โรคไข้เลือดออก เห็ดพิษ รณรงค์วัคซีนไข้หวัดใหญ่ คลีนิกวัคซีนผู้ใหญ่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
VDO conference dengue 1 July 2013.
Advertisements

สถานการณ์โรคโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
ศูนย์โรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนา วิทยากรแกนนำ เพื่อพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. รุ่นที่ 2.
แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กระทรวงสาธารณสุข
การจัดบริการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
วัตถุประสงค์ 1. เพิ่มการเข้าถึงบริการ 2nd Prevention ในผป. HT/DM
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
นายธวัชชัย ไทยเขียว รองปลัดกระทรวงยุติธรรม
ผู้เยี่ยมเสริมพลังลงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต.ติดดาว
การพัฒนาระบบบริการ Fast Track
Rabie Free Zone สภาพปัญหา นโยบายการขับเคลื่อน เป้าหมายดำเนินการ ปี2560
แนวทางการให้บริการวัคซีน Rota
ประชุม Video Conference ตึกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สถานการณ์ของโรคไข้หวัดใหญ่ในปี ๒๕๕๘
4 เมษายน 2561 โดย นพ.ธานินทร์ โตจีน ประธาน MCH Board เขตสุขภาพที่ 4
โรคที่เป็นปัญหา ของพื้นที่
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
วาระประชุมเดือนกันยายน 2559
คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
โรคไข้เลือดออกเขต 12.
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์
ขั้นตอนการร้องเรียน.
การคัดกรองพัฒนาการเด็ก เครือข่ายอำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง
เข้าสู่วาระการประชุม
กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).
หลักเกณฑ์การประเมินผลงานวิชาการ กลุ่มงานประเมินบุคคลและวิชาการ
การบริหารจัดการประเมินและดูแลผู้ป่วย ก่อนกลับเข้าทำงาน
Medication Reconciliation
ผลการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
รูปแบบและขั้นตอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์(SAT) ที่สามารถปฏิบัติการได้จริง 1.
การจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ
จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
การพัฒนาระบบงานการดูแลผู้ป่วยเบาหวานแบบบูรณาการ รพ.สต.บ้านโป่ง
โรงพยาบาลคุณธรรม โรงพยาบาลชะอำ
5ส สำหรับพนักงาน 5 ส.
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
ประเด็นมุ่งเน้นยุทธศาสตร์ โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ
แนวทางการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3 ประจำปี 2561
พญ.มยุรี ไกรศรินท์ สูตินรีแพทย์ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
National Coverage กพ.62 รายจังหวัด
1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้
สรุปผลการตรวจราชการฯ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
สรุปตัวชี้วัด ของหน่วยตรวจพิเศษ ปี 57.
เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
โครงการพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ (Adult Vaccination Clinic)
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดชนิดและอัตรา หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคำนวณปริมาณสำรองน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่
สรุปผลการดำเนินงานประจำปี 2558 กองทุนหลักประกันสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การบริการ.
การประชุมสรุปงานสภาอาจารย์ วิทยาเขตปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2561
การพัฒนา รพ.สต.ตำบลคุณภาพ (ศูนย์เรียนรู้ด้าน IT)
โดย จันทิมา อ่องประกฤษ ֆ คณะทำงานKPI
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
Click to edit Master subtitle style
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย สตรีและเด็กปฐมวัย 0-5 ปี
การตรวจราชการและนิเทศงาน
รูปภาพประกอบเกี่ยวกับ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคไข้เลือดออก เห็ดพิษ รณรงค์วัคซีนไข้หวัดใหญ่ คลีนิกวัคซีนผู้ใหญ่

