การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กลุ่มติดตามและประเมินผล กอง แผนงานและวิชาการ
ระบบการรายงานผลการดำเนินงานกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ระบบงาน ผู้รับผิดชอบกรม ผู้รับผิดชอบ สวส. ช่วงการรายงาน ระบบติดตามผลการดำเนินงาน/การใช้จ่ายงบประมาณ (Department Operation Center : DOC) กองแผนงานและวิชาการ กพว. รายเดือน ระบบ GFMIS (รายงานการใช้จ่ายงบประมาณ) ฝ่ายคลัง เลขานุการกรม บห. ระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (National Research Management System : NRMS) หากไม่รายงานความก้าวหน้า มีผลต่อการพิจารณา กรอบวงเงินงบประมาณในปีถัดไป (ปี 2562) รอบ 6 และ 12 เดือน ระบบ KPI Reporter กลุ่มพัฒนาระบบราชการ (กพร.) รอบ 6 9 และ 12 เดือน
การเปลี่ยนแปลงของระบบการติดตามและประเมินผล 2558 2559 2560 กำกับแผนปฏิบัติการให้เป็นไปตามกรอบวงเงินจัดสรร รายงานผลให้ครบถ้วนทุกโครงการ การติดตามโครงการบูรณาการ กำหนดตัวชี้วัดที่เหมาะสมและมีการรายงานผล ผลการดำเนินงานต้องสอดคล้องกับแผนที่กำหนดไว้ ความครบถ้วนและถูกต้องของรายละเอียดแผนงานโครงการการ ให้ความสำคัญกับค่าน้ำหนักโครงการตามภารกิจหลัก การรายงานใช้จ่ายที่สอดคล้องกับความเป็นจริง ค่าคะแนนที่ได้ (ภาพรวมของ ตัวชี้วัด 1.1 กรม) 90.87 73.25 75.19
ขั้นตอนการติดตามผลการดำเนินงานแผนปฏิบัติราชการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 12-29 ธันวาคม 2560 30 พฤศจิกายน 2560 ประจำทุกเดือน จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี เสนอโครงการขออนุมัติ สวส.ให้ส่งโครงการและแผนฯ เสนออนุมัติภายใน 15 ธค.60 เนื่องจากมีการปรับการจัดสรรงบ ตรวจสอบความถูกต้องแผนงานในระบบ (ภายใน 15 มค.61) ทบทวนแผนงานโครงการ (สิ้นไตรมาส 2) รายงานผลการดำเนินงาน โครงการสำคัญ ทุกเดือน โครงการทั่วไป ทุกไตรมาส (กรม) ปฏิทิน สวส.ก่อนวันที่ 9 ของทุกเดือน โดยถ้าเป็นงานวิจัย โหลด ต1-ช/ด ในระบบทุกไตรมาส 15 มกราคม 2561 อบรมการใช้งานระบบ DOC (กรม : 8 ธค.60/สวส : 15 ธค.60) ลงข้อมูลรายละเอียดโครงการ
การกำหนดประเภทโครงการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจำปีงบประมาณ 2561 การกำหนดประเภทโครงการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจำปีงบประมาณ 2561 โครงการสำคัญ คือ เป็นแผนงานโครงการที่ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ หรือนโยบายสำคัญของผู้บริหาร และส่งผลกระทบอย่างสูงต่อกรม เช่น โครงการตามคำรับรองปฏิบัติราชการประจำปีของหน่วยงาน หนักหนัก 0.8 โครงการภารกิจหลัก คือ แผนงานโครงการที่ดำเนินการตาม บทบาทภารกิจที่ระบุในกฎหมายและพันธกิจของแต่ละหน่วยงาน เช่น งานประชาสัมพันธ์ของสำนักเลขานุการกรม งานวิจัยและ พัฒนาของ สวส. หรือ สชพ. เป็นต้น โครงการภารกิจสนับสนุน คือ แผนงานสนับสนุนการดำเนินงานของ แต่ละหน่วยงานที่ไม่ได้ส่งผลลัพธ์ต่อบทบาทภารกิจหลักของ หน่วยงานโดยตรง เช่น จัดหาวัสดุอุปกรณ์ งานบริหารงานทั่วไป เป็นต้น + โครงการจัดหาครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้างประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2561 หนักหนัก 0.2
รายชื่อโครงการสำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปี 2561 โครงการขับเคลื่อนตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์/สนับสนุนนโยบายประเทศ ลำดับ รายการ งบประมาณ หน่วยงานเจ้าภาพ 1 โครงการส่งเสริมอุตสาหกรรมด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและเทคโนโลยีทางการแพทย์ด้วยข้อมูลทางพันธุกรรมและการวิเคราะห์ Big Data 15,825,600 สชพ. 2 โครงการพัฒนามาตรฐานการจัดทำ Thai Herbal Pharmacopoeia 15,450,000 สยวส. 3 โครงการส่งเสริมการพัฒนาการทดสอบให้สอดคล้อง OECD GLP 14,300,000 สชพ./สวส./สมป. 4 โครงการตรวจสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชตกค้างในผักและผลไม้ เพื่อสนับสนุนอาหารปลอดภัยในโรงพยาบาล 6,800,000 สคอ. 5 โครงการนวัตกรรมและสนับสนุนอุตสาหกรรมยาชีววัตถุ และ Biopharma 6,600,000 6 โครงการอาหารปลอดภัย 5,000,000 7 โครงการพัฒนาวิธีตรวจเอกลักษณ์สารสำคัญชี้บ่งในเครื่องสำอางผสมสมุนไพร 1,300,000 สสว. 8 โครงการบริหารจัดการองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 500,000 ผน.
