01460443 การพัฒนาสังคม Social Development อาจารย์เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ อาจารย์พรเทพ พัฒธนานุรักษ์ และคณะ 3-4 : 26 ส.ค. 61
การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา ทางเศรษฐกิจ : การพัฒนาที่มีการเพิ่มผลผลิตอย่าง ต่อเนื่องและก่อให้เกิดการเติบโตทาง อุตสาหกรรม (Self-sustaining Industrial Growth) เพื่อทำให้ ประชาชนไม่ยากจน ประกอบด้วย - การผลิต - การจำหน่ายจ่ายแจก - การแลกเปลี่ยน - การลงทุน 2 2
การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา ทางสังคม : การพัฒนาที่มีการยกระดับความเป็นอยู่ ได้แก่ - การพัฒนาจิตใจ - การพัฒนาแบบแผนและพฤติกรรม - การพัฒนาความสัมพันธ์ของคนในสังคม เพื่อแก้ปัญหาต่างๆ ในสังคม - การพัฒนาให้กระจายรายได้อย่าง เสมอภาค (Income Distribution) และ การดึงดูดมวลชนเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ/ การเงิน 3 3
การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา ทางวัฒนธรรม : การสร้างความรู้สึกว่าตนเป็นชาติ (A New National Self-image) ความเชื่อมั่นและพร้อมที่จะเสียสละ เพื่อชาติ ทางการเมือง : การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง สร้างกระบวนการปกครองให้เป็น ประชาธิปไตย และประชาชนใน ประเทศมีสิทธิเสรีภาพตามกฎหมาย 4 4
การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา Dudley Seers การพัฒนา เป็นการแสวงหาลู่ทางเพื่อแก้ไขปัญหาความอดอยาก หรือภาวะ ทุโภชนาการ (ความยากจนและความเจ็บป่วยของประชากร) ซึ่งเป็นสิ่งที่บั่นทอนและทำลายศักยภาพของปัจเจกบุคคล “การพัฒนา:” คือ การส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและ ความเป็นธรรมทางสังคมโดยมีเป้าหมาย : ครอบครัวมีรายได้เพียงพอต่อการยังชีพ - ปัจจัยสี่ การมีงานทำ (หัวหน้าครอบครัว) ความเสมอภาคได้รับโอกาสจากการให้บริการสาธารณะอย่างเท่าเทียมกัน การมีเสรีภาพขั้นพื้นฐานและมีโอกาสเข้ามีส่วนร่วมกำหนดนโยบายของรัฐ ประเทศมีอิสระในการกำหนดนโยบายและการบริหาร
การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา Paul Streeten การพัฒนา เป็นเป้าหมายและกระบวนการที่ครอบคลุมภาวการณ์ เปลี่ยนแปลงทัศนคติคนต่อชีวิตและการทำงาน การเปลี่ยนแปลงสถาบัน ต่างๆ “การพัฒนา” คือ การเสริมสร้างความก้าวหน้า ประกอบด้วย : - การเพิ่มรายได้และผลผลิต - การเปลี่ยนแปลง สภาพและเงื่อนไขกระบวนการ ผลิต หรือระบบการผลิต - การยกระดับมาตรฐานการครองชีพ (โภชนาการ ที่อยู่อาศัย สุขอนามัยและการศึกษา) - การมีทัศนคติที่ดีต่อการทำงาน
การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา T. R. Batten ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาชุมชนของอังกฤษได้ให้ความหมายของคำ ว่า พัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงให้ดีขึ้น Brookfield การพัฒนา เน้นด้านเศรษฐกิจ หมายถึง ความก้าวหน้าที่มุ่งเน้น จัดสวัสดิการ เป็นต้น - การลดความยากจน - การลดการว่างงาน - การลดความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจ
การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา Hoogvelt “การพัฒนา” เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงและการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจภายใต้การแบ่งโลกออกเป็นโลกที่พัฒนา และไม่พัฒนา อธิบายว่า การพัฒนามีอยู่ 3 ฐานะ ได้แก่ 1. การพัฒนาเป็นกระบวนการวิวัฒนาการของความเจริญเติบโต และการเปลี่ยนแปลงสังคมมนุษย์ รวมทั้งองค์กรทางวัฒนธรรม การพัฒนาเกี่ยวกับทฤษฎีวิวัฒนาการทั้งแนวเก่า แนวใหม่ ความแตกต่างทางสังคม การผสมผสานและการปรับตัวด้วยการทำให้ดีขึ้น ตลอดจนขั้นตอนของวิวัฒนาการทางสังคม 8
การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา Hoogvelt 2. การพัฒนาฐานะเป็นการปฏิสัมพันธ์ ภายใต้โดยกระบวนการ เปลี่ยนแปลงและความเจริญเติบโตของสังคมด้วยการติดต่อสัมพันธ์กับ สังคมต่าง ๆ การพัฒนาสังคมที่ด้อยพัฒนา ด้วยการติดต่อสัมพันธ์ทางการค้า ระบบพาณิชย์ ระบบอาณานิคม อาณานิคมยุคใหม่ การแปลงสภาพโครงสร้างของสังคมดั้งเดิมด้วยการเป็นสมัยใหม่ ภายใต้ลัทธิอาณานิคม การแพร่กระจายทัศนคติ ค่านิยม สถาบันต่าง ๆ ภายใต้ลัทธิอาณานิคมและการขาดตอนของกระบวนการวิวัฒนาการ 9
การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา Hoogvelt 3. การพัฒนาเป็นการปฏิบัติการ โดยการพัฒนาจะต้องมีการ วางแผนอย่างรอบคอบและตรวจสอบกระบวนการแห่งความเจริญเติบโต และการเปลี่ยนแปลง ซึ่งมีเป้าหมายให้เลือกสำหรับการพัฒนาหลาย ๆ เป้าหมาย รวมทั้งรูปแบบของการพัฒนา เป็นต้น 10
การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา ความหมายของการพัฒนา : การปรับปรุง/การเปลี่ยนแปลงสังคม/สิ่งหนึ่งสิ่งใดอย่างเป็นระบบ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมายตามคุณค่าทางวัฒนธรรมของสังคม หนึ่งสังคมใด อย่างมีขั้นตอนหรือเป็นกระบวนการ องค์ประกอบสำคัญตามความหมายการพัฒนา : คุณค่าอันเป็นเป้าหมายของการเปลี่ยนแปลง กระบวนการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบและขั้นตอน 11
การพิจารณาประเด็นความหมายของการพัฒนา ปัจจัยกำหนดคุณค่าเป้าหมายแห่งการเปลี่ยนแปลง : ความเชื่อ (Belief) ความคิด (Concept) และทัศนะ (Attitude) ที่มีต่อการมองโลก วัฒนธรรม (Culture) ที่เป็นผลอันเกิดจากระบบกลไก/ กระบวนการทางสังคม เงื่อนไขสภาวะที่แท้จริง (Concrete Situations) ความเป็นมาและ พัฒนาการสังคม พื้นฐานระบบการผลิต ระบบสังคม วัฒนธรรม และการเมือง 12
กรอบแนวคิดการพัฒนา : กระบวนทรรศน์ (Paradigm) (1) ทรรศนะพื้นฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง/หลายอย่างที่จะกำหนดแบบแผน การคิดและการปฏิบัติในประชาคมหนึ่งๆ (2) ความคิดรวบยอดของมนุษย์ที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง/หลายอย่าง โดยจะกำหนดแบบแผนความคิดหรือพฤติกรรมการกระทำ (3) เมื่อทรรศนะ/ความคิดพื้นฐานเปลี่ยนแปลงจะทำให้แบบแผนการคิด และการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนแปลงไปด้วย (Paradigm Shift)