โรคไข้เลือดออก

สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ภูเก็ต 301 ราย อัตราป่วย 77.10 ต่อแสน/ปชก. กระบี่ 306 ราย อัตราป่วย 65.95 ต่อแสน/ปชก. สมุทรสาคร 327 ราย อัตราป่วย 59.34 ต่อแสน/ปชก. นครศรีธรรมราช 863 ราย อัตราป่วย 55.55 ต่อแสน/ปชก. พังงา 143 ราย อัตราป่วย 54.00 ต่อแสน/ปชก. 57. เชียงใหม่ 87 ราย อัตราป่วย 5.02 ต่อแสน/ปชก. สถานการณ์โรคไข้เลือดออก เขตบริการสุขภาพที่ 1 ลำพูน 47 ราย อัตราป่วย 11.57 ต่อแสน/ปชก. แพร่ 40 ราย อัตราป่วย 8.87 ต่อแสน/ปชก. แม่ฮ่องสอน 24 ราย อัตราป่วย 8.73 ต่อแสน/ปชก. เชียงราย 94 ราย อัตราป่วย 7.34 ต่อแสน/ปชก. น่าน 28 ราย อัตราป่วย 5.84 ต่อแสน/ปชก. เชียงใหม่ 97 ราย อัตราป่วย 5.05 ต่อแสน/ปชก. ข้อมูล ณ วันที่ 25 พ.ค. 61 สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง

จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2561 เปรียบเทียบปี 2560 และ ค่ามัธยฐาน 5 ปี ผู้ป่วยทั้งหมด 97ราย อัตราป่วย 5.05 ต่อแสน ปชก. ไม่พบผู้ป่วยเสียชีวิต   ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. Median 46 28 36 47 165 375 614 826 818 240 120 71 2560 51 29 591 192 164 2561 23 16 14 22 ข้อมูล ณ วันที่ 25 พ.ค. 61

สถานการณ์ไข้เลือดออก จ.เชียงใหม่ ปี 2561 ผู้ป่วยทั้งหมด 97 ราย คนไทย 81 รายอัตราป่วย 5.05 ต่อแสน ปชก. ต่างชาติ 16 ราย ผู้ป่วยเสียชีวิต 0 ราย อัตราป่วย 5 อันดับสูงสุด ได้แก่ 1 อ.แม่วาง 4 ราย อัตราป่วย 12.75 ต่อแสน ปชก. 2 อ.เชียงดาว 7 ราย อัตราป่วย 10.04 ต่อแสน ปชก. 3 อ.เมือง 23 ราย อัตราป่วย 10.04 ต่อแสน ปชก. 4 อ.สันกำแพง 8 ราย อัตราป่วย 9.67 ต่อแสน ปชก. 5 อ.ฮอด 4 ราย อัตราป่วย 9.17 ต่อแสน ปชก. ข้อมูล ณ วันที่ 26 พ.ค. 61

อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2561 จำแนกรายอำเภอ ข้อมูล ณ วันที่ 26 พ.ค. 61

พื้นที่เกิดโรค ปี 2561 พบพื้นที่ควบคุมโรคไม่ได้ = 0 พื้นที่ แม่อาย ฝาง ไชยปราการ เวียงแหง เชียงดาว พร้าว แม่แตง แม่แจ่ม สะเมิง แม่ริม สันทราย ดอยสะเก็ด แม่วาง หางดง เมือง สารภี สันกำแพง แม่ออน สันป่าตอง ดอยหล่อ จอมทอง ฮอด ดอยเต่า อมก๋อย กัลยาฯ พบพื้นที่พบผู้ป่วยรายใหม่ = 20 พื้นที่ คิดเป็นร้อยละ 0.96 พบพื้นที่ควบคุมโรคไม่ได้ = 0 พื้นที่ คิดเป็นร้อยละ 0 พบพื้นที่ควบคุมโรคได้ = 55 พื้นที่ คิดเป็นร้อยละ 2.64 พบพื้นที่ไม่พบผู้ป่วย = 2,005 พื้นที่ คิดเป็นร้อยละ 96.39 ข้อมูล ณ วันที่ 26 พ.ค. 61

ผลการสุ่มสำรวจค่า HI, CI อำเภอ ผลการสำรวจชุมชน ผลการสำรวจโรงเรียนสถานศึกษา ผลสำรวจโรงพยาบาล, รพ.สต.. ผลการสำรวจวัด ศาสนสถาน ผลการสำรวจโรงงาน จำนวนบ้านที่สำรวจ จำนวนบ้านที่ พบลูกน้ำ ร้อยละ จำนวนภาชนะ ที่สำรวจ จำนวนโรงเรียนที่พบลูกน้ำ ที่พบ เมือง 30 11 36.67 - 50 10 20 18 36 15 สารภี 4 12 1 6.6 แม่วาง 2 6.67 จอมทอง 3.33 สันทราย 25 14 13 สันกำแพง 24 รวม 180 21 11.67 87   134 15.67 125 45

