พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดูแลรักษาความปลอดภัย ของเครื่องคอมพิวเตอร์
Advertisements

แม่ครูชมัยพร โครตโยธา
SMTP.
Client Security: A Framework For Protection June 19, 2006 Natalie Lambert and teams, Forrester Research, Inc., 400 Technology Square Cambridge, MA
เนื่องจากในปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีการ เชื่อมโยงกันทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ย่อมมีข้อมูลสารสนเทศที่ส่งผ่าน จากผู้ส่ง ไปยัง ผู้รับ และหากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนั้น.
เนื้อหา  ภัยอันตรายจากอินเตอร์เน็ต  การเลือกใช้ AntiVirus  รู้จักกับ Bitdefender  การติดตั้ง Bitdefender  การปรับแต่ง Bitdefender.
1. ภาวะ ผู้นำ วิสัยทัศน์ เป้าหมาย พันธกิจ ยุทธศาส ตร์ 1) วิเคราะห์ สังเคราะห์ (SWOT) 2) กำหนดวิสัยทัศน์, พันธกิจ 3) นวัตกรรม BSC, KM 4) การมีส่วนร่วม.
บทที่ 9 ความปลอดภัยระบบเครือข่าย
Security in Computer Systems and Networks
การรักษาความปลอดภัย ในอีคอมเมิร์ซ
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2560.
บทที่ 7 : การป้องกันไวรัส Part1 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ
การใช้งานคอมพิวเตอร์อย่างปลอดภัยจาก Malware
วันที่ 30 พฤษภาคม 2560 และ 20 มิถุนายน 2560
Security in Computer Systems and Networks
บทที่ 4 อินเตอร์เน็ต.
Training : Network and WWW. in The Organize System
บทที่ 11 กฎหมายและจริยธรรม ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
Pattanachai Huangkaew Kapchoeng Wittaya School
การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคมสารสนเทศ
การเตรียมความพร้อมรับการประเมิน จาก สมศ.
ด้านการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์
บทที่ 10 ภัยร้ายในยุคไซเบอร์ (Danger in Internet)
1-3 ไวรัสคอมพิวเตอร์ 1.
Electronic Commerce Law กฏหมายพานิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ความมั่นคงของระบบสารสนเทศในสถานศึกษา: นโยบายและการนำไปใช้
การป้องกันรักษาความปลอดภัยจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เบื้องต้น
กฎหมายคอมพิวเตอร์ Company Logo.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ 2550
Virus Computer.
(ร่าง) พระราชบัญญัติว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. ....
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
วันอังคารที่ 6 มีนาคม พ. ศ เวลา น
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
งานวันข้าวโพดเทียนบ้านเกาะ
เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
สหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ จำกัด
การใช้คู่มือประเมินความสามารถทางเชาวน์ปัญญา เด็กอายุ 2-15 ปี
การพัฒนาดิจิทัลคอลเลคชั่น
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
สิทธิทางปัญญาและจริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
การจดทะเบียนพาณิชย์ ตามพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
เทคนิคการใช้เครื่องมือสมัยใหม่ (New Media) เพื่อการสื่อสาร
การตรวจเอกสาร ใบคำขออนุญาตประกอบวิชาชีพครู
แนวทางการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพ
เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
เรื่อง การทอผ้าห่มสี่เขา/ตะกอ
นโยบาย รมว สธ ข้อที่ 3 “เร่งรัดมาตรการสุขภาพดี โดยมีเป้าหมายลดอัตราป่วยตายและผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดัน หัวใจ หลอดเลือดสมองและมะเร็ง”
ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน ตำบลดงยาง อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภคการตลาดบนอินเตอร์เน็ต และการโฆษณา
แนวทางปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : การรักษาความปลอดภัยข้อมูล Part2 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
เรื่อง ทฤษฎีการค้นหาในการฝึกสุนัข
การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ
Work Smart Award 2017 โครงการชลประทานมุกดาหาร
กองการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย
หมวด 2 : การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วีระโชติ รัตนกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หลักและศิลปะ ในการเขียนหนังสือติดต่อราชการ
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
สื่อการเรียนการสอนวิชาเครื่องรับโทรทัศน์ ( )
บทที่ 7 การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคมสารสนเทศ
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
ฉบับที่ ๑๕/๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐ น. นายปริญญา เพ็งสมบัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 โดย นางมนพัทธ์ รุ่งเช้า นิติกรชำนาญการพิเศษ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