โครงการส่งเสริมการพัฒนาการทดสอบ ให้สอดคล้อง OECD GLP
รายชื่อโครงการสำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปี 2561 โครงการบูรณาการ ลำดับ รายการ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค 1 โครงการสนับสนุนการแก้ไขปัญหาผู้เสพยาเสพติด การควบคุมตัวยาและสารเคมีทางห้องปฏิบัติการ 50,069,900 สยวส. - 2 โครงการพัฒนาขีดความสามารถและเครือข่ายห้องปฏิบัติการ เพื่อเสริมสร้างสนับสนุนอุตสาหกรรมและเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพของประเทศ 14,500,000 สคอ. 3 โครงการพัฒนาบุคลากรกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 12,012,800 สล. 4 โครงการประกันคุณภาพยา 11,173,400
รายชื่อโครงการสำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปี 2561 โครงการบูรณาการ ลำดับ รายการ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค 5 โครงการพัฒนาเครือข่ายวิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน 10,000,000 - ศวก.เชียงใหม่ 6 โครงการวัณโรคเพื่อสนับสนุนนโยบายยุติวัณโรค 8,000,000 สวส./สชพ. 2 ศวก. 7 โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR) 7,000,000 สวส. ศวก.ทุกแห่ง 8 โครงการพัฒนาห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช 5,000,000 ศวก.อุดรธานี 9 โครงการจัดทำมาตรฐาน ISO 15189,ISO 17025 และเครือข่ายคุณภาพ และมาตรฐานห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ และหน่วยบริการปฐมภูมิประจำปี 2561 2,500,000 สมป. ศวก.ขอนแก่น
รายชื่อโครงการสำคัญ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปี 2561 โครงการบูรณาการ ลำดับ รายการ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค 10 โครงการมาตรฐานห้องปฏิบัติการ รังสีวินิจฉัย 4,000,000 รส. - 11 โครงการพัฒนาผู้ประกอบการผลิตเครื่องสำอางผสมสมุนไพรของ OTOP/SME เพื่อการส่งออก 3,400,000 สสว. 12 โครงการบูรณาการเครื่องมือแพทย์ 2,665,400 13 โครงการคุณภาพสมุนไพรไทย 1,050,000 สวพ.