ประเด็นชี้แจงและขอความร่วมมือ พื้นที่ที่พบผู้ป่วยรายแรกๆ ให้ดำเนินมาตรการพื้นที่สีแดงอย่างเข้มข้น : การทำให้ค่า HI,CI เป็น 0 การพ่นด้วย ULV อย่างมีคุณภาพ การทำประชาคม การสื่อสารความเสี่ยง ฯลฯ และอำเภอประเมินศักยภาพตำบลและร่วมแก้ปัญหาตั้งแต่ต้น โรงพยาบาลทุกแห่ง รพ.สต. สสอ สำรวจลูกน้ำทุกสัปดาห์และรายงาน รายงานผลการสำรวจ HI,CI ใน website สสจ.เชียงใหม่อย่างสม่ำเสมอ สสอ.ติดตามผลการสำรวจและลงสุ่มในพื้นที่ ประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ทำกิจกรรม Big cleaning เป็นระยะๆ ประสานและติดตามการดำเนินงานป้องกันควบคุมไข้เลือดออกในโรงเรียน วัด

ข้อสั่งการและแนวปฏิบัติ 1. การเฝ้าระวังโรค 1.1. Early detection เน้นย้ำบุคลากรทางการแพทย์ทั้งในสถานพยาบาลภาครัฐและ เอกชน ให้วินิจฉัยสงสัยโรคไข้เลือดออก และพิจารณารับไว้เป็น ผู้ป่วยในตามเกณฑ์ใน CPG ของกรมการแพทย์และราชวิทยาลัย สื่อสารคลินิก ร้านขายยา ให้ทราบสถานการณ์การระบาดในพื้นที่ อาการป่วยที่ต้องสงสัยไข้เลือดออกและส่งไปรับการตรวจรักษาที่ โรงพยาบาล 1.2. ทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ทุกจังหวัดมีทีมตระหนักรู้สถานการณ์โรคไข้เลือดออก วิเคราะห์ ข้อมูลการเกิดโรค โดยชี้เป้าตำบลที่มีรายงานผู้ป่วยเกินกว่าค่ามัธย ฐาน 5 ปีย้อนหลังและมีการระบาดต่อเนื่องเกินกว่า 28 วัน

คำแนะนำสำหรับแพทย์: เกณฑ์การวินิจฉัย

คำแนะนำสำหรับแพทย์: เกณฑ์การรับไว้ใน ร.พ.

ข้อสั่งการและแนวปฏิบัติ 2. การควบคุมโรค 2.2. กรณีที่พบผู้ป่วยต่อเนื่อง ให้พิจารณาเปิด EOC ตามเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ EOC ระดับอำเภอ เมื่อพบตำบลที่เป็นพื้นที่ระบาด* มากกว่า 2 ตำบล EOC ระดับจังหวัด เมื่อพบอำเภอที่เป็นพื้นที่ระบาด* มากกว่าร้อยละ 25 ของจำนวนอำเภอในจังหวัด เพื่อประสานท้องถิ่น ชุมชน ร่วมดำเนินการ และติดตามประเมินผลการควบคุมโรค เป้าหมาย ของการยกระดับ EOC คือ ลดจำนวนผู้ป่วยต่ำกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลังภายใน 1 เดือน และป้องกันการเสียชีวิต หมายเหตุ พื้นที่ระบาด หมายถึง มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเกินกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลังและมีการระบาดต่อเนื่องเกินกว่า 28 วัน

ข้อสั่งการและแนวปฏิบัติ 3. การจัดระบบการให้คำปรึกษาและส่งต่อผู้ป่วย 3.1. ทุกจังหวัดทำ dead case conference ไข้เลือดออก เสียชีวิตทุกราย 3.2. ทุกจังหวัดมีการอบรมแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์จบ ใหม่ที่เกี่ยวข้อง เรื่องแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 3.3. ทุกเขตจัดให้มีทั้งกุมารแพทย์และอายุรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ คอยให้คำปรึกษา 3.4. กรมการแพทย์จะจัดให้มีการประชุมร่วมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ระดับเขต กับอาจารย์แพทย์จากสถาบันสุขภาพเด็กฯ และ รพ.ราช วิถี เพื่อเน้นย้ำ CPG และ pitfall ที่พบบ่อย

