LOGO & TRADEMARK LOGO & TRADEMARK

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
Click Here Click Here. หน้าแรก รายละเอียด LINK Microsoft Word Microsoft Word โปรแกรมการพิมพ์ เอกสาร จดหมายที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดใน โลก ! ผมคิดว่ายังงั้น.
Mind Mapping อ. พิมพ์ชนก หาคำ 23 เมษายน 2556.
FIX COMMON PC PROBLEMS By Missis Jatuporn Surinseng Missis Chamaiporn Sommit.
เทคนิคการนำเสนอ Power Point
สิ่งที่ได้จากการ เรียนรู้ วิชาโปรแกรมประยุกต์. เสนอ อาจารย์ สมร ตาระ พันธ์
Adobe Photoshop ลักษณะ Software ที่ฉันชอบ ลักษณะ Software ที่ฉันชอบ วิธีการใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop วิธีการใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop เหตุผลที่ชอบ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
1. รู้ถึงความต้องการของตัวเอง ก่อนก่อนเริ่มต้นออกแบบ เมื่อคุณเริ่มคิดจะออกแบบโบรชัวร์ออกมาอย่างไร ให้เริ่มต้น สอบถามลูกค้าของคุณก่อนว่าทำไม เค้าต้องการโบร์ชัวร์
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
โครงงานจิตอาสา เรื่อง … เล่านิทานให้น้องฟัง จัดทำโดย กลุ่มจิตอาสา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ / ๓.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
การออกแบบและเทคโนโลยี
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
Content Team: คู่มือการป้องกันสินค้าลอกเลียนแบบ 9 July 2015
(Polymorphic Viruses)
ลายผ้าของแม่ โดย มัณฑนา สันติคุณากร.
บทที่ 5 เครื่องมือสืบค้นข้อมูล (Search Engine)
ระดับความเสี่ยง (QQR)
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
ปลาฉลามและนกชนิดต่างๆ
Integrated Information Technology
Visual Communication for Advertising Week2-4
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
LOGO & TRADEMARK LOGO & TRADEMARK
ขอแนะนำ PowerPoint 2007 การแนะนำคุณลักษณะใหม่ๆ.
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
SMS News Distribute Service
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ประติมากรรมเพื่อการพาณิชย์ (Commercial Sculpture) โดย อาจารย์สันติสุข แหล่งสนาม ภาคการศึกษาที่ 2/2559.
Catering SER 3102 วิชาการจัดเลี้ยง.
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
10 ข้อแตกต่างระหว่าง ผู้ชนะ กับ ผู้แพ้
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
เริ่มต้นสร้างบล็อกเวิร์ดเพรส
เล่าเรื่องอย่างผู้นำ Coaching by story
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

LOGO & TRADEMARK LOGO & TRADEMARK การออกแบบเครื่องหมายการค้าและตราสัญลักษณ์

ออกแบบโลโก้ หลักการ 1. อย่าใช้คลิปอาร์ต เจ้าของธุรกิจ เลือกใช้วิธีง่าย ๆ ในการออกแบบโลโก้ให้กับเว็บไซต์ โดยเลือกใช้คลิปอาร์ตแจกฟรีบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งลักษณะเป็นภาพลายเส้นกราฟิกง่าย ๆ แจกจ่ายให้ใช้ฟรีอย่างแพร่หลาย

ออกแบบโลโก้ หลักการ 2. อย่าใส่ลูกเล่นหรือเอฟเฟ็กต์กับโลโก้ข้อห้ามนี้แนะนำว่า ไม่ควรใช้เอฟเฟ็กต์ต่าง ๆ เช่น แสงสว่างเหลือง เงาด้านหลัง หรือมิตินูนต่ำกับโลโก้ เอฟเฟ็กต์พวกนี้เหมาะกับงานสร้างสรรค์กราฟิกและรูปภาพในเว็บไซต์มากกว่า ซึ่งการใช้เอฟเฟ็กต์จะส่งผลให้โลโก้ที่ได้ดูไม่ชัดเจน รกสายตา มากกว่าชวนมอง

