บทที่ 7 การคลังสาธารณะ
การศึกษาเกี่ยวกับรายรับและรายจ่ายของรัฐบาล การคลังสาธารณะ การศึกษาเกี่ยวกับรายรับและรายจ่ายของรัฐบาล รายรับ รายจ่าย งบประมาณแผ่นดิน
งบประมาณแผ่นดิน งบประมาณเกี่ยวกับรายรับ - รายจ่ายของรัฐบาล ในระยะเวลา 1 ปี
ปีงบประมาณ งบประมาณปี 2552 1 ตุลาคม 2551 ถึง 30 กันยายน 2552 งบประมาณปี 2552 1 ตุลาคม 2551 ถึง 30 กันยายน 2552 งบประมาณปี 2553 1 ตุลาคม 2552 ถึง 30 กันยายน 2553
งบประมาณด้านรายรับ การประมาณการของรัฐบาลว่าจะมีรายรับทั้งหมดเท่าใด ในระยะเวลา 1 ปีงบประมาณ งบประมาณรายรับปี 2554 การประมาณการของรัฐบาล ณ ช่วงเวลา : 1 ตุลาคม 2553 ถึง 30 กันยายน 2554
ส่วนประกอบของงบประมาณรายรับ เงินกู้ รายได้ รัฐบาล เงินคงคลัง ถือเป็นรายรับด้วยเช่นกัน
รัฐบาล คลัง เบิกเอาไปใช้ เงินคงคลัง รายรับ
รายได้ รายได้จากภาษีอากร รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ รายได้จากรัฐพาณิชย์ รายได้อื่นๆ
รายได้จากภาษีอากร ภาษี คือ เงินที่ประชาชนถูกบังคับเก็บจากรัฐบาล เพื่อนำไปใช้จ่ายในการดำเนินกิจการของรัฐ รัฐบาล
รัฐบาลกลาง รัฐบาลท้องถิ่น ภาษี ยังหมายถึงรายได้หรือทรัพยากรที่ได้มีการเคลื่อนย้ายจากภาคเอกชนไปสู่ภาครัฐบาลกลางหรือรัฐบาลท้องถิ่น รัฐบาลกลาง ภาษี รัฐบาลท้องถิ่น
ตัวอย่างภาษีท้องถิ่น ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เป็นภาษีที่จัดเก็บจากบ้านเช่า อาคาร ร้านค้า ตึกแถว บริษัท ธนาคาร โรงแรม โรงภาพยนตร์ แฟลต อพาร์ตเม้นท์ หอพัก คอนโดมิเนียม โรงเรียนวิชาชีพ โรงงานอุสาหกรรม สนามม้า สนามมวย สนามกอล์ฟ ท่าเรือ บอนไก่ บ่อนปลาฟาร์มสัตว์ คลังสินค้า และบริเวณที่ดินที่ปกติใช้ร่วมกับโรงเรือน ฯลฯ
ภาษีป้าย เป็นภาษีที่จัดเก็บจากป้ายแสดงชื่อ ยี่ห้อ หรือเครื่องหมายการค้า หรือโฆษณา หรือกิจการอื่น ๆ เพื่อหารายได้ไม่ว่าจะแสดงหรือโฆษณาที่วัตถุใดๆ ด้วยอักษร ภาพ หรือเครื่องหมายที่เขียนแกะสลัก จารึกหรือทำให้ปรากฏด้วยวิธีอื่น ๆ
วัตถุประสงค์ของการเก็บภาษีอากร เพื่อหารายได้ เพื่อการควบคุมการบริโภคของประชาชน เพื่อการกระจายรายได้ เพื่อการชำระหนี้ของรัฐ เพื่อเป็นเครื่องมือในนโยบายทางธุรกิจ เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
เพื่อหารายได้ รัฐบาล รายรับ รายจ่าย ส่วนหนึ่ง คือ ภาษี
เพื่อการควบคุมการบริโภคของประชาชน
เพื่อการกระจายรายได้ คนรวย รัฐบาล คนจน
เพื่อการชำระหนี้ของรัฐ เจ้าหนี้ ภาษี รัฐบาล
เพื่อเป็นเครื่องมือในนโยบายทางธุรกิจ
เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ รัฐบาล ภาวะเงินเฟ้อ
รัฐบาล ภาวะเงินฝืด
อำนาจการจัดเก็บภาษีของรัฐบาล 1. หลักถิ่นที่อยู่ (resident rule) 2. หลักแหล่งเงินได้ (source rule) 3. หลักสัญชาติ (nationality rule)
หลักในการจัดเก็บภาษี หลักความเป็นธรรม ( Equity ) หลักความแน่นอน ( Certainty ) หลักความสะดวก ( Convenience ) หลักประหยัด ( Economy )
หลักความเป็นธรรม ( Equity ) รายได้ เสียภาษีเท่ากัน รายได้