สภาพปัญหาและการแก้ไขการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ผู้กระทำผิดอยู่ตรงไหนก็ได้ในโลก ความเสียหายกระทบถึงคนจำนวนมาก & รวดเร็ว ใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนในการกระทำความผิด ยากต่อการจับกุมและนำผู้กระทำผิดมาลงโทษ แก้ปัญหาช่องว่างในกฎหมายอาญา “หมิ่นประมาท”

ความหมาย “ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายถึง ข้อมูล ข้อความ คำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือสิ่งอื่นใด บรรดาที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ในสภาพที่ระบบ คอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ด้วย เช่น มือถือประเภทคอมพิวเตอร์พกพา อินเทอร์เน็ต บัตรอิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ

บทลงโทษ *ม.5-ม.7 แม้ไม่เสียหายก็เป็นความผิดสำเร็จแล้ว* ม.5 เข้าถึงคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ (จำคุก 6 ด./ปรับ 10,000 บ.) ม.6 ล่วงรู้มาตรการป้องกัน (จำคุก 1 ปี/ปรับ 20,000 บ.) ม.7 เข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ(จำคุก 2 ปี/ปรับ 40,000 บ.) คำว่า “โดยมิชอบ” = ไม่มีอำนาจ เช่น เจาะรหัส/เข้าระบบคอมฯของผู้อื่น โดยไม่ได้รับอนุญาต,แอบเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคล ฯลฯ แต่ถ้าคอมฯ ไม่มีระบบรักษาความปลอดภัย แม้ว่าเข้าถึงโดยมิชอบ ก็ไม่เป็นความผิด *ม.5-ม.7 แม้ไม่เสียหายก็เป็นความผิดสำเร็จแล้ว*

บทลงโทษ (ต่อ) ม.8 การดักข้อมูลคอมพิวเตอร์ (จำคุก 3 ปี/ปรับ 60,000 บ.) ม.9 การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์ (จำคุก 5 ปี/ปรับ 100,000 บ.) ม.10 การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ (จำคุก 5 ปี/ปรับ 100,000 บ.) ม.11 จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่เหมาะสม(จดหมายขยะ)(Spam Mail) (ปรับ 100,000 บ.) เช่น นักล้วง e-mail ,Hacker,ปล่อย packet หรือปล่อย virus รบกวนการใช้ระบบคอมโดยปกติสุข เช่น ระงับ ชะลอ ขัดขวาง โจมตี ส่งจดหมายรำคาญ หรือข้อมูลให้ผู้อื่นและผู้นั้นไม่อยากรับ แต่ยังส่งอีก จนทำให้ผู้รับรำคาญ ฯลฯ

บทลงโทษ (ต่อ) ม.12 การกระทำต่อความมั่นคง (1) ก่อความเสียหายแก่ข้อมูลคอมพิวเตอร์ (จำคุก 10 ปี/ปรับ 200,000 บ.) (2) กระทบต่อความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ/เศรษฐกิจ (จำคุก 3-15 ปี/ปรับ 60,000 - 200,000 บ.) วรรคท้าย เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ชีวิต (จำคุก 10 - 20 ปี) *ก่ออาชญากรรมคอมพิวเตอร์ มาตรานี้เป็นบทเพิ่มโทษ ม.9-ม.10 กรณีเกิดความเสียหายกับประชาชนในวงกว้าง ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ บริการสาธารณูปโภค เช่น ทำลายระบบสาธารณูปโภค ระบบจราจร เป็นต้น *

บทลงโทษ (ต่อ) ม.13 การจำหน่าย/เผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อนำไปใช้เป็นเครื่องมือกระทำผิด เช่น Spyware Virus Worm (จำคุก 1 ปี/ปรับ 20,000 บ.) เช่น Malicious logic โปรแกรมประสงค์ร้าย (Malware) ไวรัส (Virus) หนอน (worm) Spyware ฯลฯ มุ่งประสงค์ทำลายระบบความปลอดภัยของคอมฯ