ออกแบบโลโก้ หลักการ 3. โลโก้ไม่ใช่แบนเนอร์อย่าออกแบบโลโก้ให้มีลักษณะเหมือนแบนเนอร์โฆษณาในเว็บไซต์ โดยเฉพาะรูปแบบที่เป็นการใส่โลโก้เข้าไปเต็มพื้นที่สี่เหลี่ยม

ออกแบบโลโก้ หลักการ 4. โลโก้ผสมรูปนักออกแบบโลโก้มือโปรจะไม่พยายามผสมผสานกราฟิก เข้าไปเป็นเนื้อเดียวกับตัวหนังสือที่ปรากฏใน โลโก้เนื่องจากการทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้มันดูดีค่อนข้างยากแล้ว ต้องใช้สมองตีความว่า รูปกราฟิกที่เห็นคือตัวอักษรอะไร

ออกแบบโลโก้ หลักการ 5. โลโก้ที่ใช้ตัวอักษรอย่างเดียว แม้การเลือกใช้โลโก้เป็นตัวอักษรทั้งหมด จะง่ายต่อการออกแบบ แต่มันก็ง่ายต่อการถูกละเลยเช่นกัน ถ้าเป็นไปได้มีงบประมาณ อาจจะทดลองเอาโลโก้ของคุณไปวางรวมกับโลโก้ของคนอื่นที่ใช้ตัวอักษรหมดแบบเดียวกับคุณ แล้วให้กลุ่มเป้าหมายลองดูว่าจำโลโก้ของคุณได้มากน้อยเพียงใด

ออกแบบโลโก้ หลักการ 6. โลโก้ที่เป็นชื่อย่อถ้าชื่อบริษัทของคุณยาวมาก การใช้ชื่อเต็ม ๆ มาสร้างโลโก้ดูจะเป็นเรื่องยากยิ่งนัก ไอเดียของเจ้าของกิจการส่วนใหญ่จะเลือกใช้ชื่อย่อแทน ซึ่งยากมากที่จะออกแบบมาแล้วจะเหมะสม ยิ่งถ้าไม่ได้มีงบประมาณในการใช้สื่อประชาสัมพันธ์ด้วยแล้ว กว่าโลโก้ที่เป็นชื่อย่อของคุณจะได้รับความไว้วางใจ บางทีธุรกิจของคุณอาจจะหายไปก่อนก็ได้

ออกแบบโลโก้ หลักการ 7. โลโก้สุดซับซ้อน-รายละเอียดมากเกินไปสำหรับโลโก้ที่เป็นรูปวาด ซึ่งจะมีรายละเอียดยุบยิบเต็มไปหมด รวมถึงพวกที่ใช้ภาพถ่าย หรือเลย์เอาต์ที่ซับซ้อน (เช่น ความสูงต่ำของอักษรที่ไม่เท่ากัน สีสันที่ไม่เข้าพวก ฯลฯ) บอกได้เลยว่า โลโก้ลักษณะนี้มีโอกาสล้มเหลวสูงมาก หลักการง่าย ๆ ก็คือ ยิ่งมีรายละเอียดมากเท่าไร โอกาสที่ลูกค้าจะจำได้ก็น้อยลงเท่านั้น

ออกแบบโลโก้ หลักการ

TRADEMARK การออกแบบโลโก้ 01 ขั้นตอน ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์ ขั้นตอนในการออกแบบโลโก้แบบมืออาชีพนั้น จะมีรายละเอียดที่สำคัญต่าง ๆ ดังนี้ 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again) 02 04 06

TRADEMARK การออกแบบโลโก้ 01 ขั้นตอน ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์ 1 ศึกษาว่าโลโก้คืออะไร และมีหน้าที่อย่างไร ก่อนที่คุณจะออกแบบโลโก้ คุณต้องเข้าใจก่อนว่า โลโก้คืออะไร ใช้เป็นตัวแทนของอะไร และเอาไว้ใช้ทำอะไร ? 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again) 02 04 06

