ภูมิศาสตร์มนุษย์ ศึกษาวิวัฒนาการของมนุษย์ตั้งแต่ในสมัยระยะแรกจนกระทั่งสมัยปัจจุบันโดยศึกษาการเคลื่อนย้ายของมนุษย์จากแหล่งกำเนิดไปสู่ภูมิภาคต่างๆของโลก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตามประเด็น ต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตถึง.
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบ บริเวณใดของโลก แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุนับเป็นแหล่งอารยธรรม เริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
ศาสนาคริสต์111
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
สถานการณ์ : ความหลากหลายทางชีวภาพ
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภูมิอากาศของทวีปยุโรป
อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
มาทำความรู้จักกับ มาทำความรู้จักกับ เห็ดหูหนูขาว.
ปลาฉลามและนกชนิดต่างๆ
น้ำและมหาสมุทร.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
World Time อาจารย์สอง Satit UP
อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 21 เมษายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
การออกแบบลวดลาย ประวัติและความเป็นมา โดย อ.จรรจิรา โมน่า.
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
บทบาทขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่าง ๆ
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การจัดการความรู้ Knowledge Management
ยิ้มก่อนเรียน.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
ประเทศบรูไน จัดทำโดย ด.ญ.ธัชพรรณ วรรณภิละ ม.2/8 เลขที่ 11
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
นำเสนอโดย ABC DEFG คณะเกษตรศาสตร์สาขา สัตวศาสตร์
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภูมิศาสตร์มนุษย์ ศึกษาวิวัฒนาการของมนุษย์ตั้งแต่ในสมัยระยะแรกจนกระทั่งสมัยปัจจุบันโดยศึกษาการเคลื่อนย้ายของมนุษย์จากแหล่งกำเนิดไปสู่ภูมิภาคต่างๆของโลก การแบ่งเชื้อชาติ การรวมกลุ่มของมนุษย์จนกลายเป็นประเทศขึ้นโดยมี ภาษา ศาสนา และวัฒนธรรมเป็นของตน การดำเนินชีวิต การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ สภาพความเป็นอยู่ของมนุษย์ที่อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เป็นสังคม การสร้างบ้านเรือน การตั้งถิ่นฐาน และการประกอบอาชีพ

การดำเนินชีวิตของมนุษย์ขึ้นอยู่กับสภาวะแวดล้อมธรรมชาติที่อยู่รอบตัว เช่น เขตทะเลทราย น้ำฝนน้อย จะเลี้ยงสัตว์เร่ร่อน การเพาะปลูกตามโอเอซิส ทำให้มนุษย์พยายามปรับปรุงดัดแปลงสภาพแวดล้อมนั้น จากการเปลี่ยนแปลงทำให้มนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาดีขึ้น จะเห็นได้ว่า ได้มีการสร้างเขื่อน ปรับปรุงดินทรายให้กลายเป็นแหล่งเกษตรกรรม

ทฤษฎีภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับภูมิศาสตร์มนุษย์ ทฤษฎีภูมิศาสตร์ Geographic Theory ทฤษฎีดินเสื่อม Soil Exhaustion Theory ทฤษฎีลักษณะภูมิประเทศ Topographic Theory ทฤษฎีการเร่ร่อน Nomad Theory

ทฤษฎีภูมิศาสตร์ Geographic Theory สาระสำคัญว่า สิ่งแวดล้อมที่ดีเป็นสิ่งจำเป็นที่สุดในการสร้างวัฒนธรรมของมนุษย์ ได้แก่ สภาพอากาศที่เหมาะสม คือ มีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 3-18C มีความชื้นโดยเฉลี่ย ประมาณ 75% มีลักษณะอากาศคงที่ไม่แปรปรวนมากเกินไป เช่น อากาศไม่ร้อนจัด หรือหนาวจัด หรือแห้งแล้งเกินไป