บทลงโทษ (ต่อ) มุ่งคุ้มครองปัจเจกบุคคล ม.14 เผยแพร่ข้อมูลเท็จ/เนื้อหาอันไม่เหมาะสม (จำคุก 5 ปี/ปรับ 100,000 บ.) มุ่งคุ้มครองปัจเจกบุคคล เช่น ปลอมหน้าเว็บไซต์/ข้อมูลเท็จ โพสต์ในเว็บไซต์,เผยแพร่ภาพลามก/อนาจาร, ว่ากล่าวให้ร้ายผู้อื่น ทำให้เสียชื่อเสียง/ถูกดูหมิ่น/เกลียดชัง ผล - ม.14 อัตราโทษสูง + ยอมความไม่ได้ + ไม่มีหลักเรื่องสุจริต/ประโยชน์สาธารณะ

บทลงโทษ (ต่อ) ม.15 ผู้สนับสนุน/ยินยอมให้มีการกระทำผิด ในระบบคอมฯ ของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทำผิดตามม.14 (จำคุก 5 ปี/ปรับ 100,000 บ.) ตัวอย่าง. นาย ก. เป็นพนักงานบริษัท ส่งข้อมูลปลอม/เท็จ/ภาพลามกอนาจารภายในองค์กรของตนเอง ผู้บริหารของบริษัทนี้ทราบแล้วไม่ทักท้วงหรือดำเนินการใดๆ **ผู้บริหาร จะถือว่าสนับสนุนหรือยินยอมหรือไม่ ต้องพิสูจน์เรื่องเจตนา (ค่อนข้างยุ่งยากมาก)

บทลงโทษ (ต่อ) ม.16 การตัดต่อภาพและเผยแพร่ (จำคุก 3 ปี/ปรับ 60,000 บ.) **ถ้าสุจริต ไม่มีความผิด** ** มาตรานี้ เป็นมาตราเดียวที่ยอมความได้ เพื่อแก้ปัญหาช่องว่างกม.อาญา “หมิ่นประมาท” เช่น ภาพการ์ตูนล้อเลียนดารา/นักการเมือง

กรณีศึกษา กรณีปล่อยคลิปวีดีโอ “ลามก/อนาจาร” เผยแพร่ทางเว็บไซต์ ข้อเท็จจริง นศ.หญิง มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ถ่ายคลิปวีดีโอเพื่อนสาวเปลือยกาย(อนาจาร) แล้วโพสต์แพร่คลิปในอีเมล เพื่อรับคลิปมาแล้วส่งในเว็บไซต์ต่าง ๆ หลายแห่ง อ้างว่ารู้เท่าไม่ถึงการณ์ และไม่ทราบว่าการกระทำดังกล่าวจะมีความผิด และไม่ได้กระทำเชิงพาณิชย์ เหตุเกิด พ.ศ. 2551 โทษ (สร้าง+เผยแพร่/ส่งต่อ) เป็นความผิด ปอ. ม. 326,328 และ พรบ. ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ม.14(1),(4)หรือ(5) ศาลพิพากษาลงโทษจำคุก 5 ปี ปรับ 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

กรณีศึกษา กรณี ส่ง SMS หมิ่นเบื้องสูง คดี “อาก๋ง” โทษ ปอ.ม.112 และ พรบ. ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ม.14(2),(3) -คำพิพากษา กระทำผิดหลายกรรมต่างกัน ให้ลงโทษทุกกรรม จำคุกกระทงละ 5 ปี รวม 4 กระทง รวมจำคุก 20 ปี

กรณีศึกษา คดี “หมิ่นประมาททางอินเตอร์เน็ต” ข้อเท็จจริง คดี “หมิ่นประมาททางอินเตอร์เน็ต” ข้อเท็จจริง จำเลยถ่ายคลิปวีดีโอที่มีลักษณะหมิ่นประมาท แล้วนำไปโฟต์ ลงในเว็บไซต์ และเพื่อนได้บันทึกและส่งต่อๆ คนทั่วไปย่อมสามารถเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวได้ (อันเป็นลักษณะการโฆษณาด้วยภาพ) ส่วนผู้ที่รับ e-mail และได้ forward-mail ต่อไปให้ผู้อื่นอีก = เป็นการใส่ความผู้เสียหายต่อไปอีกครั้งหนึ่ง ถือว่าหมิ่นประมาทเช่นกัน โทษ ปอ.ม. 328 และ พรบ. ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ม.14(1),(5) จำคุก 5 ปี ปรับ 100,000 บาท