TRADEMARK การออกแบบโลโก้ 01 ขั้นตอน ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์ 2 ศึกษาหลักการในการออกแบบโลโก้ คุณได้รู้จักความหมายและหน้าที่ของโลโก้แล้ว ตอนนี้คุณจะได้รู้หลักในการสร้างโลโก้ที่ดี โดยหลักการพื้นฐานในการออกแบบโลโก้ มีดังนี้ 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again) 02 04 06

TRADEMARK การออกแบบโลโก้ 01 ขั้นตอน •โลโก้ต้องสื่อตัวตนได้ ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์ •โลโก้ต้องสื่อตัวตนได้ •โลโก้ต้องเป็นที่จดจำ •โลโก้ต้องสื่อได้แม้ไม่ได้ใช้สีสัน •โลโก้ต้องสื่อได้แม้ขนาดเล็ก ๆ 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again) 02 04 06

TRADEMARK การออกแบบโลโก้ 01 ขั้นตอน ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์ 3 ศึกษาโลโก้ที่ประสบความสำเร็จและข้อผิดพลาดต่าง ๆ 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again) 02 04 06

TRADEMARK การออกแบบโลโก้ 01 ขั้นตอน ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์           4. เรียนรู้การใช้งานโปรแกรมและเสร็จสิ้นการทำโลโก้ ก่อนที่จะเริ่มกระบวนการออกแบบ ให้จำไว้ว่าเราไม่สามารถออกแบบได้ดีจากการทำในคอมพิวเตอร์ แนะนำให้เรารวมหัวออกแบบลงในกระดาษก่อน แล้วสแกนออกมาเป็นไฟล์ดิจิตอลเพื่อจัดเก็บแล้วส่งไฟล์รวมถึงแนวคิดในการออกแบบโลโก้ 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again) 02 04 06

TRADEMARK 01 สิ่งที่ควรคำนึงในการออกแบบโลโก้ ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์ 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again)           1. โลโก้ที่ดีต้องจดจำได้ง่าย  02 04 06

TRADEMARK 01 สิ่งที่ควรคำนึงในการออกแบบโลโก้ ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์ 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again)           2. ตัวอักษรบนโลโก้สำคัญมาก คือฟอนต์ในโลโก้นั้นสำคัญมาก ๆ เพราะมันสามารถที่จะส่งเสริมหรือทำลายโลโก้ของเรานั้น ได้ในทันทีหากเราเลือกที่ไม่เหมาะสมกับบุคลิกของธุรกิจ เทคนิคง่าย ๆ ของการใช้ฟอนต์กับโลโก้เราควรจะใช้ฟอนต์ไม่เกิน 10–20 ตัวอักษรเท่านั้น 02 04 06

TRADEMARK 01 สิ่งที่ควรคำนึงในการออกแบบโลโก้ ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์ 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again) 02 04 06

TRADEMARK 01 สิ่งที่ควรคำนึงในการออกแบบโลโก้ ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์ 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again)           3. เลือกสีให้เหมาะสม สีทุกสีมีความหมาย ทำให้เรามอง โลโก้แล้วรู้สึกถึงสิ่งที่กำลังถูกสื่อออกมา พยายามเลือกสีให้เหมาะสมและดูบ่งบอกถึงธุรกิจ 02 04 06

TRADEMARK 01 สิ่งที่ควรคำนึงในการออกแบบโลโก้ ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์ 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again)           4. อย่าใช้ Effect บนโลโก้เยอะเกินไป โลโก้นั้นต้องการความเรียบง่าย และความหมายที่ดูแล้วสามารถจดจำได้ง่าย 02 04 06

TRADEMARK 01 สิ่งที่ควรคำนึงในการออกแบบโลโก้ ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์ 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again) 02 04 06

TRADEMARK 01 สิ่งที่ควรคำนึงในการออกแบบโลโก้ ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์ 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again)           5. ออกแบบโลโก้จากพื้นหลังสีขาว เริ่มแรกออกแบบพยายามใช้พื้นหลังสีขาวก่อน เพราะว่าจะสามารถทำให้เราเห็นองค์ประกอบต่าง ๆ ของโลโก้ได้ชัดมากขึ้น หลังจากออกแบบบนพื้นหลังสีขาวเสร็จแล้วค่อยนำไปต่อยอดทำอย่างอื่นต่อ เช่น พื้นหลังสีดำหรือทำเป็นลายไม้ สิ่งเหล่านี้จะมาคอยช่วยส่งเสริมโลโก้ของเราในภายหลัง 02 04 06