โครงการวัณโรคเพื่อสนับสนุนนโยบายยุติวัณโรค โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR)
โครงการ งบพื้นฐาน/จำเป็นตามภารกิจ ของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข 1. พัฒนาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการ สำนักงาน QA 2. สนับสนุน อาหารเลี้ยงเชื้อ และเครื่องมือ ฝ่ายสนับสนุนห้องปฏิบัติการ 3.ห้องปฏิบัติการกลาง BSL-3/เครื่องมือกลาง/คลังตัวอย่าง ฝ่ายทรัพยากรกลางทางห้องปฏิบัติการ
5. โครงการสุขภาพบุคลากรและส่งเสริมสิ่งแวดล้อมปลอดภัยในสถานที่ทำงาน 4. ค่าบำรุงรักษาเชิงป้องกัน กลุ่มตรวจวินิจฉัยโรคกลาง /ฝ่ายตรวจวินิจฉัยแบคทีเรียทางการแพทย์ 5. โครงการสุขภาพบุคลากรและส่งเสริมสิ่งแวดล้อมปลอดภัยในสถานที่ทำงาน ศูนย์ประสานความร่วมมือทางวิชาการ 6. สนับสนุนกีฏวิทยาทางการแพทย์ สำนักงานฝ่ายสนับสนุนกีฏวิทยาพิพิธภัณฑ์แมลงฯ
9.การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล ชมรมจริยธรรม 7. พัฒนา/ธำรงรักษาระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการ DIO 8. การจัดการความรู้ KM Team 9.การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล ชมรมจริยธรรม 10. พัฒนาทรัพยากรบุคคล (HRD) กลุ่มพัฒนาคุณภาพและวิชาการ
โครงการ งบพื้นฐาน/จำเป็นตามภารกิจ ของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข โครงการ งบพื้นฐาน/จำเป็นตามภารกิจ ของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข
2. ห้องปฏิบัติการ WHO RRL/ห้องปฏิบัติการตามพันธะสัญญา 3 ห้องปฏิบัติการ โครงการ งานตรวจวิเคราะห์และเฝ้าระวังฯ ของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข 1. การวิเคราะห์ไมโครไบโอมในผู้ป่วยโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ และทวารหนักและคนปกติ ฝ่ายไวรัสก่อมะเร็ง 2. ห้องปฏิบัติการ WHO RRL/ห้องปฏิบัติการตามพันธะสัญญา 3 ห้องปฏิบัติการ WHO 3 Labs.(Flu/Polio/Measles Rubella) 3.ห้องปฏิบัติการ อาโบไวรัส ฝ่ายอาโบไวรัส 4. ตรวจวินิจฉัยโรคทางพันธุกรรมธาลัสซีเมียและกลุ่มอาการดาวน์ กลุ่มพันธุกรรมทางคลินิก 5.โครงการเตรียมความพร้อมห้องปฏิบัติการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข เพื่อรองรับโรคระบาด กลุ่มตรวจวินิจฉัยโรคกลาง 6.ตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ตรวจวัณโรค ฝ่ายมัยโคแบคทีเรีย
โครงการ งานตรวจวิเคราะห์และเฝ้าระวังฯ ของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข
แนวทางการรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ การรายงานผลการ ดำเนินงาน การจัดทำแผนงาน ในระบบ DOC รายงานการใช้จ่าย ต้องมีการระบุรายละเอียดให้ครบถ้วนและถูกต้องตามหัวข้อที่กำหนด แนบไฟล์โครงการที่ได้รับอนุมัติ (เกิน 2 แสน อธิบดีอนุมัติ/ตำกว่า 2 แสน ผอ.อนุมัติ) ในระบบ DOC แผนงานโครงการสำคัญ + ภารกิจหลักของหน่วยงานมีค่าน้ำหนักไม่ต่ำกว่า 0.8 (จากฐาน 1) แผนงานโครงการสนับสนุน+โครงการครุภัณฑ์ฯ ของหน่วยงานมีค่าน้ำหนักไม่ต่ำกว่า 0.2 (จากฐาน 1) รายงานผลในรูปผลงานสะสมให้ครบถ้วนใน 3 ประเด็น คือ 1.ผลตัวชี้วัด (สามารถลง เมื่อสิ้นสุดได้) 2.รายละเอียดผลการดำเนินงาน 3.การใช้จ่ายงบประมาณ (การเงินลง) แผนงานโครงการจะมีการกำกับติดตามผลการดำเนินงานเป็นรายเดือน (กรม : ในวันที่ 20 ของเดือน / ปฏิทิน สวส.ก่อนวันที่ 9 ของทุกเดือน โดยถ้าเป็นงานวิจัย โหลด ต1-ช/ด ในระบบทุกไตรมาส) โครงการบูรณาการอิงผลการดำเนินงานตามเจ้าหลัก ตั้งงบ :ภาพรวมงบประมาณของหน่วยงานในระบบ DOC ต้องมีงบประมาณไม่ต่ำกว่าร้อยละ 85 ของงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (งบประมาณ + เงินบำรุง) ใช้จ่ายงบ :ตัวเลขการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานในระบบ DOC เมื่อเปรียบเทียบกับค่าตัวเลขใช้จ่ายงบประมาณในระบบ GFMIS ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 85 (เมื่อสิ้นปี)