ข้อสั่งการและแนวปฏิบัติ 4. การสื่อสารความเสี่ยง 4.1. ให้ทุกจังหวัดมีกิจกรรมรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง ในสถานที่สำคัญ เช่น สถานที่ราชการ โรงเรียน วัด อย่าง ต่อเนื่องในฤดูฝน และรณรงค์ในช่วง ASEAN Dengue Day (15 มิ.ย.) 4.2. สื่อสารสถานการณ์โรคและประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อการ เสียชีวิต 4.3. เน้นมาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค ในการสื่อสารความ เสี่ยง

สถานการณ์เห็ดพิษ จ.เชียงใหม่ ปี อำเภอ จำนวน ชนิดเห็ด 2560 ฝาง 6 ราย เห็ดคล้ายเห็ดไข่ห่าน ไชยปราการ 3 ราย เห็ดหล่ม เวียงแหง 4 รายเสียชีวิต 1 ราย จอมทอง 2 ราย เห็ดคล้ายเห็ดขมิ้น 2561 พร้าว เห็ดประโดง 1 ราย ยังคงรักษา รพ นครพิงค์ มีภาวะตับวาย

สถานการณ์เห็ดพิษปี 2561 จากการเฝ้าระวังเหตุการณ์สำคัญประจำเดือนพฤษภาคม พบผู้ป่วยโรคเห็ดพิษ 2 เหตุการณ์ ใน อ.พร้าว และ อ.เวียงแหง อ.พร้าว พบผู้ป่วย 3 ราย เริ่มป่วยวันที่ 19 พ.ค.61 รับประทานเห็ดกระโดงย่าง ซึ่งเก็บจากสวนลำไยที่เพิ่งพ่นยาฆ่าแมลงได้ 10 วัน ปัจจุบันรักษาหายแล้ว อ.เวียงแหง พบผู้ป่วย 1 ราย เป็นทหาร เก็บเห็ดระโงกในป่ามาทานวันที่ 25 พ.ค.ตอนเย็น เริ่มป่วยเช้าวันที่ 26 พ.ค. 61 ทานแกงเห็ดร่วมกัน 7 - 8คน (ป่วย 1 คน) ปัจจุบันรักษาต่อที่ รพ. นครพิงค์

เห็ดพิษมีหลายประเภท ที่เป็นสาเหตุทำให้เสียชีวิตส่วนใหญ่ คือ เห็ดระโงกพิษ มีลักษณะคล้ายเห็ดไข่ห่าน ข้อแตกต่าง คือ เห็ดระโงกพิษจะมีก้านสูง กลางดอกหมวกจะนูนเล็กน้อย มีกลิ่นเอียน และค่อนข้างแรง อาการผู้ป่วย จะทำให้คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ถ่ายเหลว ในรายที่รุนแรงจะทำให้ตับวาย ไตวาย และเสียชีวิตในที่สุด

การป้องกันอันตรายจากเห็ดพิษ ควรรู้จักและจดจำเห็ดพิษที่สำคัญ ซึ่งมีพิษรุนแรงถึงตายได้ แล้วหลีกเลี่ยงการรับประทานเห็ดพิษเหล่านี้ เช่น เห็ดระโงกพิษ เห็ดที่มีสีสันฉูดฉาด อย่ารับประทานเห็ดที่สงสัย ไม่รู้จัก และไม่แน่ใจ ควรรับประทานเฉพาะเห็ดที่แน่ใจเท่านั้น เวลาเก็บเห็ดต้องเก็บให้ครบทุกส่วน เก็บเห็ดที่มีลักษณะรูปร่างสมบูรณ์เท่านั้น การทดสอบเห็ดพิษด้วยวิธีจุ่มช้อนเงินหรือการใส่ข้าวสารลงไปในหม้อต้มเห็ด ไม่สามารถใช้ได้ผลในกลุ่มเห็ดระโงก หรือความร้อนก็ไม่สามารถทำลายพิษจากเห็ดได้ หากพบผู้ได้รับพิษจากการกินเห็ด เช่น คลื่นไส้ อาเจียน หน้ามืด ตาลาย ใจสั่น อ่อนเพลีย ปวดท้อง เวียนศีรษะ การช่วยเหลือเบื้องต้น ที่สำคัญที่สุดคือทำให้อาเจียนออกมาให้หมด โดยการล้วงคอหรือกรอกไข่ขาว แล้วรีบนำส่งโรงพยาบาลหรือ รพ.สต. ใกล้บ้านทันที เพื่อรับการรักษาต่อไป

การรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่ ปี 2561 จ.เชียงใหม่ การรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่ ปี 2561 จ.เชียงใหม่ วัคซีนที่ได้รับจัดสรร ปี 2561 ประชาชนกลุ่มเสี่ยง จำนวน 91,476 dose บุคลากรกลุ่มเสี่ยง จำนวน 10,384 dose รณรงค์ ช่วง 1 มิถุนายน ถึง 31 สิงหาคม 2561

กลุ่มเป้าหมาย บุคลากรที่เสี่ยงต่อการสัมผัสโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลและไข้หวัดนก เช่น แพทย์ พยาบาล OPD IPD นักศึกษาฝึกงาน จนท.สธ.ที่ออกสอบสวนโรค จนท.+อาสาทำลายสัตว์ปีก จนท.ห้อง lab ประชากรกลุ่มเสี่ยง เช่น หญิงตั้งครรภ์ 4 เดือนขึ้นไป เด็ก 6 เดือน ถึง 2 ปี 11 เดือน 29 วัน ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้แก่ ปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด หัวใจ หลอดเลือดสมอง ไต วาย มะเร็งที่อยู่ระหว่างได้รับเคมีบำบัด เบาหวาน บุคคลอายุ 65 ปีขึ้นไป ทุกคน ผู้พิการทางสมองที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ โรคธาลัสซีเมียและผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง โรคอ้วน น้ำหนัก > 100 กิโลกรัม หรือ BMI >35 กิโลกรัมต่อ ตารางเมตร

การให้บริการในคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ โครงการนำร่องพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ ปี 2560 - 2562

โครงการนำร่องพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ ปี 2560 - 2562 ปี 2561 ปี 2562 พื้นที่ดำเนินงาน อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 12 จังหวัด เชียงใหม่ อุตรดิตถ์ อุทัยธานี สระบุรี เพชรบุรี สระแก้ว ขอนแก่น เลย ชัยภูมิ ศรีสะเกษ นครศรีธรรมราช สงขลา ทั่วประเทศ อ. ชุมแพ จ.ขอนแก่น อ.คอนสวรรค์ จ. ชัยภูมิ อ.ทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช วัคซีน และ dT ในผู้ใหญ่ กลุ่มเป้าหมาย flu ในหญิงตั้งครรภ์ Flu ในหญิงตั้งครรภ์ flu และTdap หญิงตั้งครรภ์   MR นักศึกษาทางการแพทย์ ฯ MR บุคลากรทางแพทย์ รูปแบบ การดาเนินงาน dT ในผู้ใหญ่ : จัดตั้งคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ ใน รพ./รพ.สต. โดยกำหนดช่วงเวลาชัดเจน อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อเดือน Flu หญิงตั้งครรภ์: บูรณการกับงาน ANC ส่วนใหญ่ให้บริการที่โรงพยาบาล MR บุคลากร: ให้นักศึกษาทางการแพทย์และสาธารณสุขในสถาบันการศึกษา

กลุ่มเป้าหมาย และ รูปแบบให้บริการ MR Flu นักศึกษา ทาง การแพทย์และสาธารณสุข ในสถาบันการศึกษา บุคคลทีมีอายุ 0 ปีเต็ม ได้แก่ อายุ 20,30,40, 50, 60 ปีไปจนตลอดชีวิต หญิง ตั้งครรภ์ หญิง ตั้งครรภ์ที่มี อายุครรภ์ตั้งแต่ 4 เดือนขั้นไป จัดตั้งคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ ใน รพ./รพ.สต. โดยกำหนดช่วงเวลาชัดเจน อย่างน้อย 1 ครั้งต่อเดือน บูรณการกับงาน ANC ส่วนใหญ่ให้บริการที่โรงพยาบาล

ขอบคุณค่ะ