TRADEMARK 01 สิ่งที่ควรคำนึงในการออกแบบโลโก้ ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์ 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again) 6. เล่นกับพื้นที่ว่าง ลองเล่นกับพื้นที่ในตัวโลโก้ ให้มีความหลากหลายมากขึ้น และที่สำคัญต้องทำให้โลโก้เกิดความสมดุลของการจัดวาง การเล่นกับพื้นที่ว่างนั้นจะสามารถทำให้โลโก้ที่เป็นตัวอักษรดูไม่อึดอัดจนเกินไป 02 04 06

TRADEMARK 01 สิ่งที่ควรคำนึงในการออกแบบโลโก้ ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์ 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again) 02 04 06

TRADEMARK 01 สิ่งที่ควรคำนึงในการออกแบบโลโก้ ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์ 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again) 7. อย่าใช้สีรุ้ง สีเยอะ ๆ ดูสวยดี แต่กับโลโก้นั้นไม่ใช่ โลโก้ที่ดีหรือโลโก้ระดับโลกนั้น สังเกตได้เลยว่าใช้สีไม่เกิน 1–2 สี เพียงเพื่อต้องการให้คนจดจำกับสีนั้นไปตลอดเวลา 02 04 06

TRADEMARK 01 สิ่งที่ควรคำนึงในการออกแบบโลโก้ ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์ 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again) 02 04 06

TRADEMARK 01 สิ่งที่ควรคำนึงในการออกแบบโลโก้ ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์ 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again) 8. โลโก้ไม่ใช่ดูดีอย่างเดียวแต่ต้องสื่อความหมายให้ได้ โลโก้เป็นหน้าตาในส่วนแรกของบริษัทที่ลูกค้าจะดู จึงไม่จําเป็นต้องออกแบบให้ดูดีมากมาย แต่ควรที่จะต้องออกแบบให้สื่อความหมายได้ และทำให้คนจดจำได้ง่าย เพราะโลโก้จะอยู่กับธุรกิจหรือแบรนด์นั้น ๆ ไปตลอด 02 04 06

TRADEMARK 01 สิ่งที่ควรคำนึงในการออกแบบโลโก้ ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์ 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again) 02 04 06

TRADEMARK 01 สิ่งที่ควรคำนึงในการออกแบบโลโก้ ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์ 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again) 9. อย่า Copy งานคนอื่น ถ้าคิดไม่ออกหรือทำไม่ได้ ไม่ควรจะไป Copy งานคนอื่น เพราะสมัยนี้โลกแห่งอินเตอร์เน็ตมันกว้างค้นหาไม่นานก็เจอ คำว่า Inspiration กับ Copy มันต่างกัน ถ้าเป็นแค่Inspiration ยังพอได้แต่ถ้า Copy เลยอาจจะทำให้ความน่าเชื่อถือของเราลดลง 02 04 06

TRADEMARK 01 สิ่งที่ควรคำนึงในการออกแบบโลโก้ ศิลปะเพื่องานนิเทศศาสตร์ 01 To change the image behind the Mock up. Select the layer - > Right Click -> Send to Back -> Delete the image -> Drag & Drop your Own Picture -> Send to Back (again) 10. โลโก้ที่ดีต้องผ่านการคิดอย่างรอบคอบ หลายคนลงมือทำโลโก้ไปโดยที่ยังไม่มีจุดประสงค์ หรือไอเดียด้วยซ้ำ ซึ่งมันไม่ดีเสียเลยเพราะเราต้องไม่ลืมว่าโลโก้นั้นจะต้องอยู่กับธุรกิจหรือองค์กรนั้นต่อไปอีกนาน เพราะว่าก่อนเริ่มทำโลโก้ทุกครั้งควรจะต้องคิดให้รอบคอบในทุก ๆ อย่างหรือทุกองค์ประกอบเสียก่อน  02 04 06

QUESTION Q & A