ประเด็นคำถามที่พบบ่อย ถ้าได้รับอนุมัติงบลงทุนเพิ่ม ทำยังไงดี ? ในส่วนงบลงทุนให้จัดทำโครงการภายใต้ชื่อ “จัดหาครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้างประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561” โดยมีการกำหนดกิจกรรมเป็นรายการครุภัณฑ์ที่ต้องจัดหา ในกรณีที่ได้รับงบประมาณเพิ่มเติม (เงินเหลือจ่าย) ให้ดำเนินการทำบันทึกข้อความแจ้งกองแผนฯให้ปรับวงเงินงบประมาณของโครงการ และครุภัณฑ์ที่จัดหาเพิ่มเติม กรณีได้รับอนุมัติไม่ตรงกับแหล่งงบประมาณ หรือหมวดงบประมาณที่เสนอขอ เช่น เสนอของบประมาณแผ่นดิน แต่ได้รับอนุมัติเป็นเงินบำรุง ต้องทำอย่างไร เจ้าของโครงการหรือหน่วยงานจะต้องทำบันทึกข้อความแจ้งกองแผนฯเพื่อขอปรับปรุงข้อมูลในระบบ DOC (กองแผนฯ สามารถดูข้อมูลได้จาก แผนปฏิบัติการฯ
ประเด็นคำถามที่พบบ่อย เมื่อได้รับจัดสรรเงินภายใต้ผลผลิต กิจกรรมหลัก ที่ไม่ตรงกับภารกิจของหน่วยงาน ควรทำอย่างไร? พิจารณาผลผลิต กิจกรรมหลักให้สอดคล้องกับโครงการ ไม่จำเป็นต้องอิงจากการจัดสรรงบประมาณ เนื่องจากกองแผนฯพิจารณาข้อมูลในมุมมองของการบริหารงบประมาณภาพรวมของหน่วยงานอย่างสมเหตุสมผล ยกเว้น งบประมาณในผลผลิตโครงการวิจัยและพัฒนา แผนงานโครงการชุดที่มีโครงการย่อยหลาย โครงการจะทำอย่างไร ? มี 2 ทางเลือก 1. ให้ลงข้อมูลแผนงานโครงการชุด และนำโครงการย่อยไปเป็นกิจกรรมภายใต้โครงการชุด (เหมาะสำหรับแผนงานโครงการชุดที่มีงบประมาณจากแหล่งเดียว ไม่ข้ามผลผลิตกิจกรรม และมีผู้ประสานหลักที่รวมข้อมูลชัดเจน) 2. ให้ลงเป็นรายโครงการย่อย และให้ระบุชื่อโครงการว่าอยู่ภายใต้แผนงานโครงการชุดใด (เหมาะสำหรับแผนงานโครงการชุดที่มีงบประมาณจากหลากหลายแหล่ง และลักษณะการดำเนินงานโครงการย่อยมีการดำเนินงานอย่างอิสระ)
ประเด็นคำถามที่พบบ่อย อยากเพิ่มโครงการและปรับแผนโครงการ ต้องทำอย่างไร ? ในช่วงสิ้นไตรมาสที่ 2 กองแผนฯจะประกาศให้หน่วยงานแจ้งปรับแผนในระบบ DOC โดยท่านสามารถทำบันทึกข้อความขอให้กองแผนฯปรับรายละเอียดแผนงานโครงการ กรณี มีโครงการเร่งด่วน สามารถ E-mail แจ้ง และตามด้วยบันทึก ระบุว่า ปรับอะไร? ทำไมถึงปรับ? ร้อยละการใช้จ่ายงบประมาณไม่ได้ 100% จะมีผลอะไรหรือไม่ ? กองแผนฯจะพิจารณาภาพรวมงบประมาณของหน่วยงานในระบบ DOC ต้องมีงบประมาณไม่ต่ำกว่าร้อยละ 85 ของงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (งบประมาณ + เงินบำรุง) และการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานในระบบ DOC เมื่อเปรียบเทียบกับค่าตัวเลขใช้จ่ายงบประมาณในระบบ GFMIS ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 85 เท่านั้น (เมื่อสิ้นปี)
ทำไม คะแนนตัวชี้วัด 1.1 น้อยจัง ตัวชี้วัดไม่ชัดเจน ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ ตัวชี้วัดไม่สามารถวัดได้ ไม่รายงานผลตัวชี้วัด (เมื่อสิ้นปี) การใส่รายละเอียดแผนงานไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง เช่น กลุ่มเป้าหมาย ควรระว่าใคร หรือหน่วยได้รับผลผลิตจากโครงการนี้ (บางโครงการเอาตัวชี้วัดกิจกรรมหรือโครงการมาใส่) ปีนี้คำรับรองจะ เริ่มหักคะแนนประเด็นนี้ ประโยช์ที่คาดว่าจะได้รับ เป็นการระบุผลกระทบเชิงบวกของโครงการ (บางครั้งนำวัตถุประสงค์หรือตัวชี้วัดโครงการมาใส่) การระบุประเภทโครงการ โครงการประเภทภารกิจหลัก ต้องอิงจาก บทบาท ภารกิจ และแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน แต่หน่วยงาน สนับสนุน จะเข้าใจว่าโครงการของหน่วยงานต้องเป็นโครงการ ประเภทสนับสนุนเสมอ หน่วยงานสนับสนุนสามารถเสนอโครงการที่ อยู่ในภารกิจหลักได้ถ้าผลักให้งานยุทธ์สำเร็จ บทบาททาง กม.
