การกระทำอันไม่เป็นธรรม (Unfair Labour Practice)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
ผู้ลี้ภัยการเมือง จัดทำโดย นางสาว อำพันธ์ แสนคำวัง ลำดับ 106.
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
บทที่ 1 ภาพรวมของการสอบบัญชี
การออกคำสั่งทางปกครอง
จรรยาบรรณ ทางวิชาชีพและ เชิงสังคม อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อ การพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ม. มหิดล สถาบันแห่งชาติเพื่อ.
ภญ.จีรัง ภมรสูต สำนักยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
สำนักความรับผิดทางแพ่ง
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
“ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่”
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การคุ้มครองพยานในคดีอาญา ตาม พรบ.คุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.2546
SSC 351 กฎหมายแรงงาน Labour Law หัวข้อ
กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ (Labor Relations Act 1975)
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551
โดยอาจารย์ฐิติพร วัฒนชัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พ.ร.ก.ยกเว้นและสนับสนุนฯ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
พงษ์เดช วานิชกิตติกูล
พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยการใช้กฎหมาย
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
โดย อ.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
กฎหมายเอกเทศสัญญา 1 อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 13.
อำนาจ การปกครอง และการระงับข้อพิพาท
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
การพยาบาลนิติจิตเวช โดย อ. นิตยา ศรีจำนง.
อภิรัฐธรรมนูญไทย.
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
ทบทวน ;) จริยธรรมนักกฎหมายต่างจากจริยธรรมทั่วไปอย่างไร?
อำนาจสืบสวน สอบสวน (มาตรา 17-21)
คดีฟ้องให้ประกาศใช้ผังเมืองรวม จังหวัดสระบุรี
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
ทะเบียนสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
ประชุมโครงการเตรียมการรองรับการประกาศ ใช้บังคับกฎหมายว่าด้วยการดำเนินการทางวินัย แก่ผู้ที่พ้นจากราชการ วันพฤหัสบดีที่ ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ เวลา ๑๓.๐๐.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณาและคุ้มครองผู้บริโภค
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560
หุ้นส่วนและบริษัท การเป็นหุ้นส่วน คือ การทำสัญญาระหว่างบุคคลตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไปตกลงเข้ากันเพื่อทำกิจการร่วมกัน โดยประสงค์จะแบ่งปันผลกำไรที่จะพึงได้จากกิจการนั้น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 7 นิติบุคคล (Juristic Persons)
ลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
วิชากฎหมายล้มละลาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกระทำอันไม่เป็นธรรม (Unfair Labour Practice) SSC 351 ผศ.ดร.ริเรืองรอง รัตนวิไลสกุล/กฎหมายแรงงาน กฎหมายแรงงาน Labour Law หัวข้อ การกระทำอันไม่เป็นธรรม (Unfair Labour Practice) http://arts.kmutt.ac.th/sscri/

การกระทำอันไม่เป็นธรรม SSC 351 การกระทำอันไม่เป็นธรรม หมายถึงการกระทำที่ไม่สมควรและฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติของกฏหมายและนโยบายของรัฐในทางแรงงานสัมพันธ์ โดยมีวัตถุประสงค์มุ่งให้ความ คุ้มครองลูกจ้าง ให้ได้รับการรับรองและคุ้มครองการใช้สิทธิ ต่างๆของตนในทางแรงงานโดยปราศจากการแทรกแซง/กดดัน /บีบบังคับจากบุคคลอื่น ไม่ว่าจะเป็นนายจ้าง องค์การนายจ้าง ลูกจ้างอื่น หรือองค์การลูกจ้าง

SSC 351 http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ ข้อสังเกต SSC 351 http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ การกระทำอันไม่เป็นธรรม เป็นคนละกรณีกับการเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรม (unfair dismissal) เพราะการกระทำอันไม่เป็นธรรมมุ่งประสงค์คุ้มครองลูกจ้างที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับสหภาพแรงงาน การยื่น ข้อเรียกร้อง และการใช้สิทธิในทางแรงงานสัมพันธ์ ไม่ให้ถูกนายจ้าง ใช้อำนาจกลั่นแกล้งหรือสกัดกั้นการใช้สิทธิของลูกจ้าง ตาม พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ส่วนการเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรมให้ความคุ้มครองลูกจ้างโดยทั่วไป ที่ไม่ให้ถูกนายจ้างเลิกจ้างโดยไม่มีสาเหตุที่สมควรและเพียงพอ ตาม พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 49

การกระทำอันไม่เป็นธรรม SSC 351 กฎหมายแรงงาน http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ แบ่งออกเป็นกรณีใหญ่ๆได้ 2 กรณีคือ การกระทำอันไม่เป็นธรรม 1. การกระทำอันไม่เป็นธรรมที่เกิดจากตัวนายจ้าง เป็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฏหมาย โดยนายจ้างเป็นผู้กระทำ มีลักษณะเป็นการแก้แค้น ทดแทน ตอบโต้ เนื่องจากไม่พอใจที่ลูกจ้างไปใช้สิทธิหรือละเว้นการใช้สิทธิของตนในทางแรงงาน 2. การกระทำอันไม่เป็นธรรมที่เกิดจากสหภาพแรงงาน เป็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฏหมาย เนื่องจากมีการแทรกแซงทั้งทางตรงและทางอ้อมขององค์กรลูกจ้างต่อการตัดสินใจของลูกจ้างใน การที่จะใช้สิทธิหรือไม่ใช้สิทธิตามกฏหมายแรงงาน

หลักเกณฑ์การกระทำอันไม่เป็นธรรม SSC 351 กฎหมายแรงงาน http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ หลักเกณฑ์การกระทำอันไม่เป็นธรรม การกระทำอันไม่เป็นธรรมตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 แบ่งได้เป็น 3 กรณีคือ 1. การกระทำอันไม่เป็นธรรม ตามมาตรา 121 การกระทำอันไม่เป็นธรรมตามมาตรา 121 ประกอบด้วย 1.1 นายจ้างเลิกจ้างหรือกระทำการใดๆ ที่มีผลทำให้ลูกจ้างไม่สามารถทนทำงานอยู่ต่อไปได้เพราะลูกจ้างนัดชุมนุม ทำคำร้อง ยื่นข้อเรียกร้องฯลฯ ตามมาตรา 121 (1) ซึ่งจะต้องมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้

SSC 351 http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ กฎหมายแรงงาน http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ 1.1.1 นายจ้างจะต้องกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งคือ (ก) เลิกจ้าง (ข) กระทำการใดๆ อันอาจเป็นผลให้ลูกจ้างไม่สามารถทนทำงานอยู่ต่อไปได้ เช่นกลั่นแกล้งโยกย้ายสถานที่ทำงานให้อยู่ห่างไกลจากภูมิลำเนาของลูกจ้าง ไม่มอบงานในหน้าที่ให้ทำแต่ยังคงจ่ายค่าจ้างเพื่อให้ลูกจ้างละอายแก่ใจลาออกจากงานไปเอง ฯลฯ 1.1.2 กระทำต่อลูกจ้าง ผู้แทนลูกจ้าง กรรมการสหภาพแรงงาน หรือกรรมการสหพันธ์แรงงาน 1.1.3 มีสาเหตุจากการที่ลูกจ้างได้นัดชุมนุม ทำคำร้อง ยื่นข้อเรียกร้อง เจรจา ดำเนินการฟ้องร้อง หรือเป็นพยาน

SSC 351 http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ กฎหมายแรงงาน http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ 1.2 นายจ้างเลิกจ้างหรือกระทำการใดๆ อันอาจมีผลให้ลูกจ้างไม่สามารถทนทำงานต่อไปได้ เพราะเหตุเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน ตามมาตรา 121 (2) 1.3 นายจ้างขัดขวางการเป็นสมาชิกหรือออกจากการเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน ตามมาตรา 121 (3) 1.4 นายจ้างขัดขวางการดำเนินงานของสหภาพแรงงาน สหพันธ์แรงงาน หรือขัดขวางการใช้สิทธิลูกจ้างในการเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน ตามมาตรา 121 (4) 1.5 นายจ้างเข้าแทรกแซงการดำเนินการของสหภาพแรงงานหรือสหพันธ์แรงงานโดยไม่มีอำนาจตามกฏหมาย ตามมาตรา 121 (5)

SSC 351 http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ กฎหมายแรงงาน http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ 2. การกระทำอันไม่เป็นธรรม ตามมาตรา 122 การกระทำอันไม่เป็นธรรมตามมาตรา 122 จะเกิดขึ้นต่อเมื่อบุคคลหนึ่งบุคคลใดกระทำการ ดังต่อไปนี้ (ก) บังคับขู่เข็ญโดยทางตรงหรือทางอ้อม ให้ลูกจ้างต้องเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานหรือต้องออกจากสมาชิกสหภาพแรงงาน (ข) กระทำการใดๆ อันอาจเป็นผลให้นายจ้างฝ่าฝืนมาตรา 121

SSC 351 http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ กฎหมายแรงงาน http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ 3. การกระทำอันไม่เป็นธรรม ตามมาตรา 123 การกระทำอันไม่เป็นธรรมตามมาตรา 123 นี้มุ่งประสงค์ ให้ความคุ้มครองลูกจ้างที่เกี่ยวข้องในการแจ้งข้อเรียกร้องทำข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง (คำพิพากษาฏีกา 1573 /2524) ไม่ให้ถูกนายจ้างแก้แค้นด้วยการเลิกจ้างภายหลัง มีองค์ประกอบของกฎหมายดังนี้ 3.1 ในระหว่างข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างหรือคำชี้ขาดมีผลใช้บังคับ ห้ามมิให้ 3.2 นายจ้างเลิกจ้าง