หลักความแน่นอน ( Certainty ) ประชาชนมีการเตรียมพร้อม อัตราภาษี เวลา แจ้งให้ทราบล่วงหน้า ต้องการเปลี่ยนแปลง ใครบ้างที่จะต้องจ่ายภาษี
หลักความสะดวก ( Convenience )
www.rd.go.th กรมสรรพากรเปิดให้บริการยื่นแบบฯทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งสามารถทำได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย
หลักประหยัด ( Economy ) รัฐบาล ประหยัด ประหยัด
ประเภทของภาษีอากร 1. ภาษีทางตรง 2. ภาษีทางอ้อม
ภาษีทางตรง ภาษีที่ผู้เสียภาษีตามกฎหมายจะต้องรับภาระภาษีไว้เอง โดยจะผลักไปให้ผู้อื่นได้ยาก ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีที่ดิน ภาษีมรดก ฯลฯ
ภาษีที่ผู้เสียภาษีตามกฎหมายสามารถผลักภาระภาษีให้ผู้อื่นได้ง่าย ภาษีทางอ้อม ภาษีที่ผู้เสียภาษีตามกฎหมายสามารถผลักภาระภาษีให้ผู้อื่นได้ง่าย ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีสรรพสามิต ภาษีศุลกากร ฯลฯ
อัตราภาษี อัตราคงที่ ( Proportional Rate ) อัตราก้าวหน้า (Progressive Rate ) อัตราถอยหลัง (Regressive Rate )
อัตราคงที่ (Proportional Rate ) รายรับก่อนหักรายจ่าย อัตราภาษีที่จัดเก็บในอัตราเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงขนาดของฐานภาษี เสียภาษีเท่ากัน ภาษีมูลค่าเพิ่ม คนรวย คนจน
อัตราภาษีแบบก้าวหน้า (Progressive Rate ) อัตราภาษีที่จัดเก็บหลายอัตรา แต่อัตราภาษีจะสูงขึ้นเมื่อฐานภาษีขยายใหญ่ขึ้น ฐานภาษี (รายรับก่อนหักรายจ่าย) ฐานภาษีสูง คนรวย ภาษีสูง ฐานภาษีต่ำ คนจน ภาษีต่ำ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เงินได้ 1 - 50,000 บาท ไม่ต้องเสียภาษี 50,001 - 100,000 บาท อัตราภาษี 5% 100,001 - 500,000 บาท อัตราภาษี 10% 500,001 - 1,000,000 บาท อัตราภาษี 20% 1,000,001 - 4,000,000 บาท อัตราภาษี 30% 4,000,001 บาท ขึ้นไป อัตราภาษี 37%
อัตราภาษีแบบถอยหลัง (Regressive Rate ) อัตราภาษีที่จัดเก็บหลายอัตรา แต่อัตราภาษีจะลดลงเมื่อฐานภาษีขยายใหญ่ขึ้น ไม่ค่อยนิยม ภาษีบำรุงท้องที่ 1 ไร่ – 5 ไร่ = เสียภาษี 5% 6 ไร่ – 20 ไร่ = เสียภาษี 3% เกิน 20 ไร่ = เสียภาษี 2%
อัตราภาษีแบบก้าวหน้า ฐานภาษี อัตราภาษีแบบก้าวหน้า อัตราภาษีแบบคงที่ อัตราภาษีแบบถอยหลัง
อัตราภาษี (ก) (ข) (ค) คือแบบไหน ? รายได้ อัตราภาษี ก. ข. ค. 1,000 5% 2% 15% 2,000 10% 3,000 8% 4,000 อัตราคงที่ อัตราก้าวหน้า อัตราถอยหลัง
อัตราภาษี (ก) (ข) (ค) คือแบบไหน ? นาย ก นาย ข นาย ค 1500 1000 2000 3000 6000
ฐานภาษี นาย ก นาย ข นาย ค 10,000 15% 1500 10% 1000 20,000 7.5% 2000 3000 30,000 5% 20% 6000
วิธีการจัดเก็บภาษีของรัฐบาล 1. วิธีเสียภาษีโดยหัก ณ. ที่จ่าย เช่น หักภาษี ณ.ที่จ่ายจากเงินเดือน ค่าจ้าง 2. การประเมินตนเอง เป็นการเสียภาษีที่สะดวก ผู้มีหน้าที่เสียภาษีจะยื่นแบบแสดงรายการเงินได้ 3. เจ้าพนักงานประเมินเรียกเก็บ วิธีนี้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีจะยื่นแบบแสดงรายการเงินได้หรือทรัพย์สินของตนเองให้เจ้าพนักงานประเมิน 4. การตรวจสอบภาษี ในกรณีที่ผู้เสียภาษีได้เสียภาษี และเจ้าหน้าที่ตรวจสอบเห็นว่ามีการเสียภาษีไว้ไม่ถูกต้องตามที่ควร