“การวิวาทะและความขัดแย้งช่วงชิงอำนาจ” การให้ความหมาย กรอบแนวคิดการพัฒนา : การปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ (Paradigm Shift) “การวิวาทะและความขัดแย้งช่วงชิงอำนาจ” การให้ความหมาย “การพัฒนา” : - ทุนนิยม/เสรีนิยม - สังคมนิยม/คอมมิวนิสต์ ตั้งแต่เริ่มก่อกำเนิดของทฤษฎีแรกแห่งการพัฒนา (The First Theory of Development)
กรอบแนวคิดการพัฒนา : การปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ (Paradigm Shift) - สมัยประธานาธิบดี Harry S. Truman ของจักรวรรดินิยมอเมริกาภายหลังจากการยุติลงของสงครามโลกครั้งที่ 2 - การต่อสู้ระหว่างลัทธิการเมืองและนโยบาย 4 เป้าหมาย (Point Four Programme) เพื่อถ่วงดุลอำนาจ ช่วงชิงและครอบงำประเทศอ่อนแอให้เป็น ฐานกำลังในการต่อสู้กับปฏิปักษ์ - สงครามระหว่างลัทธิได้ดำเนินติดต่อกันมาจนกระทั่งเกิดการล่มสลาย ของลัทธิสังคมนิยมโซเวียต รวมทั้งการเปลี่ยนท่าที แนวทางและนโยบายทาง การเมืองของพันธมิตรหลายๆ ประเทศ
กรอบแนวคิดการพัฒนา : การปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ (Paradigm Shift) - การล่มสลายของลัทธิเศรษฐกิจการเมืองของประเทศที่เป็นปฏิปักษ์ทำให้เกิดการแพร่กระจายและขยายตัวของแนวคิดเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก (Main Stream Economy) - การประเทศบริวารและกึ่งบริวารที่เปรียบเสมือนกับประเทศอาณานิคม ยุคใหม่ (New Colony) ของจักรวรรดินิยมอเมริกานำเอาแนวคิดทาง เศรษฐศาสตร์กระแสหลัก และแนวคิดปฏิฐานนิยมไปกำหนดแนวทางใน การพัฒนาประเทศ
- แนวคิดการพัฒนาประเทศที่ใช้ก่อให้เกิดการแสวงหา : กรอบแนวคิดการพัฒนา : การปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ (Paradigm Shift) - ผลการนำแนวคิดมาใช้พัฒนาประเทศอย่างขัดแย้งกับวัฒนธรรมและวิถีการดำรงชีวิต (Mode of Living) - แนวคิดการพัฒนาประเทศที่ใช้ก่อให้เกิดการแสวงหา : : ผลประโยชน์ส่วนบุคคลอย่างไร้ขอบเขต : การทำลายล้างระบบนิเวศ ระบบศีลธรรม วัฒนธรรม สังคม รวมทั้ง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) เริ่มประมาณสงครามโลกครั้งที่ 2 ภายหลังสงครามเกิดภัยพิบัติ/หายนะ โดยเฉพาะพื้นที่ประเทศยุโรป และแนวคิดการพัฒนาแพร่หลายสู่ประเทศด้อยพัฒนาประมาณ 1950-60 นักทฤษฎีเสนอกรอบ “การพัฒนาเชิงเนื้อหาทางเทคนิค” (Technical matters) ที่มีการใช้วิเคราะห์ปัญหาสังคมด้อย พัฒนาต่างๆ ด้วยการประยุกต์ใช้:- : Neo-Classic Economic : American Social Science
กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) เสนอตัวแบบเพื่อการวางแผนพัฒนา โดยเห็นว่า “เศรษฐศาสตร์พัฒนาการ” หรือ“Development Economics” เป็นศาสตร์/สาขาที่มีความก้าวหน้าสูง โดยลักษณะ เป็นศาสตร์เชิง “ปฏิฐาน” (Positive Science) ที่มีอิทธิพลต่อ การกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศต่างๆ โดยพิจารณา แนวการปฏิบัติงานเน้นดำเนินงานทางเศรษฐกิจลักษณะ -: Functional Approach :- เศรษฐกิจนำหน้าสังคม/การเมือง/วัฒนธรรม
กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) ทฤษฎีภาวะทันสมัย ModernizationTheory เริ่มปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 : โครงการฟื้นฟูประเทศยุโรป ตะวันออก (European Recovery Programme, ERP) = E/F/I/W G เสนอตัวแบบเพื่อการวางแผนพัฒนา โดยเห็นว่าประสบ ผลสำเร็จ แพร่หลายสู่ประเทศด้อยพัฒนา ทฤษฎีภาวะทันสมัย ModernizationTheory
กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ” นักทฤษฏี/นักวิชาการ/นักปฏิบัติในกลุ่ม “ปฏิฐานนิยม/ สุขนิยม” (Positivists) เสนอ “การพัฒนาจะเกิดขึ้นต้องอาศัย ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ” : อุปสรรค/ภาวะด้อยพัฒนาจะเกิดจากการขาดเงื่อนไขการ สร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) ประเด็นการพัฒนา : : ขจัดเงื่อนไขอุปสรรค : เศรษฐกิจเจริญ : สังคมเจริญ กรอบแนวความคิดประยุกต์ใช้กว้างขวางทั้งประเทศ พัฒนาและประเทศด้อยพัฒนา ลักษณะแนวความคิด/ทฤษฎีกลไก (Technocratic Theory) : ใช้เป็นวิธีเชิงการปฏิบัติงาน
กรอบแนวคิดที่ 2 (Second Paradigm) พิจารณามองการพัฒนาเชิงโต้ตอบ/การต่อต้านกรอบ แนวคิด 1 st Paradigm เริ่มขึ้นระยะเวลาใกล้เคียงกันในพื้นที่ยุโรปตะวันตก ลาตินและอเมริกา ประมาณต้นทศวรรษที่ 1960 (2503) โดยเสนอแยกการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาออกจาก : - เศรษฐศาสตร์พัฒนา - สังคมวิทยาอเมริกัน แนวคิดหลายกระแสมาก
กรอบแนวคิดที่ 2 (Second Paradigm) นักทฤษฎี/นักวิชาการกลุ่มนี้เรียกว่า แนวคิดก้าวหน้า (The Radicals) โจมตีวิพากษ์ทฤษฎีภาวะทันสมัยว่า เป็น การมองปัญหาคับแคบ/ไม่ครอบคลุมถึงแก่นแท้ปัญหามาก พอสำหรับการพัฒนาประเทศต่างๆ ปัญหาประเทศด้อยพัฒนาเกิดจากครอบงำ การเอารัดเอา เปรียบ และขูดรีดจากประเทศจักรวรรดินิยม Structuralism Approach
กรอบแนวคิดที่ 2 (Second Paradigm) หลักการที่ใช้วิเคราะห์ปัญหาและทางออกของสังคมด้อย พัฒนาที่ขยายตัวและได้รับความสนใจอย่างรวดเร็ว ได้แก่ - ทฤษฎีพึ่งพา (Dependency Theory) - ทฤษฎีภาวะด้อยพัฒนา (Underdevelopment Theory)
กรอบแนวคิดที่ 3 (Third Paradigm) เริ่มประมาณต้นศตวรรษที่ 1970 โดยกลุ่มนักทฤษฎี มาร์กซิสต์ (The Marxists) ที่เริ่มให้สนใจปัญหาการพัฒนา โลกที่ 3 การขยายตัวระบบทุนนิยมโลกมีผลต่อภาวะความสับสน และภาวะด้อยพัฒนาของประเทศด้อยพัฒนาทั่วไป
กรอบแนวคิดที่ 3 (Third Paradigm) : แนวทางพิจารณาปัญหาสังคมด้อยพัฒนา - วิถีการผลิต (Mode of Production) - การดูดซับมูลค่าส่วนเกินทางเศรษฐกิจ (Economic Surplus) - การขัดแย้งทางชนชั้น (Social Class Conflict)
กรอบแนวคิดที่ 3 (Third Paradigm) การพัฒนา : ทุน (Capital) แรงงาน (Labour) ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้น (Social Class Relationship)