SSC 351 http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ กฎหมายแรงงาน http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ 3.3 ลูกจ้าง ผู้แทนลูกจ้าง กรรมการ อนุกรรมการ หรือสมาชิกสหภาพแรงงาน กรรมการ อนุกรรมการสหพันธ์แรงงาน ที่เกี่ยวข้องกับข้อเรียกร้อง อย่างไรก็ดี หากเข้าข้อยกเว้นตามมาตรา 123 (1) ถึง (5) นายจ้างมีสิทธิเลิกจ้างลูกจ้างได้ แม้จะอยู่ในระหว่างข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างหรือคำชี้ขาดมีผลใช้บังคับก็ตาม ได้แก่ (1) ทุจริตต่อหน้าที่หรือกระทำผิดอาญาโดยเจตนาต่อนายจ้าง (2) จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย

SSC 351 http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ กฎหมายแรงงาน http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ (3) ฝ่าฝืนข้อบังคับ ระเบียบ หรือคำสั่งอันชอบด้วยกฏหมายของนายจ้าง โดยนายจ้างได้ว่ากล่าวและตักเตือนเป็นหนังสือแล้ว เว้นแต่กรณีร้ายแรง นายจ้างไม่จำเป็นต้องว่ากล่าวและตักเตือน ทั้งนี้ข้อบังคับ ระเบียบ หรือคำสั่งนั้น ต้องมิได้ออกเพื่อขัดขวางมิให้บุคคลดังกล่าวดำเนินการเกี่ยวกับข้อเรียกร้อง หรือ (4) ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลา 3 วันติดต่อกันโดยไม่มีเหตุอันสมควร (5) กระทำการใดๆ เป็นการยุยง สนับสนุนหรือชักชวนให้มีการฝ่าฝืนข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างหรือคำชี้ขาด

ผลของการกระทำอันไม่เป็นธรรม SSC 351 เมื่อมีการฝ่าฝืนมาตรา 121-123 ผู้เสียหายมีสิทธิดำเนินคดี ทั้งในส่วนแพ่งและอาญา ดังนี้ 1. การดำเนินคดีในส่วนแพ่ง เมื่อมีการกระทำอันไม่เป็นธรรม ผู้เสียหายมีสิทธิยื่นคำร้องกล่าวหาผู้ฝ่าฝืนต่อคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ภายใน 60 วันนับแต่วันที่มีการฝ่าฝืน เมื่อได้รับข้อกล่าวหาแล้ว คณะกรรมการแรงานสัมพันธ์จะต้องวินิจฉัยและมีคำสั่งภายใน 90 วัน หากไม่ทัน รัฐมนตรีมีอำนาจขยายระยะเวลาออกไปได้ตามที่เห็นสมควร (มาตรา 125)

SSC 351 http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ กฎหมายแรงงาน http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ ในกรณีที่คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์เห็นว่า เป็นการกระทำ อันไม่เป็นธรรม คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์มีอำนาจสั่งให้นายจ้างรับลูกจ้างกลับเข้าทำงาน หรือให้จ่ายค่าเสียหายหรือให้ผู้ฝ่าฝืนปฏิบัติหรือไม่ปฎิบัติอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่เห็นสมควรได้ (พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ฯ มาตรา 41 (4) ) หากคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์เห็นว่าไม่เป็นการกระทำอัน ไม่เป็นธรรม ก็จะสั่งยกคำร้อง เมื่อคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์มีคำสั่งอย่างหนึ่งอย่างใดแล้วนายจ้าง ลูกจ้าง มีสิทธิฟ้องเพิกถอนคำสั่งต่อศาลแรงงานได้

SSC 351 http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ กฎหมายแรงงาน http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ หมายเหตุ ลูกจ้างที่เห็นว่านายจ้างกระทำการอันไม่เป็นธรรม จะข้าม ขั้นตอนโดยยื่นฟ้องคดีต่อศาลแรงงานทันทีไม่ได้ จะต้องยื่นคำร้องต่อคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์เสียก่อน 2. การดำเนินคดีทางอาญา นายจ้างผู้ฝ่าฝืนมาตรา 121 และ 123 จะมีความผิดและ ได้รับโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาทหรือ ทั้งจำทั้งปรับตาม พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 158

SSC 351 http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ กฎหมายแรงงาน http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ ส่วนผู้ที่ฝ่าฝืนมาตรา 122 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับตาม พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 มาตรา 159 ผู้เสียหายจึงมีสิทธิดำเนินคดีอาญากับผู้ฝ่าฝืน กฏหมายได้ อย่างไรก็ดีผู้เสียหายจะต้องยื่นคำร้องต่อคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ และผู้ฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการแรงงานเสียก่อน จึงจะดำเนินคดีอาญาได้ (พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ฯ มาตรา 127)

SSC 351 http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ กฎหมายแรงงาน http://arts.kmutt.ac.th/sscri/ เมื่อผู้ฝ่าฝืนปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ภายในเวลาที่กำหนด การดำเนินคดีอาญาย่อมเป็นอันระงับสิ้นไป (พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ฯ มาตรา 126) อย่างไรก็ดีการที่นายจ้างยอมปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ หามีผลทำให้สิทธิในการฟ้องคดีในทางแพ่งขอเพิกถอนคำสั่งระงับสิ้นไปไม่