ทฤษฎีดินเสื่อม Soil Exhaustion Theory สาระสำคัญว่า บริเวณที่เคยมีความเจริญรุ่งเรืองทางด้านอารยธรรมในอดีต และต่อมาได้เสื่อมลง เนื่องจากการใช้ดินมากเกินไปทำให้ดินเสื่อมสภาพ จนไม่สามารถทำการเพาะปลูกได้อีกต่อไป มนุษย์จำเป็นต้องอพยพไปอาศัยในบริเวณที่มีดินที่อุดมสมบูรณ์กว่า แปล่งอารยธรรมที่สร้างสมสืบกันมาถูกทอดทิ้งให้กลายเป็นที่รกร้างไป การทำลายป่าไม้เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกินน้ำท่วม เนื่องจากผิวดินชั้นบนซึ่งทำหน้าที่ดูดซึมน้ำถูกชะล้างไปหมดสิ้น

ทฤษฎีลักษณะภูมิประเทศ Topographic Theory สาระสำคัญว่า ระยะทางที่ตั้งชุมชนซึ่งอยู่ใกล้หรือไกลทะเลนั้น จะมีผลกระทบต่อความเจริญก้าวหน้าของประเทศนั้นๆเนื่องจากสามารถติดต่อสื่อสารกันได้สะดวกอันเป็นผลดีโดยตรงต่อการประกอบอาชีพการค้าและการประมง เช่น ประเทศในกลุ่มทวีปยุโรปมีลักษณะชายฝั่งเว้าแหว่งมาก ซึ่งส่งเสริมให้กลายเป็นเมืองท่าที่หมาะสม

ทฤษฎีการเร่ร่อน Nomad Theory สาระสำคัญว่า ในสมัยโบราณประชากรผู้ประกอบอาชีพเร่ร่อน จะเป็นกลุ่มชนที่มีความคิดริเริ่มในการสร้างกฏเกณฑ์ต่างๆในหมู่คณะของตนเอง ทั้งนี้เพื่อสะดวกในการปกครอง มีการแต่งตั้งตำแหน่งลดหลั่นกันตามลำดับ ซึ่งเชื่อกันว่า ประชากรกลุ่มนี้เป็นผู้วางรากฐานทางวัฒนธรรมและเนื่องจากประชากรที่เร่ร่อนยังชอบรุกรานดินแดนของผู้อื่น จึงดูเสมือนว่าเป็นวิธีการกระจายพลเมือง และเผยแพร่วัฒนธรรมของตนเองไปสู่เพื่อนบ้านใกล้เคียงด้วย

ทฤษฎีการกำเนิดมนุษย์ มี3ทฤฎี ทฤษฎีโฮโมเยนนีซีส Homogenesis Theory คือ ทฤษฎีที่เชื่อว่ามนุษย์เกิดขึ้นในหลายบริเวณพร้อมๆกัน ทฤษฎีโมโนเยนนีซีส Monogenesis Theory คือ ทฤษฎีที่เชื่อกันว่ามนุษย์สืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษเดียวกัน คือ มนุษย์เผ่าพันธุ์ที่ฉลาด Wise man หรือ Homo Sapiens ทฤษฎีโพลี่เยนนีซีส Polygenesis Theory คือ ทฤษฎีที่เชื่อกันว่ามนุษย์นั้นมากจากหลายบรรพบุรุษแล้วมารวมเป็นบรรพบุรุษเดียวกัน จากทั้ง 3 นี้ ทฤษฎีโมโนเยนนีซีส Monogenesis Theory ได้รับการเชื่อถือมากที่สุด เนื่องจากได้ค้นพบโครงกระดูก ของมนุษย์โบราณทางใต้และทางตอนล่างของแอฟริกา ซึ่งเป็นหลักฐานที่แน่ชัดว่า มนุษย์ได้ถือกำเนิดในบริเวณนี้และอาศัยอยู่เป็นเวลานาน ระยะต่อมาจึงได้เคลื่อนย้ายไปสู่ภูมิภาคต่างๆทั้วโลก และแบ่งแยกออกเป็นเชื้อชาติต่างๆตามลักษณะสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ

แหล่งกำเนิดของมนุษย์ Origin of Man มนุษย์เริ่มเกิดขึ้นครั้งแรกในตอนต้นยุคธรณีวิทยายุคเพรสโตซีนPleistocene Era อายุประมาณหนึ่งล้านปีมาแล้ว ซึ่งเป็นยุคท้ายที่โลกถูกปกคลุมด้วยน้ำแข็ง เมื่ออุณหภูมิโลกสูงขึ้น น้ำแข็งละลาย ทำให้เกิดสิ่งมีชีวิตขึ้นมาบนโลก เริ่มจากสัตว์เซลล์เดียว จนกลายเป็นหลายเซลล์ กลายเป็นสัตว์ใหญ่ เลือดเริ่มอุ่นและเลี้ยงลูกด้วยนม เช่น ลิง ครึ่งคนครึ่งลิง ต่อมาได้มีการวิวัฒนาการจนมีลักษณะใกล้เคียงมนุษย์เรียกว่า มนุษย์วานร Sub-Men แต่มีสมองเล็กกว่า ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ในปัจจุบัน คือ มนุษย์เผ่าพันธ์ที่ฉลาดHomo Sapiens

มนุษย์มีลักษณะเด่น มันสมอง กล่องเสียง รู้จักประดิษฐ์ เครื่องมือเครื่องใช้ อาวุธต่างๆ ที่อยู่อาศัย มนุษย์สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพธรรมชาติได้มากกว่าสัตย์นี้เองจึงถูกเรียกว่า สัตว์ประเสริฐ

สายบรรพบุรุษของมนุษย์ แบ่งเป็น 3 ลำดับก่อนถึงมนุษย์ ออสตราโลพิเตคัส Australopithecus พิเธแคนโทรปัส อิเรกตัส Pethecanthropus Erectus โฮโมเซเปียนส์ Homo Sapiens

ออสตราโลพิเตคัส Australopithecus เป็นสัตว์ที่คล้ายมนุษย์มากที่สุด อาศัยอยู่ในทวีปแอฟริกา แตกต่างจากลิงคือ ฟัน รูปร่างเล็ก เดินตัวตรง สูงประมาณ1.2m น้ำหนักตัว20kg ขนาดสมองเท่ากับลิงกอริลล่า

พิเธแคนโทรปัส อิเรกตัส Pethecanthropus Erectus เริ่มเป็นมนุษย์วานร เดินสองขา มือและแขนเคลื่อนไหวอิสระ มีสมองฉลาด ตามองตรง คือ มนุษย์ชวา และมนุษย์ปักกิ่ง มนุษย์ชวา ขนาดสมองใหญ่กว่าลิง กะโหลกหนา เบ้าตาลึก โหนกคิ้วสูงกว่ามนุษย์ ขากรรไกรกว้าง เคี้ยวเนื้อสัตว์ได้ มนุษย์ปักกิ่ง ฟันคล้ายฟันมนุษย์ สมองใหญและเจริญกว่ามนุษย์ชวา

มนุษย์ชวา Java man อาศัยอยู่บนเกาะชวา สมองใหญ่กว่าลิง เดิน 2 ขา ขากรรไกรแข็งแรง

มนุษย์ปักกิ่ง Peking man เจริญกว่ามนุษย์ชวา

โฮโมเซเปียนส์ Homo Sapiens มีลักษณะคล้ายมนุษย์มากที่สุด แบ่งเป็น มนุษย์นีอันเดอร์ธัล Neanderthal พบในเยอรมันนีใกล้แม่น้ำนีอันดรา รูปร่างเตี้ย ล่ำ มือและน่องสั้น สมองใกล้เคียงมนุษย์ หน้าผากสูง สันคิ้วโปน สามารถติดต่อกับมนุษย์เผ่าพันธุ์อื่นได้ มนุษย์โครมันยอง Cro-Magnon อยู่ในเอเชียไมเนอร์และยุโรป รูปร่างตรง ไม่ล่ำ หน้าตาดี สามารถวาดภาพ ทำเครื่องมือ เครื่องใช้ เข็มเย็บผ้า เบ็ดตกปลาจากกระดูดสัตว์ เครื่องนุ่งหุ่มจากหนังสัตว์ได้

มนุษย์นีอันเดอร์ธัล Neanderthal พบแม่น้ำนีอันดรา เยอรมันนี และฝรั่งเศส เตี้ยล่ำ มือและน่องสั้น หน้าผากสูง สันคิ้วโปน อาจเพราะว่าสภาพแวดล้อมที่ปกคลุมด้วยหิมะ ไม่สามารถติดต่อกับมนุษย์เผ่าพันธุ์อื่นได้