การหนีภาษี (Tax Evasion) และการหลบเลี่ยงภาษี (Tax Avoidance) ผู้ต้องเสียภาษีเจตนาละเมิดไม่เสียภาษีหรือเสียน้อยกว่าที่ควรจะต้องเสียตามที่กฎหมายกำหนด ตลอดถึงการลักลอบนำสินค้าเข้าหรือออกนอกประเทศโดยไม่เสียภาษี การหนีภาษีอากร การเลี่ยงภาษีอากร เป็นการอาศัยช่องโหว่ (loop hole) หรือความคลุมเครือของกฎหมายที่เปิดให้เสียภาษีอากรน้อยลง โดยไม่ผิดกฎหมายแต่ขัดเจตนารมณ์ของกฎหมาย เช่น รัฐบาลจัดเก็บภาษีอากรของรถยนต์ที่ใช้น้ำมันเบนซินแพงกว่ารถยนต์ที่ใช้น้ำมันดีเซลหรือก๊าซ ผู้ใช้รถยนต์จำนวนมากจะเปลี่ยนเครื่องยนต์จากการใช้น้ำมันเบนซิน มาเป็นเครื่องยนต์ที่ใช้ดีเซลหรือก๊าซ เป็นต้น
ประมาณการรายรับ หน่วย : ล้านบาท ประเภทรายรับ ปีงบประมาณ 2545 2546 จำนวน ร้อยละ รายได้ 1. ภาษีอากร 735,370.6 79.7 724,890.3 85.6 2. การขายสิ่งของและบริการ 10,989.8 1.1 19,180.9 1.9 3. รัฐพาณิชย์ 40,908.5 4.0 37,000.0 3.7 4. รายได้อื่น 35,731.1 3.5 43,928.8 4.4 รายได้รวม 823,000.0 80.4 825,000.0 82.5 เงินกู้ 200,000.0 19.6 174,900.0 17.5 รวมรายรับ 1,023,000.0 100.0 999,900.0
ประมาณการรายรับ หน่วย : ล้านบาท ประเภทของรายรับ ปีงบประมาณ 2549 2550 จำนวน ร้อยละ ภาษีอากร 1,249,535.7 91.9 1,298,980.2 83.1 การขายสิ่งของและบริการ 14,372.8 1.1 14,891.8 0.9 รัฐพาณิชย์ 60,600 4.4 72,650 4.6 รายได้อื่น 35,490.5 2.6 33,728 2.1 รายได้รวม 1,360,000 100 1,420,000 90.7 เงินกู้ - 146,200 9.3 รวมรายรับ 1,360,000 100 1,566,200
ส่วนประกอบของงบประมาณรายรับ (ต่อ) รัฐบาล รายได้ เงินกู้ เงินคงคลัง พึ่งจบหัวข้อนี้ กำลังเริ่มหัวข้อนี้
เงินกู้ รายได้ < รายจ่าย หนี้สาธารณะ โดยทั่วไปจะเกิดขึ้นเมื่อ “รายได้” ไม่เพียงพอกับ “รายจ่าย” รายได้ < รายจ่าย ประมาณการ รายจ่าย หนี้สาธารณะ เงินกู้ รัฐบาล เงินคงคลัง ประมาณการ รายได้ มักจะหลีกเลี่ยงการนำมาใช้
ประเภทเงินกู้ของรัฐบาล 1. พิจารณาจากหนี้สาธารณะตามระยะเวลาการกู้ยืม หนี้ระยะสั้น ระยะปานกลาง ระยะยาว 2. พิจารณาจากหนี้สาธารณะตามแหล่งที่มาของเงินกู้ หนี้ภายในประเทศ หนี้ภายนอกประเทศ
หนี้สาธารณะของไทย ปีงบประมาณ มูลค่า (พันล้านบาท) ร้อยละของ GDP 2539 685.2 14.9 2544 2,931.7 57.6 2545 2,934.4 55.1 2546 2,918.1 49.7 2547 3,126.5 47.5 2548 3,277.5 45.9 2549 3,233.1 41.3
เงินคงคลัง เงินที่เหลือจากการใช้จ่ายในปีก่อน ๆ ซึ่งรัฐบาลเก็บสะสมไว้และสามารถนำมาใช้ในปีที่มีรายจ่ายสูงกว่ารายได้
มักจะหลีกเลี่ยงการนำมาใช้ จะต้องเหลือมากจริง ๆ จึงจะนำมาใช้ ประมาณการ รายจ่าย หนี้สาธารณะ เงินกู้ รัฐบาล เงินคงคลัง ประมาณการ รายได้ มักจะหลีกเลี่ยงการนำมาใช้ จะต้องเหลือมากจริง ๆ จึงจะนำมาใช้
งบประมาณทางด้านรายจ่าย
