังห้อง) 3) สติ๊กเกอร์ติดโต๊ะสอบ ระบุข้อมูลประจำตัวของผู้เข้าสอบ (สำหรับการสอบอ่านรู้เรื่อง) 4) แบบ สพฐ.2 ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (บรรจุอยู่ในซองกระดาษคำตอบ) 5) แบบ สพฐ.3 ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ กรณีพิเศษ (Walk in) 6) แบบ สพฐ.5 แบบฟอร์มสำหรับผู้เข้าสอบปฏิบัติผิดระเบียบการสอบ 7) แบบ สพฐ.6 แบบคำขอแก้ไขข้อมูล (สนามสอบละ 2 ใบ) 8) แบบ RT1 บัญชีรับส่งแบบทดสอบและกระดาษคำตอบ 9) แบบ RT2 บัญชีส่งจำนวนกล่องกระดาษคำตอบ จากสนามสอบถึงศูนย์สอบ 10) ซองใส่แบบบันทึกคะแนนจากสนามสอบมาเก็บยังศูนย์สอบ

ตัวอย่างใบรายชื่อติดบอร์ดหน้าสนามสอบ

ตัวอย่างใบรายชื่อหน้าห้องสอบ

ตัวอย่าง สติ๊กเกอร์ติดโต๊ะสอบระบุข้อมูลประจำตัวของผู้เข้าสอบ (ในการสอบด้านการอ่านรู้เรื่อง)

ตัวอย่าง แบบ สพฐ.2 ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบในแต่ละห้องสอบ ขาดสอบ กรณีนักเรียนขาดสอบ ให้กรรมการขีดเส้นสีแดง และเขียน “ขาดสอบ” ในใบเซ็นชื่อที่ช่องหมายเหตุด้วย

ตัวอย่าง แบบ สพฐ.3 ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk in)

ตัวอย่าง แบบ สพฐ.5 สำหรับผู้เข้าสอบปฏิบัติผิดระเบียบการสอบ

ตัวอย่าง แบบ สพฐ.6 แบบคำขอแก้ไขข้อมูล

ตัวอย่าง แบบ RT1 บัญชีรับส่งแบบทดสอบและกระดาษคำตอบระหว่าง หัวหน้าสนามสอบ/ กรรมการกลางกับกรรมการคุมสอบ

ตัวอย่างแบบ RT2 บัญชีส่งจำนวนกล่องกระดาษคำตอบ และเอกสารอื่นๆ จากสนามสอบถึงศูนย์สอบ

ตัวอย่าง ซองใส่แบบบันทึกคะแนนจากสนามสอบมาเก็บยังศูนย์สอบ

คู่มือการประเมินความสามารถด้านการอ่าน

การบริหารจัดการห้องสอบ

การจัดสนามสอบ รูปแบบที่ 1 หนึ่งสนามสอบหลายโรงเรียน รูปแบบที่ 1 หนึ่งสนามสอบหลายโรงเรียน สนามสอบ โรงเรียน 1 โรงเรียน 2 โรงเรียน 3 รูปแบบที่ 2 หนึ่งสนามสอบหนึ่งโรงเรียน สนามสอบ 1 โรงเรียน 1 สนามสอบ 2 โรงเรียน 2 สนามสอบ 3 โรงเรียน 3

การจัดห้องสอบการอ่านรู้เรื่อง ประเภทของห้องสอบ สนามสอบแต่ละแห่ง จะแบ่งห้องสอบการอ่านรู้เรื่องสอบเป็น 3 ประเภท คือ ห้องสอบปกติ (ห้องเด็กปกติที่ใช้ข้อสอบปกติ) ห้องสอบพิเศษ 1 (ห้องเด็กพิเศษที่ใช้ข้อสอบปกติ) ห้องสอบพิเศษ 2 (ห้องเด็กพิเศษที่ใช้ข้อสอบพิเศษ เช่น อักษรเบรลล์ และข้อสอบอักษรขยาย)