กรอบแนวคิดการพัฒนา ทฤษฎีการพัฒนามิใช่สูตรสำเร็จ (Ready Formula) ที่จะนำไปใช้ได้อย่างกว้างขวางในทุกระบบสังคม แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาไม่ควรจะมีลักษณะเป็น mechanico- formal formulation เพราะ : 1) กระบวนการพัฒนาเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง 2) ประเด็นการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม ของสังคมที่มีเงื่อนไขและรูปแบบทางประวัติศาสตร์แตกต่างกัน 29 29
จุดมุ่งหมายของการพัฒนา Quality of Life : Wealth = Rich พิจารณา : เชิงคุณภาพ = เชิงประมาณ 30 30
จุดมุ่งหมายของการพัฒนา 1. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาทั่วไป “การสร้างสรรค์ประเทศให้มีความเจริญ” ทำให้ประเทศ : - เสถียรภาพ - ความมั่นคง - ประชาชนมีความเป็นอยู่/คุณภาพชีวิตที่ดีตามมาตรฐานที่เหมาะสมกับสังคมนั้น 31 31
จุดมุ่งหมายของการพัฒนา Dudley Seers : “The Meaning of Development” เสนอ 2. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาเบื้องต้น 2.1. ขจัดความไม่รู้ : ภาวะขาดการศึกษา ความไม่รู้ ความโง่ของประชาชนเป็นอุปสรรคการพัฒนาประเทศ ความรู้/ความฉลาดจะเป็นโครงสร้างพื้นฐาน (Basic Structure/Pattern) 32 32
จุดมุ่งหมายของการพัฒนา 2. 2 ขจัดความยากจน : ประชาชนในประเทศต้องมีงานรายได้เพื่อประทังชีพ งานเป็นศักดิ์ศรี (Dignity) ของทรัพยากรมนุษย์อย่างน้อย หัวหน้าครอบครัวต้องมีงาน การขจัดความยากจนเป็นการสร้างศักยภาพของมนุษย์ (Human Potential) ความยากจนประชาชนเป็น 25% ทำให้เกิดปัญหาการพัฒนา 33 33
จุดมุ่งหมายของการพัฒนา 2.3. ขจัดเจ็บป่วย : ประชาชนสุขภาพไม่ดีย่อมเอื้อต่อกัน/ เกี่ยวกับปัญหาอื่นๆ จึงต้องเสริมสร้างความสมบูรณ์และเข้มแข็งทั้ง ร่างกาย & จิตใจ 2.4. ขจัดอยุติธรรม : แก้ไขการเอารัดเอาเปรียบคุณธรรม & จริยธรรมเป็นพื้นฐานสังคมมนุษย์ ความไม่ยุติธรรมก่อให้เกิดความขัดแย้งเอารัดเอาเปรียบ แก่งแย่งและความแตกต่างการใช้ความรุนแรง ความขัดแย้ง การใช้ความรุนแรง ปฏิวัติ การเปลี่ยนแปลง 34 34
3.1 การพึ่งตนเอง : มุ่งต้องการให้พึ่งตนเอง (Self- 3. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาสูงสุด 3.1 การพึ่งตนเอง : มุ่งต้องการให้พึ่งตนเอง (Self- reliance) ทั้งระดับบุคคล ครัวเรือน ชุมชน สังคมและ ประเทศชาติ 3.2 ความสามารถในเชิงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี : ความก้าวหน้าในแง่ความเข้าใจ การคิดค้น ประดิษฐ์และการ ประยุกต์ใช้ 35
3.3 การใช้ทรัพยากร : ทุกประเภททั้งในแง่ทุนและอื่นๆ 3. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาสูงสุด 3.3 การใช้ทรัพยากร : ทุกประเภททั้งในแง่ทุนและอื่นๆ ทางกายภาพ ชีวภาพและมนุษย์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3.4. การกระจายอำนาจ : การบริหาร การพัฒนาใน การกระจายอำนาจอาจจะเกิดทั้ง - แง่ + ระดมความคิดและร่วมมือระดับล่าง - แง่ - อาจล่าช้าเพราะผ่านขั้นตอน 36
เท่าเทียม/ทัดเทียม/ทั่วถึง/เป็นธรรมกับทุกฝ่าย การพิจารณาการกระจายอำนาจ 1. ขอบเขตและการตัดสินใจ 2. การกำหนดนโยบายต่างๆ 3. การใช้จ่ายและการควบคุมการคลัง 4. การบังคับบัญชาบุคลากร 5. การจัดการและรูปแบบการบริหาร 3.5 การกระจายผลประโยชน์ : ทุกในแง่ประโยชน์จาก บริการสาธารณะ (Public Interest) เท่าเทียม/ทัดเทียม/ทั่วถึง/เป็นธรรมกับทุกฝ่าย 37
กลไกการบรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนา 1. การเสริมสร้างความมีเหตุผล : การพยายามให้ผู้อื่นเกิดความรู้อย่างมีเหตุผล : การใช้ปัญญาให้ เกิดการพัฒนา การพัฒนาโดยใช้ภูมิปัญญา 2. การวางแผนอย่างมีเป้าหมาย : การมองการณ์ไกล : การยอมรับความก้าวหน้าและนวัตกรรม 3. ทัศนคติที่ดี “ชีวิต” และ “งาน” : การที่มีทัศนคติที่ดี สร้างสิ่งที่ดี หรือมองผู้อื่นด้วยดี : พิจารณาคุณค่าและให้คุณค่าที่ดีต่องาน ชีวิต และผู้อื่น 38
กลไกการบรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนา 4. การสร้างสถาบันที่มีความชำนาญ : การพัฒนาสถาบัน/องค์กรที่มีความชำนาญ : สร้างงาน ให้งานกับผู้ที่มีความสามารถ และสร้างสถาบัน/องค์กรที่ดีตามความชำนาญ 5. ประสิทธิภาพการผลิต/ดำเนิงาน: การประกอบกิจกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ : สร้างประสิทธิภาพการผลิต/ทำงานจะมีผลต่อการใช้ทรัพยากรและการพัฒนา Input Process/System Output สมดุล ด้อยพัฒนา พัฒนา Input = Output Input > Output Input < Output 39
กลไกการบรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนา 6. การเพิ่มผลผลิต/ผลงาน การยกระดับด้วยการเพิ่มผลผลิต/ผลงาน : เพิ่มประสิทธิภาพในผลงานที่รับผิดชอบให้ดีขึ้น 7. โอกาสการได้รับบริการสาธารณะ ความเสมอภาคในโอกาสการได้รับบริการสาธารณะ : พิจารณาโอกาส เงื่อนไข และการยกเว้น 8. ประชาธิปไตยระดับ “รากหญ้า” วิถีทางประชาธิปไตยในการอยู่ร่วมกันในสังคมประชาธิปไตย : สามารถยอมรับความแตกต่างและการมีเหตุผล 40
กลไกการบรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนา 9. การสร้างความเข้มแข็งของชาติ ผลประโยชน์ของสังคม/ประเทศเป็นหลัก : การให้ความ สำคัญต่อผลประโยชน์โดยรวมของทุกคนในสังคมและประเทศ 10. ความมีวินัยของสังคม สร้างเสริมวินัยบุคคลในประเทศ : วินัยการดำรงชีวิต/ประกอบอาชีพ (จริยธรรม/จรรยาบรรณ) 41
ปรัชญาพื้นฐานการพัฒนา บุคคลมีความแตกต่างและมีเอกลักษณ์ บุคคลมีสิทธิและกำหนดวิถีชีวิตตนเอง บุคคลสามารถเรียนรู้ บุคคลมีความคิดริเริ่ม บุคคลความสามารถพัฒนาขีดความสามารถของชุมชน 42
ปรัชญาแห่งการพัฒนา มนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีค่ามากที่สุด เพราะมีความสามารถและพลัง ซ่อนเร้น ศรัทธาในความยุติธรรมของสังคม เพื่อขจัดความขัดแย้งและความ เหลื่อมล้ำในสังคม ความไม่รู้ ความดื้อรั้นและการใช้กำลังเป็นอุปสรรคสำคัญในการ พัฒนา 43
ความสำคัญและปัจจัยกำหนดยุทธศาสตร์แห่งการพัฒนา ยุทธศาสตร์การพัฒนาเป็นแนวทางการพัฒนาที่สำคัญเพื่อดำเนินงานและควบคุมการพัฒนาให้สามารถบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศจะขึ้นอยู่กับเป้าหมายในการพัฒนาของรัฐ ซึ่งถูกกำหนดโดยสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งภายในและนอกประเทศ