มนุษย์โครมันยอง Cro-Magnon รูปร่างตั้งตรง ไม่ล่ำ หน้าตาดี ตอนกลางฝรั่งเศส

การเคลื่อนย้ายของมนุษย์

ช่องแคบแบริ่ง

เส้นทางการเคลื่อนย้ายของมนุษย์สมัยโบราณ ช่องแคบแบริ่ง

ช่องแคบไอรีช

ช่องแคบอังกฤษ

ช่องแคบเมดิเตอร์เรเนียน

ช่องแคบเกาหลี

ช่องแคบทอร์เรส

ช่องแคบบาสส์

ไหล่ทวีปซุนดา

ผลของการอพยพของมนุษย์ทั่วโลก รูปร่างทางกายภาพของมนุษย์ เกิดสังคมที่มีความเข้มแข็ง อดทน เกิดการปะปนทางเชื้อชาติ สีผิว เหยียดผิว การเคลื่อนย้ายพืชพรรณ สัตว์ เกิดเป็นอาณานิคม

เชื้อชาติ ภาษา ศาสนา เชื้อชาติ แบ่งเป็น 3 เชื้อชาติ คือ คอเคซอยด์ มองโกลอยด์ นิกรอยด์

เชื้อชาติคอเคซอยด์ ประชากรผิวขาว สูงใหญ่ หน้าเรียว จมูกโด่ง ผมสีน้ำตาลทอง อาศัยทวีปยุโรป เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ตอนเหนือทวีปแอฟริกา

เชื้อชาติมองโกลอยด์ เตี้ย-สูง ศรีษะกว้าง ผิวเหลืองคล้ำ ผมดำ โหนกแก้มสูง อาศัยอยู่เหนือทวีปยูเรเซีย ตะวันออกทวีปเอเชีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กลางประเทศจีน มาลายู อเมริกาเหนือ อเมริกากลาง อเมริกาใต้

เชื้อชาตินิกรอยด์ ผิวดำ จมูกกว้าง ริมฝีปากหนายื่น คางเล็ก ผิวสีน้ำตาลดำ ผมหยิกหยาบขอดติดแน่น อาศัยอยู่ แอฟริกา

ภาษา ประมาณ 20 ตระกูล แบ่งหลักๆได้ 6 ส่วน การแพร่กระจายของภาษาเกิดจาก การอพยพประชากร ขยายอำนาจล่าอาณานิคม ชาตินิยม เศรษฐกิจ ภาษาอินโดยูโรเปียน ใช้ในยุโรป รัสเซีย อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ออสเตรเลีย บางส่วนของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อินเดีย กระจายตัวได้มากเนื่องจากการล่าอาณานิคม คือภาษาอังกฤษ ภาษาเฮมิโต-เซมิติก ใช้ในลุ่มแม่น้ำไทกรีสยูไฟรติส อิรัก ซีเรีย แอฟริกาเหนือ แอตแลนติก เช่น ภาษาอาระบิก ฮิบรู แอมฮาริก ภาษาตะวันออก เช่น ภาษาจีน ภาษาไทย พม่า ทิเบต เกาหลี ญี่ปุ่น ภาษาเมเลย์-โปลิเนเชี่ยน ภาษาตามหมู่เกาะ เช่น มาดากัสการ์ อินโดนีเซีย เกาะแปซิฟิก ฮาวาย อีสเตอร์ อื่นๆเช่น ภาษายูราล-อัลตาอิก ภาษาดาร์วิเดียน

ศาสนา เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ เชื่อในสิ่งเดียวกัน มีหลายศาสนา ดังนี้ ศาสนาฮินดู เกิดจากศาสนาพราหมณ์ มีวรรณะ และ งดเนื้อสัตว์ นักถือมากในอินเดีย ศาสนาพุทธ นับถือมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เกิดในเนปาล ศาสนาคริสต์ นับถือมากในยุโรป อเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ศาสนายิว นับถือมากในอิสราเอล ศาสนาอิสลาม นับถือมากในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ จีน อินเดีย ปากีสถาน บังคลาเทศ มลายู อินโดนีเซีย ศาสนาขงจื้อ พบในจีน ศาสนาซินโต พบในญี่ปุ่น ศาสนาโซโรฮัสเตอร์ นับถือดวงอาทิตย์ พบในเปอเซีย ศาสนาชิน พบในอินเดีย ลัทธิเต๋า พบในจีน