การจัดห้องสอบการอ่านรู้เรื่อง การจัดเรียงห้องสอบ การจัดเรียงห้องสอบจะจัดเรียงตามลำดับจากห้องปกติห้องแรกจนถึงห้องปกติสุดท้าย ตามด้วยห้องพิเศษ 1 และห้องพิเศษ 2 ตามลำดับ ห้องพิเศษ 1 ห้องปกติ ห้องสุดท้าย ห้องปกติ ห้องที่ 1 ห้องพิเศษ 2 หมายเหตุ การจัดห้องสอบของสนามสอบที่มีห้องพิเศษ 1 (เด็กพิเศษที่ใช้ข้อสอบปกติ) เพื่อมิให้เด็กพิเศษเกิดความรู้สึกว่าตนเองแตกต่างจากเพื่อนๆ ศูนย์สอบ/สนามสอบสามารถบริหารจัดให้นักเรียนสอบร่วมกับเด็กปกติได้ โดยนำโต๊ะของเด็กพิเศษมาวางไว้ในห้องเด็กปกติ และดำเนินการ จัดสอบตามปกติ แต่ตอนบรรจุกระดาษคำตอบกลับให้บรรจุซองแยกตามห้องสอบที่ สพฐ. ส่งไป

ทุกสนามสอบยุบห้องพิเศษ 1 มารวมกับห้องสอบปกติทั้งหมด

การจัดห้องสอบการอ่านรู้เรื่อง การจัดเรียงนักเรียนในห้องสอบ ศูนย์สอบต้องกําหนดสนามสอบ ผ่านระบบ NT Access ภายในช่วงเวลาที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนด โดยโปรแกรม NT Access จะทำการกำหนดห้องสอบในแต่ละสนามสอบโดยอัตโนมัติ กำหนดจํานวนผู้เข้าสอบห้องละ 30 คน (ยกเว้นห้องสุดท้ายสามารถมีจำนวนนักเรียนได้สูงสุด 35 คน) โดยการจัดห้องสอบจะจัดให้นักเรียนเข้าห้องสอบทีละโรงเรียน โดยเริ่มต้นที่นักเรียนในโรงเรียนที่เป็นสนามสอบก่อน หลังจากนั้นให้เรียงตามรหัสโรงเรียนจากน้อยไปหามาก ส่วนการเรียงลำดับเลขที่นั่งของนักเรียนในแต่ละโรงเรียนจะจัดเรียงตามที่โรงเรียนส่งข้อมูลเข้าโปรแกรม NT Access

ตัวอย่าง ถ้าโรงเรียนกบินทร์วิทยาเป็นสนามสอบ มีโรงเรียนมาเข้าสอบ 3 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนกบินทร์วิทยา(รหัส10003) มีนักเรียน 20 คน โรงเรียนนารีศึกษา(รหัส10007) มีนักเรียน 10 คน และโรงเรียนชนาธิปวิทยา(รหัส 10009) มีจำนวนนักเรียน 20 คน การจัดห้องสอบจะเป็นดังต่อไปนี้

การจัดห้องสอบการอ่านออกเสียง นักเรียนที่เข้าสอบการอ่านออกเสียง เรียงลำดับตามรายชื่อที่เข้าสอบการอ่านรู้เรื่อง (นักเรียนสอบอ่านรู้เรื่องในห้องสอบไหน ก็ต้องสอบอ่านออกเสียงในห้องสอบนั้น)

ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk in) 1) ให้ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษเข้านั่งสอบต่อจากคนสุดท้ายของห้องสอบปกติห้องสุดท้าย ในสนามสอบนั้น 2) ให้ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษใช้แบบทดสอบพร้อมกระดาษคําตอบสํารองในการสอบ สําหรับเลขที่นั่งสอบให้ใช้เลขที่นั่งสอบต่อจากเลขที่สุดท้ายของห้องสอบสุดท้ายในสนามสอบนั้นๆ 3) ให้เซนต์ชื่อเข้าสอบในแบบ สพฐ.3 4) เพิ่มข้อมูลนักเรียน และบันทึกผลการทดสอบลงในไฟล์ excel ห้องสุดท้าย