ทำไม คะแนนตัวชี้วัด 1.1 น้อยจัง การรายงานผลการดำเนินงาน - ลืมรายงานผลตัวชี้วัด รวมไปถึงบางท่านคิดว่าการรายงานร้อยละความก้าวหน้า คือการรายงานตัวชี้วัด ซึ่งเป็นการเข้าใจผิด - รายงานผลไม่สอดคล้องกับกิจกรรมที่ระบุไว้ หรือรายงานผลการดำเนินงานไม่ครบถ้วนตามกิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กลุ่มติดตามและประเมินผล กองแผนงานและวิชาการ DOC NRMS กรมวิทย์ – อย ติดตามงบลงทุน อัตราค่าตรวจวิเคราะห์ นิเทศงาน วีรวรรณ (มิ้ง) สมถวิล จุมพต (จุ่ม) สุพัสตา (เดือน) ลัดดาวัลย์ (ลัด) มนทิรา ชิสา (ติ๊ก) จุลภัทร (จุล)
ติดต่อสอบถาม 99037 หรือ 99080 กลุ่มติดตามและ ประเมินผล E-mail : กลุ่มติดตามและประเมินผล กองแผนฯ “ monitor_plan@dmsc.mail.go.th กลุ่มติดตามและ ประเมินผล 99037 หรือ 99080
การเข้าใช้งาน ระบบ DOC (สวส.) 1.เข้าหน้าเวป สวส.http://nih.dmsc.moph.go.th/ แล้วคลิ๊กที่ Icon “DOC” 2.ผู้รับผิดชอบโครงการ Log in เพื่อเข้าสู่ระบบโดยคลิ้กที่ tab menu “Login (สำหรับเจ้าหน้าที่)”บริเวณด้านบนซ้ายของหน้าจอ
การเข้าใช้งาน ระบบ DOC ( สวส.) 3.เมื่อ Log in เข้าใช้งานระบบแล้วท่านจะพบ tab menu ใช้งานตามสิทธิที่ ระบุไว้
ตั้งโครงการและเผนงานฯ กระบวนการของ สวส.ที่เกี่ยวข้องกับระบบ DOC จัดสรรงบประมาณ ผู้รับผิดชอบโครงการได้รับแจ้งงบประมาณที่ได้รับจัดสรร เสนอโครงการอนุมัติและจัดทำแผนปฏิบัติการ ให้ความรู้ กพว.และคณะทำงานติดตามและประเมินผลฯ เข้าร่วมอบรมฯโปรแกรม DOC ที่กองแผนฯจัด กพว.และคณะทำงานติดตามและประเมินผลฯ จัดเผยแพร่ความรู้การเข้าใช้งานระบบ และแจ้งน้ำหนักโครงการแก่ผู้รับผิดชอบโครงการ ตั้งโครงการและเผนงานฯ ผู้รับผิดชอบโครงการตั้งโครงการ/แผนงานในระบบภายในเวลาที่กำหนด แนบโครงการ ลงนำหนักโครงการและตัวชี้วัดที่สำคัญ ให้ถูกต้องครบถ้วน รายงาน ทุกโครงการ รายงานผลการดำเนินงาน ก่อนวันที่ 9 ของทุกเดือน(ตามปฏิทินการติดตามประเมินผลโครงการฯ สวส.) กรณี โครงการวิจัย แนบ แบบ ต1-ช/ด ในระบบ ในทุกๆไตรมาส
กลุ่มพัฒนาคุณภาพและวิชาการ สวส. (รับผิดชอบ ส่วนระบบ DOC) โทร.99456 มนทิรา พิมพ์มาดา (อ้อม) กมลทิพย์ (แป๋ม)