-โรคติดอินเตอร์เน็ต -เล่นไลน์ facebook e-mail พฤติกรรมใช้ชีวิตของคนไทยในสังคมปัจจุบัน -เล่นไลน์ facebook e-mail -โรคติดอินเตอร์เน็ต นักจิตวิทยา วิเคราะห์ว่า บุคคลใดมีอาการอย่างน้อย 4 ประการ ไม่น้อยกว่า 1 ปี แสดงว่าเป็นอาการของโรคติดอินเตอร์เน็ต (โรคทางจิตประเภทหนึ่ง) ดังนี้ 1.หมกมุ่น 2.ต้องการใช้เป็นเวลานานขึ้นเรื่อยๆ 3. เมื่อใช้แล้วรู้สึกดีขึ้น 4. หงุดหงิก หดหู่ กระวนกระวาย เมื่อไม่ใช้

พฤติกรรมสุ่มเสี่ยง(ติดคุก) รู้เท่าไม่ถึงการณ์ - โพสต์ต้องคลิก+ส่งต่อ ในไลน์ facebook ทวิตเตอร์ เป็นขอกดไลค์/กดแชร์ไว้ก่อน (จำคุก 5 ปี ปรับ 100,000) - อัปโหลดรูปโป๊/วาวหวิว (จำคุก 5 ปี ปรับ 100,000) - ตั้งตัวเป็นเจ้ากรมข่าวลือ (จำคุก 5 ปี ปรับ 100,000) - โพสต์ข้อความแกล้งเพื่อน (จำคุก 5 ปี ปรับ 100,000) - ส่งe- mail ลูกโซ่ (ปรับ 100,000) ฯลฯ

จริยธรรมที่พึงมีในโลกออนไลน์ คุณธรรมและจริยธรรม 1. ไม่ใช้คอมฯ ทำร้ายผู้อื่น 2. ไม่รบกวนการใช้งานคอมฯ ของผู้อื่น 3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น 4. ไม่ใช้คอมฯ เพื่อลักขโมย 5. ไม่ใช้คอมฯ เพื่อเป็นพยานเท็จ 6. ไม่ใช้/ทำสำเนาซอฟแวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์

จริยธรรม (ต่อ) 7. ไม่ใช้คอมฯ ผู้อื่น โดยไม่ได้รับอนุญาต 8. ควรใช้คอมฯ ในเชิงสร้างสรรค์ 9. ควรเคารพสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่น 10. ควรช่วยกันรักษาคุณธรรมในการใช้เทคโนโลยี เช่น ไม่ส่งจดหมายลูกโซ่/ข้อมูลเท็จ/ไม่ส่งภาพโป๊ ภาพวาวหวิว /ภาพที่สุ่มเสี่ยงต่อการละเมิดสิทธิผู้อื่น หรือก่อความเดือดร้อน หรือทำให้ผู้อื่นเสื่อมเสียชื่อเสียงทางสังคมและอื่น ๆ หากไม่ได้เป็นผู้กระทำ แต่พบเห็น ควรว่ากล่าวตักเดือนให้เขาทำในสิ่งที่ถูกต้อง ฯลฯ

คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต ใช้สื่อเทคโนโลยีโดยสุจริต ไม่ไปทำร้ายผู้อื่น และเคารพต่อความเป็นมนุษย์ ** ไม่เป็นนักดัก นักเจาะ นักกวน นักล้วง นักปล่อย นักแกล้ง**

จริยธรรมที่พึงมีในโลกออนไลน์ (ต่อ) องค์กร (ผู้บริหาร) -สุ่มเสี่ยงต่อการเป็นผู้สนับสนุน/ยินยอม ** ควรกำหนดนโยบาย (internet Policy) สำหรับพนักงานในองค์กรของตน

สวัสดี