การบริหารจัดการสอบ (เพิ่มเติม) 1. กรณีผู้เข้าสอบต้องการเปลี่ยนข้อมูลสถานะเด็กปกติหรือเด็กพิเศษ ให้กรอกแบบฟอร์ม สพฐ.6 พร้อมแนบเอกสาร และ เข้าไปแก้ไขข้อมูลตามแบบ สพฐ.6 ลงในไฟล์ excel ของห้องสอบของนักเรียนระหว่างบันทึกคะแนนนักเรียนได้เลย 2. แบบทดสอบ(โจทย์คำถาม)ทั้งหมด เมื่อสอบเสร็จแล้วให้ไว้ที่สถานศึกษาที่เป็นสนามสอบ เพื่อเผยแพร่(แจกจ่าย)ให้แก่สถานศึกษาที่เข้าสอบในสนามสอบ 3. แบบบันทึกคะแนนเมื่อกรอกคะแนนแล้ว ให้เก็บรักษาไว้ที่ศูนย์สอบ (สนามสอบ สำเนาแบบบันทึกคะแนน ไว้ที่สนามสอบ1ชุด และส่งฉบับจริงไว้ที่ศูนย์สอบ ให้กรรมการคุมสอบเซ็นต์รับรองสำเนา) 4. แบบทดสอบสำรอง(ที่ไม่ได้ใช้) ให้เก็บไว้ที่ศูนย์สอบ ไม่ต้องส่งคืนมายัง สพฐ.

การตรวจให้คะแนนคะแนนการทดสอบ 1.ให้สนามสอบทำการตรวจข้อสอบที่สนามสอบ เฉลยทางศูนย์สอบได้วางแผนไว้ 2 แผน คือ 1) ใส่ไปในซองเอกสาร มัดติดไปพร้อมกับกล่องข้อสอบ 2) ดาวน์โหลดทางลิ้ง : http://www.gg.gg/RT-p1-2560 2.กรรมการคุมสอบตรวจให้คะแนน และกรอกลงในแบบบันทึกคะแนน 1,2 3.กรรมการคุมสอบ/กรรมการบันทึกคะแนนในระบบ NT Access ดาวน์โหลดไฟล์ excel แบบบันทึกคะแนน จากระบบ ไฟล์ excel ที่ดาวน์โหลดมา เมื่อกรอกข้อมูลเรียบร้อย นำไฟล์ดังกล่าว Up ขึ้นในระบบ NT Access

การกรอกคะแนนผลการทดสอบ ให้สนามสอบทำการตรวจข้อสอบที่สนามสอบ แล้วบันทึกผลการทดสอบลงใน แบบบันทึก แล้วกรอกข้อมูลจากแบบบันทึกส่งมายัง สพฐ. ผ่านทางระบบ NT Access ทั้งนี้ การประเมินความสามารถในการอ่านออก เป็นการประเมินเพื่อปรับปรุงและพัฒนาความสามารถของผู้เรียนเป็นสำคัญ ดังนั้น กรรมการคุมสอบควรคำนึงถึงถูกต้องตาม สภาพที่เป็นจริงของนักเรียน ความบริสุทธิ์ ยุติธรรมและโปร่งใส ด้วย

1. เข้าโปรแกรม NT Access แล้วคลิกปุ่ม “การอ่าน ป.1” 2. กรอก Username และ Password

3. คลิกที่เมนู “คะแนนการอ่าน ป.1” 4. กรอกคะแนนในแต่ละด้าน (ด้านการอ่านรู้เรื่อง และด้านการอ่านออกเสียง)

การรายงานผลการทดสอบ

การรายงานผล 1. ประกาศผลสอบ วันที่ 2 เมษายน 2561 เป็นต้นไป 2. ดูผลสอบของนักเรียนผ่านระบบ NT Access 3. แบบรายงานผลสอบ รายบุคคล รายโรงเรียน รายเขตพื้นที่การศึกษา รายสังกัด ภาพรวมประเทศ

แบบรายงานผลการสอบ

แบบรายงานผลการสอบของนักเรียนรายบุคคล

แบบรายงานผลการสอบของโรงเรียน

แบบรายงานผลการสอบของศูนย์สอบ

การรับข้อสอบ-ส่งกระดาษคำตอบ ศูนย์สอบ สพป.แพร่ เขต1 ศูนย์สอบย่อย 27 กุมภาพันธ์ 2561 (เวลา 06.00-07.30) 27 กุมภาพันธ์ 2561 05.00-06.30

1

2

3

4

5

6

7

8

หลังประชุม ขอพบ 18 โรงเรียนศูนย์ย่อย 9 หลังประชุม ขอพบ 18 โรงเรียนศูนย์ย่อย

บทบาทประธานสนามสอบ 1.ประสานงานกับศูนย์สอบและดำเนินการตามคู่มือการจัดสอบฯ อย่างเคร่งครัด 2.ประชุมคณะกรรมการระดับสนามสอบก่อนสอบ เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการจัดสอบและขั้นตอนการดำเนินงานของกรรมการคุมสอบ 3.เตรียมความพร้อมสถานที่สอบ กำกับการจัดห้องสอบ ติดรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ และเอกสารการสอบอื่น ๆ ที่ป้ายประชาสัมพันธ์ของสนามสอบ และหน้าห้องสอบ 4.รับ-ส่งแบบทดสอบและเอกสารประกอบการสอบ ระหว่างศูนย์สอบ และสนามสอบ (ในกรณีที่ไม่สามารถไปด้วยตนเองได้ ให้มอบหมายผู้แทน โดยใช้บันทึกมอบหมายผู้แทนเพื่อให้ศูนย์สอบเก็บไว้เป็นหลักฐาน) 5.เปิดกล่องบรรจุแบบทดสอบในวันสอบ ไม่เกิน 1 ชั่วโมงก่อนเวลาสอบ ต่อหน้าตัวแทนกรรมการคุมสอบ

6.อนุมัติผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (Walk in) ที่ไม่มีเลขที่นั่งสอบ แล้วบันทึกในแบบรายงาน (แบบ สพฐ.5) 1 ฉบับ ต่อนักเรียน 1 คน เพื่อรายงานให้ศูนย์สอบทราบ 7.กำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดสอบภายในสนามสอบให้เป็นไปด้วย 8.ความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ มีความยุติธรรม โปร่งใส และเป็นไปตามคู่มือการจัดสอบ ฯ 9.สั่งพักการปฏิบัติหน้าที่ในกรณีที่คณะกรรมการคุมสอบหรือเจ้าหน้าที่ในสนามสอบบกพร่องต่อหน้าที่หรือประพฤติปฏิบัติตนไม่เหมาะสมและรายงานให้ศูนย์สอบทราบ 10.ตรวจสอบการบันทึกคะแนนในแบบ สพฐ.๗ ร่วมกับกรรมการคุมสอบ/กรรมการบันทึกคะแนนให้ถูกต้อง ครบถ้วนก่อนนำส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบ NT Access 11.สำเนาแบบบันทึกคะแนนไว้ที่สนามสอบเพื่อให้เจ้าที่บันทึกคะแนนกรอกในระบบ NT Access และนำต้นฉบับส่งศูนย์สอบ

ประธานสนามสอบ รร.A โรงเรียน A โรงเรียน B 1.ก่อนเปิดกล่องข้อสอบ/กระดาษคำตอบ ตัวแทนกรรมการคุมสอบเป็นพยานในการตรวจสอบกล่องแบบทดสอบ/กระดาษคำตอบ ไม่มีร่องรอยการเปิด 2.เปิดกล่องข้อสอบ/กระดาษคำตอบ ต่อหน้าตัวแทนกรรมการ (ล่วงหน้าไม่เกิน 1 ชม.)

หน้าที่กรรมการคุมสอบ 1) กำกับการดำเนินการสอบให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ทั้งภายในห้องสอบและบริเวณใกล้เคียงให้มีความโปร่งใสและยุติธรรมในการคุมสอบ มีประสิทธิภาพและปฏิบัติตามคู่มือการจัดสอบฯ 2) การดำเนินการคุมสอบ ขอให้ยึดตามแนวปฏิบัติตามคู่มือฉบับนี้เป็นหลักในการปฏิบัติงาน 3) ควบคุมมิให้ผู้เข้าสอบปฏิบัติผิดระเบียบหรือกระทำการทุจริตในระหว่างการสอบ

หน้าที่กรรมการคุมสอบ 4) รายงานประธานสนามสอบ กรณีสงสัยว่าจะมีการทุจริตหรือมีการทุจริตเกิดขึ้น และห้ามบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้าบริเวณห้องสอบ 5) รักษาความลับของแบบทดสอบ ด้วยการไม่ให้กรรมการหรือบุคคลอื่นดูหรือถ่ายรูปแบบทดสอบเพื่อเผยแพร่ 6) ตรวจนับแบบทดสอบให้ถูกต้องและครบถ้วน 7) ตรวจให้คะแนนแบบทดสอบแล้วบันทึกคะแนนในแบบ สพฐ.๗ หรือแบบบันทึกคะแนน1,2 8) บรรจุแบบทดสอบที่ตรวจแล้ว และแบบบันทึกคะแนน1,2 (สพฐ.๗) พร้อมเซ็นชื่อกรรมการคุมสอบทั้ง 2 คน ใส่ซองแล้วนำส่งที่ประธานสนามสอบ

ขั้นตอนการสอบอ่านรู้เรื่อง 08.00 น.-08.35 น. ประธานสนามสอบ กรรมการกลาง กรรมการคุมสอบ ร่วมประชุมชี้แจง และตรวจสอบเอกสารการจัดสอบ เปิดกล่องข้อสอบ 08.35 น.-08.45 น. กรรมการจัดนักเรียนเข้าห้องสอบ นักเรียนยืนแถวรอหน้าห้องสอบ เรียงลำดับตามเลขที่นั่งสอบ 08.45 น. -08.50 น. กรรมการเลือกตัวแทนนักเรียนเป็นพยานตรวจสอบความเรียบร้อยของซองข้อสอบ จำนวน 2 คน พร้อมลงชื่อลงในแบบ สพฐ.2

ขั้นตอนการสอบอ่านรู้เรื่อง 08.55 น. กรรมการคนที่2แจกแบบทดสอบอ่านรู้เรื่อง แจ้งนักเรียนเขียนชื่อ-สกุล โรงเรียนลงในปกแบบทดสอบ พร้อมชี้แจงนักเรียน 09.00 น. กรรมการแจ้งนักเรียนเปิดแบบทดสอบ และทำข้อสอบได้ 09.30 น. กรรมการคนที่ 1 นำแบบ สพฐ.2 ให้นักเรียนลงลายมือชื่อทั้ง 2 แผ่น พร้อมตรวจสอบการเขียน ชื่อ-สกุล ของนักเรียน 10.25 น. กรรมการแจ้งใกล้หมดเวลาสอบ ให้นักเรียนตรวจสอบความเรียบร้อย 10.30 น. นักเรียนหยุดทำข้อสอบ และปิดแบบทดสอบ วางดินสอ

ขั้นตอนการสอบอ่านรู้เรื่อง 10.30 น. กรรมการคนที่ 2 เก็บแบบทดสอบนักเรียน จนครบแล้วแจ้งให้นักเรียนลุกออกจากห้องสอบได้ 10.30 น.-11.00 น. กรรมการตรวจสอบจำนวนแบบทดสอบ/กระดาษคำตอบ (กรณีนักเรียนมีน้อยสามารถตรวจให้คะแนนและกรอกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนน 1 ได้เลย)

ขั้นตอนการสอบอ่านออกเสียง 10.30 น.-10.45 น. ประธานสนามสอบ กรรมการกลาง กรรมการคุมสอบ จัดห้องสอบอ่านออกเสียง 2 ห้อง ห้องที่1 สำหรับจัดสอบ ห้องที่ 2 สำหรับนักเรียนรอสอบ 10.45 น.-10.55 น. นักเรียนเข้าไปรอที่ห้องรอสอบ (ห้อง2) 10.55 น.-11.00 น. กรรมการชี้แจงนักเรียน 11.00 น. เป็นต้นไป ดำเนินการสอบอ่านออกเสียง

แนวปฏิบัติในการสอบการอ่านออกเสียง

1. ให้นักเรียนสอบอ่านออกเสียงเป็นรายบุคคล โดยให้นักเรียนอ่านที่ละ 1 คน ในห้องสอบ ที่แยกเฉพาะ 2. กรรมการตรวจสอบรายชื่อนักเรียนในแบบบันทึกคะแนน การสอบอ่านออกเสียง (แบบบันทึกคะแนน 2)

3. กรรมการแจกบทอ่านของนักเรียนให้นักเรียนและอธิบาย คำชี้แจง ให้นักเรียนเข้าใจ ก่อนลงมืออ่านพร้อมกับจับเวลา 4. กรรมการใส่เครื่องหมาย ถูก ในช่องที่นักเรียนอ่านถูก และใส่เครื่องหมาย ผิด ในช่องคำที่นักเรียนอ่านผิด

5. ให้นักเรียนอ่านออกเสียงคนละไม่เกิน 10 นาที และเมื่อกรรมการดำเนินการสอบให้สัญญาณหมดเวลา ถ้านักเรียนยังอ่านไม่เสร็จ ให้นักเรียนหยุดอ่านทันที 6. กรรมการดำเนินการสอบตรวจสอบความถูกต้อง ของคำที่นักเรียนอ่านทันที แล้วกรอกข้อมูลลงใน แบบบันทึกคะแนน2 ทันที 7. ให้นักเรียนคนถัดไปเข้ามาสอบอ่านต่อ

การแบบบันทึกคะแนน กรรมการบันทึกคะแนน พิมพ์ด้วยกระดาษปอนด์ แยก 2 วิชา ๆ ละ 1 แผ่น ได้แก่ แผ่นที่ 1 - แบบบันทึกคะแนน 1.(การอ่านรู้เรื่อง) แผ่นที่ 2 - แบบบันทึกคะแนน 2.(การอ่านออกเสียง) ประธานสนามสอบสำเนาแบบบันทึกคะแนนที่บันทึกเรียบร้อยแล้วเพื่อให้เจ้าหน้าที่/กรรมการบันทึกคะแนน กรอกลงในไฟล์ excel ที่โหลดจากระบบ และ Up ขึ้นในระบบ NT Access และส่งต้นฉบับส่งคืน ศูนย์สอบ ภายในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561

ส่งกระดาษคำตอบและเอกสารอื่นๆ ศูนย์สอบ สพป.แพร่ เขต1 ศูนย์สอบย่อย 27 กุมภาพันธ์ 2561 (เวลา 13.00-16.30) 27 กุมภาพันธ์ 2561 (เวลา 13.00-17.00) 27 กุมภาพันธ์ 2561 (เวลา 13.00-18.00)

สนามสอบ ส่งเอกสารทุกอย่าง สนามสอบดำเนินการส่งเอกสารศูนย์สอบ สนามสอบ ส่งเอกสารทุกอย่าง สนามสอบ สามารถเก็บแบบทดสอบที่เป็นโจทย์ ไว้ใช้ประโยชน์ได้ แบบทดสอบที่นักเรียนทำในแบบทดสอบส่งคืนศูนย์สอบ

หน้าที่ของโรงเรียน/สนามสอบ ตรวจสอบผลการประเมิน/แบบบันทึกคะแนน ครั้งที่ 2 เพื่อยืนยันความถูกต้อง จากแบบบันทึกคะแนน (ฉบับสำเนา) กับในระบบ NT Access ภายในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2561 ก่อนเวลา 15.00 น. หากมีข้อผิดพลาดให้แจ้งศูนย์สอบโดยตรง 09-3136-7301 สนามสอบสำเนาแบบบันทึกคะแนนที่บันทึกเรียบร้อยแล้วเพื่อให้เจ้าหน้าที่/กรรมการบันทึกคะแนน กรอกลงในไฟล์ excel และ Up ขึ้นในระบบ NT Access และส่งต้นฉบับส่งคืน ศูนย์สอบ ภายในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2561

ผู้บริหารโรงเรียน/ครู รับผิดชอบร่วมกัน เขตยืนยันข้อมูล 28 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 15.30 น. ผู้บริหารโรงเรียน/ครู รับผิดชอบร่วมกัน

ดาวน์โหลดเอกสารได้ทาง เว็บไซด์ https://sobphrae1.wordpress.com