เปรียบเทียบงบประมาณรายจ่ายกับ GDP หน่วย : ล้านบาท ปีงบประมาณ GDP ณ ราคาปัจจุบัน งบประมาณ รายจ่าย % ต่อ GDP 2539 4,622,832.0 843,200.0 18.2 2540 4,740,249.0 925,000.0 19.5 2541 4,628,431.0 830,000.0 17.9 2542 4,632,100.0 825,000.0 17.8 2543 4,904,700.0 860,000.0 17.5 2544 5,098,100.0 910,000.0 2545 5,309,200.0 1,023,000.0 19.3 2546 5,588,800.0 999,900.0 ที่มา : สำนักงบประมาณ
ประเภทของงบประมาณรายจ่าย จำแนกรายจ่ายตามลักษณะเศรษฐกิจ รายจ่ายเพื่อการลงทุน รายจ่ายเพื่อสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจ และรายจ่ายเพื่อการได้มาซึ่ง ครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง รายจ่ายประจำ รายจ่ายเพื่อการบริหารงานประจำ เงินรายจ่ายประเภทเงินเดือน ค่าจ้าง และรายจ่ายเพื่อสวัสดิการแก่ข้าราชการ รายจ่ายในการชำระหนี้เงินกู้
งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามลักษณะเศรษฐกิจ ลักษณะเศรษฐกิจ ปีงบประมาณ 2549 หน่วย : ล้านบาท ลักษณะเศรษฐกิจ ปีงบประมาณ 2549 2550 จำนวน ร้อยละ รายจ่ายลงทุน 358,335.8 26.3 374,647.7 24 รายจ่ายประจำ 958,477 70.5 1,136,060.8 72.5 รายจ่ายชำระคืนเงินกู้ 43,187.2 3.2 55,490.5 3.5 รวม 1,360,000 100 1,566,200
งบประมาณสมดุล (Balance Budget) ประเภทของงบประมาณ งบประมาณสมดุล (Balance Budget) งบประมาณที่เป็นรายได้ของรัฐรวมกันแล้วเท่ากับรายจ่ายของรัฐพอดี ประมาณการ รายได้ ประมาณการ รายจ่าย รัฐบาล เงินคงคลัง
งบประมาณไม่สมดุล (Unbalance Budget) 1. งบประมาณเกินดุล รายได้ > รายจ่าย ประมาณการ รายได้ ประมาณการ รายจ่าย รัฐบาล เงินคงคลัง
2. งบประมาณขาดดุล รายได้ < รายจ่าย รายได้ < รายจ่าย ประมาณการ รายได้ ประมาณการ รายจ่าย รัฐบาล เงินคงคลัง
นโยบายการคลัง นโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับการจัดหารายได้ การใช้จ่าย และการบริหารหนี้สาธารณะ เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจให้อยู่ในสภาวะที่เหมาะสม รวมทั้งให้มีผลต่อการเร่งรัดความเจริญทางเศรษฐกิจและระดับการจ้างงานของประเทศ รวมไปถึงเพื่อส่งเสริมให้มีการกระจายรายได้ให้เป็นธรรมยิ่งขึ้น
นโยบายการคลังแบบขยายตัว (Expansionary fiscal policy) ใช้ในกรณีเศรษฐกิจตกต่ำ เครื่องมือ รัฐบาลเพิ่มรายจ่าย ลดอัตราภาษี กระตุ้นการใช้จ่ายในระบบเศรษฐกิจ ???งบประมาณรายได้ VS งบประมาณรายจ่าย??? < งบประมาณขาดดุล
นโยบายการคลังแบบหดตัว (Contractionary fiscal policy) ใช้ในกรณีเศรษฐกิจขยายตัวมากเกินไป เครื่องมือ รัฐบาลลดรายจ่าย เพิ่มอัตราภาษี ระงับการใช้จ่ายในระบบเศรษฐกิจ ???งบประมาณรายได้ VS งบประมาณรายจ่าย??? < งบประมาณเกินดุล
นโยบายการคลังแบบหดตัว นโยบายการคลังแบบขยายตัว เศรษฐกิจขยายตัวมาก เศรษฐกิจตกต่ำ นโยบายการคลังแบบหดตัว นโยบายการคลังแบบขยายตัว รัฐบาลลดรายจ่ายลง รัฐบาลเพิ่มการหารายได้ (ภาษี) รัฐบาลเพิ่มรายจ่าย รัฐบาลลดรายได้ (ภาษี) งบประมาณแบบเกินดุล งบประมาณแบบขาดดุล
การดำเนินนโยบายการคลังของไทย การขาดดุลงบประมาณ การค้ำประกันเงินกู้ในประเทศ / ให้กู้ต่อ การกู้เงินตราต่างประเทศเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม