ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
BC421 File and Database Lab
Advertisements

เสรี ชิโนดม MS SQLServer 7 เสรี ชิโนดม
ภาษา SQL (Structured Query Language)
กลุ่มคำสั่ง SQL สามารถแบ่งได้ดังนี้
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง Basic SQL
MySQL.
SQL - Structured Query Language
Structured Query Language (SQL)
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
Database Programming Exceed Camp #2 24 October 2005.
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
SQL Structured Query Language.
การสอบถามข้อมูลด้วยฟังก์ชั่นสำหรับ
CHAPTER 12 SQL.
SQL Structured Query Language.
SQL (Structure Query Language) ตอนที่ 1
JSP ติดต่อฐานข้อมูล.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Computer programming
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การใช้งานโปรแกรม SPSS
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
Database & DBMS Architecture วรวิทย์ พูลสวัสดิ์. 2 2 ฐานข้อมูล (Database) - Data and its relation - Databases are designed to offer an organized mechanism.
MS-Access. SQL สามารถเรียกใช้ฐานข้อมูล ได้ทุกค่าย Access MySQL Foxpro DBF DB2Oracle MS SQL.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการกำหนด โครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
ประเภทของคำสั่งของภาษา SQL
Database Design & Development
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
DBMS (Database Management System)
ภาษา SQL (Structured Query Language)
เกม คณิตคิดเร็ว.
ฐานข้อมูล (DATABASE) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรวัต แสงสุริยงค์
SQL Structured Query Language.
SQL (Structured Query Language)
โดย อ.อภิพงศ์ ปิงยศ รายวิชา สธ312 ระบบการจัดการฐานข้อมูลทางธุรกิจ
SQL (Structured Query Language)
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
SQL [ Standard Query Language ]
SQL (Structured Query Language)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
Chapter 9 : ภาษาทางด้านฐานข้อมูลคำสั่ง SQL (SQL Command)
Serial Communication.
BC320 Introduction to Computer Programming
โดย อ.อภิพงศ์ ปิงยศ รายวิชา สธ312 ระบบการจัดการฐานข้อมูลทางธุรกิจ
Work Shop 1.
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
การจัดการข้อมูลขั้นสูง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 06 : Microsoft Excel (Part2) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
Variable Constant.
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
คำสั่งสร้างฐานข้อมูล
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Array: One Dimension Programming I 9.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
Computer Game Programming
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฏฐพร พิมพายน

ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล การกำหนดโครงสร้างข้อมูล การบันทึก ปรับปรุง ลบ และการเรียกข้อมูลอย่างง่าย การเรียกค้นข้อมูล

การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล โครงสร้างของภาษาเอสคิวแอล (Structured Query Language) สามารถสร้างและปฏิบัติการกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์โดยเฉพาะ พัฒนาขึ้นมาจากแนวคิดของ relational calculus และ relational algebra

การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล ประเภทของคำสั่งของภาษา SQL ภาษาสำหรับการนิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL) ภาษาสำหรับการจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language : DML) ภาษาควบคุม (Data Control Language : DCL)

การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล ชนิดของข้อมูลที่ใช้ในภาษา SQL ตัวหนังสือ ความยาวคงที่ (Fixed-length Character) จะใช้ char(n) หรือ character(n) ความยาวไม่คงที่ (Variable-length Character) จะใช้ varchar(n) จำนวนเลข มีจุดทศนิยม (Decimal) จะใช้ dec(m,n) หรือ decimal(m,n) ไม่มีจุดทศนิยม (Integer) จะใช้ int, integer (10 หลัก) หรือ smallint (5หลัก) เลขจำนวนจริง (Number) จะใช้ number(n)

การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล ชนิดของข้อมูลที่ใช้ในภาษา SQL ข้อมูลในลักษณะอื่นๆ วันที่และเวลา (Date/Time)

การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล ลักษณะการใช้งานของภาษา SQL ภาษา SQL ที่ตอบโต้ได้ ใช้เพื่อปฏิบัติงานกับฐานข้อมูล โดยตรง ภาษา SQL ที่ฝังในโปรแกรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความสามารถของภาษา SQL ให้มากยิ่งขึ้น

การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล ภาษาสำหรับนิยามข้อมูล ตาราง สร้างตาราง CREATE TABLE <table name> (<column_name><>[<size>][[constraint<constraint name>]constraint type] [column name>data type>[<size>],…]); ลบตาราง DROP TABLE <table name>[CASECADE CONSTRAINTS];

การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล ตาราง เปลี่ยนแปลงโครงสร้างตาราง ALTER TABLE <table name> Database update (<column name> data type [size]);

การกำหนดโครงสร้างของข้อมูล ดัชนี สร้างดัชนี CREATE INDEX <index name> on <table name>(<column>name>[,<column name>]..); ลบดัชนี DROP INDEX <index name>;

การบันทึก ปรับปรุง ลบ และการเรียกข้อมูลอย่างง่าย การบันทึก ปรับปรุง ลบ และการเรียกข้อมูลอย่างง่าย การบันทึกข้อมูล ปรับปรุง และการลบข้อมูล เพิ่มข้อมูลทีละแถว INSERT INTO <table name>[(column1, column2,….)] values (<value1, value2,…>); เพิ่มข้อมูลโดยการใช้คำสั่งค้นหาข้อมูล SELECT statement;

การบันทึก ปรับปรุง ลบ และการเรียกข้อมูลอย่างง่าย การบันทึก ปรับปรุง ลบ และการเรียกข้อมูลอย่างง่าย ปรับปรุงแถวข้อมูล UPDATE <table name> SET<column1>[, column2, ...)]=<expression|subquery> [WHERE <condition>]; ลบข้อมูลทั้งแถว DELETE FROM <table name>

การบันทึก ปรับปรุง ลบ และการเรียกข้อมูลอย่างง่าย การบันทึก ปรับปรุง ลบ และการเรียกข้อมูลอย่างง่าย การเรียกค้นข้อมูลอย่างง่าย SELECT <column1, column2,…> FROM <table name> [WHERE <condition>];

การบันทึก ปรับปรุง ลบ และการเรียกข้อมูล อย่างง่าย โอเปอร์เรเตอร์ สามารถแยกออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ โอเปอเรเตอร์คณิตศาสตร์ ได้แก่ plus(+), minus(-), divide(/), multiply(*), modula(%) โอเปอเรเตอร์เปรียบเทียบ จะได้ค่ากลับคืนมา 3 ค่า คือ TRUE, FALSE และ UNKNOW (ในกรณีค่าที่เปรียบเทียบเป็น Null) โอเปอเรเตอร์อักขระ ได้แก่ LIKE ใช้ร่วมกับ ‘%’ หรือ ‘_’ โอเปอเรเตอร์ตรรกะ ได้แก่ AND, OR, NOT, IN, BETWEEN…AND

การเรียกค้นข้อมูล ฟังก์ชัน มีทั้งหมด 6 ประเภท คือ ฟังก์ชันในการรวม (Aggregate functions) COUNT, SUM, AVG, MAX, MIN ฯลฯ ฟังก์ชันวันและเวลา (Date and tune functions) ADD_MONTHS, LAST_DAY, MONTHS_BETWEEN ฯลฯ ฟังก์ชันคณิตศาสตร์ (Arithmetic functions) ABS, EXP, ฟังก์ชันทางตรีโกณ, LN, LOG, MOD, SQRT ฯลฯ

การเรียกค้นข้อมูล ฟังก์ชันตัวอักขระ (Character functions) CHR, CONCAT, LOWER, UPPER, REPLACE, SUBSTR ฯลฯ ฟังก์ชันการแปลง (Converter functions) TO_CHAR, ฟังก์ชันอื่นๆ (Miscellaneous functions)

การเรียกค้นข้อมูล การเรียกดูข้อมูลในรูปแบบต่างๆ การเรียกดูข้อมูลโดยใช้ฟังก์ชันรวม เป็นการจัดกลุ่มข้อมูลโดยใช้คำสั่ง GROUP BY SELECT <column1, column2, …> FROM <table name> [WHERE <condition>] [GROUP BY <grouping column>] [HAVING <condition>]

การเรียกค้นข้อมูล การเรียกดูข้อมูลในรูปแบบต่างๆ การเรียกดูข้อมูลจากหลายตาราง เป็นการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างตารางทั้งหลาย ซึ่งสามารถ เชื่อมต่อข้อมูลกันโดยการใช้คำสั่ง WHERE

การเรียกค้นข้อมูล การเรียกดูข้อมูลในรูปแบบต่างๆ การเรียกดูข้อมูลแบบซ้อนกัน เป็นการสร้างคำสั่ง SELECT ซ้อนกัน เพื่อลดภาระการเชื่อมตาราง ซึ่งต้องใช้หน่วยความจำเป็นจำนวนมาก SELECT [*] <column1, column2, …> FROM <table name> [WHERE <column_list = <Select Statement>]