การรักษาดุลภาพของเซลล์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

สีกับสิ่งทอ Sir william H.perkin ค้นพบสีสังเคราะห์ชนิดแรกเป็นสีเบสิกคือ mauve สารที่มีสีมี 2 ประเภทคือ พิกเมนท์(pigment)และสี(dye) พิกเมนท์เป็นสารมีสีไม่ละลายน้ำและติดอยู่บนผ้าด้วยสารช่วยติด.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย เด็กหญิงอภิญญา เพชรทอง ชั้นม.1/12 เลขที่ 3 เด็กหญิงณัฐกาญจน์ สุนะธรรม ชั้นม.1/12 เลขที่
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
อนุภาค โมเลกุล อะตอม ไอออน 6.2 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของเซลล์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
โครเมี่ยม (Cr).
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
การออกแบบและเทคโนโลยี
โครงงาน(Project) เรื่อง ระบบร้านเช่าหนังสือออนไลน์
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
ความเค้นและความเครียด
ระดับความเสี่ยง (QQR)
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
แผ่นดินไหว.
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
SMS News Distribute Service
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
รายวิชา การบริหารการศึกษา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การรักษาดุลภาพของเซลล์ โดย นางอารมณ์ จันทรอมรพร

การแนะนำการใช้ 1. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ 2. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน 3. ศึกษาบทเรียน 4. ทำแบบทดสอบหลังเรียน 5. ออกจากบทเรียน

จุดประสงค์การเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถอภิปราย สรุปการลำเลียงสารผ่านเซลล์ และการสื่อสารระหว่างเซลล์

จุดประสงค์การเรียนรู้ เมนูหลัก ทดสอบก่อนเรียน ศึกษาบทเรียน ทดสอบหลังเรียน ออกจากบทเรียน

ทดสอบก่อนเรียน 1.ข้อใดกล่าวถึงการเข้า-ออกของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ถูกต้อง 1. น้ำ และแก๊สออกซิเจนสามารถผ่านเข้าออกเยื่อหุ้มเซลล์ได้ง่าย 2. สารที่มีขั้ว สามารถผ่านเข้าออกเยื่อหุ้มเซลล์ได้ดีที่สุด 3.สารที่มีขนาดใหญ่ผ่านเข้าออกเยื่อหุ้มเซลล์ไม่ได้ด้วยตนเอง ก.เฉพาะข้อ 1 ข.ข้อ 1 และข้อ 2 ค.ข้อ 1 และข้อ 3 ง. ข้อ 1 , 2 และ 3

2.ข้อใดกล่าวถึงภาวะสมดุลของการแพร่ได้ถูกต้อง ก.เป็นภาวะที่โมเลกุลของสารเคลื่อนที่แบบมีทิศทางแน่นอน ข.เป็นภาวะที่โมเลกุลของสารมีระดับพลังงานจลน์ต่ำกว่าาปกติ ค.เป็นภาวะที่โมเลกุลของสารเคลื่อนที่ไปมาจนทุกส่วนมีความเข้มข้นของสารเท่ากัน ง.เป็นภาวะที่โมเลกุลของสารหยุดการเคลื่อนที่เนื่องจากมีความเข้มข้นเท่ากัน

3.การแพร่ของสารผ่านเซลล์จะเกิดขึ้น เมื่อใด ก.มีสิ่งเจือปนอยู่ภายนอกเซลล์มากกว่าปกติ ข.มีความแตกต่างของความดันภายในและภายนอกเซลล์ ค.มีความแตกต่างของอุณหภูมิภายในและภายนอกเซลล์ ง.มีความแตกต่างระหว่างความเข้มข้นของสารภายในและภายนอกเซลล์

4.พารามิเซียมตัวที่ 1 อยู่ในน้ำเกลือเจือจาง ส่วนตัวที่ 2 อยู่ในน้ำฝน คอนแทรกไทร์แวคิวโอลของงพารามิเซียมทั้งสองตัวเป็นอย่างไร ก. ของตัวที่ 1 พ่นน้ำจำนวนมากกว่าของตัวที่ 2 ข. ของตัวที่ 1 พ่นน้ำจำนวนน้อยกว่าของตัวที่ 2 ค. คอนแทรกไทร์แวคิวโอลของทั้งสองตัวไม่พ่นน้ำเลย ง.คอนแทรกไทร์แวคิวโอลของของทั้งสองตัวพ่นน้ำ จำนวนเท่ากัน

5.การแพร่แบบฟาซิลิเทตมีส่วนคล้ายกับ Active Transport อย่างไร ก.ไม่เหมือนกันเลย ข.ต้องอาศัยโปรตีนเป็นตัวพา ค.ต้องอาศัยพลังงาน ATP คล้ายกันของสารเคลื่อนที่ไปมาจนทุกส่วนมีความเข้มข้นของสารเท่ากัน ง.สามารถขนส่งสารต่อต้านกับความเข้มข้นของสารได้ กลับเมนูหลัก

ทำไม...เซลล์จึงต้องรักษาดุลยภาพ ? ทำไม...เซลล์จึงต้องรักษาดุลยภาพ ? เพื่อรักษาสภาพแวดล้อมภายในเซลล์ให้เหมาะสมต่อการทำงานและการดำรงชีวิตของเซลล์แต่ละเซลล์ เพื่อการอยู่รอดของเซลล์

โครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการรักษาดุลยภาพของเซลล์คือ.................. เยื่อหุ้มเซลล์

จากแผนภาพนี้สารใดบ้างที่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้เอง

สรุปได้ว่า.. 1.น้ำ ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ จะผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ง่าย 2.สารที่ละลายในไขมันได้ดี และสารอินทรีย์ที่ไม่มีขั้วจะผ่านเข้าออกได้ง่าย 3.ไอออนต่าง ๆ จะผ่านได้ช้ามาก เช่น ไฮโดรเจนไอออน 4.สารที่มีโมเลกุลใหญ่ ไม่มีขั้ว เช่นกลูโคส และน้ำตาลอื่น ๆ ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ยาก

การลำเลียงสารผ่านเข้าออกจากเซลล์ แบ่งออกเป็น การลำเลียงสารผ่านเข้าออกจากเซลล์ แบ่งออกเป็น 1. การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 1.1 การลำเลียงสารแบบไม่ใช้พลังงาน 1.2 การลำเลียงสารแบบใช้พลังงาน 2. การลำเลียงสารไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 2.1 การลำเลียงสารออกจากเซลล์ 2.2 การลำเลียงสารเข้าเซลล์

การลำเลียงสารแบบไม่ใช้พลังงาน 1.1 การแพร่แบบธรรมดา (Diffusion) 1.2 การออสโมซิส 1.3 การแพร่แบบฟาซิลิเทต (Facillitated diffusion)

การแพร่แบบธรรมดา (Simple Diffsion)

การแพร่แบบธรรมดา คือ... การเคลื่อนที่ของอนุภาคของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารนั้นสูงไปสู่ที่มีความเข้มข้น ของสารนั้นต่ำกว่า

ปัจจัยที่ควบคุมการแพร่ 1. ความเข้มข้นของสารที่จะแพร่ 2. อุณหภูมิ 3. ความดัน 4. สิ่งเจือปนหรือตัวทำละลาย

ออสโมซิส (Osmosis) คือ... การแพร่ของน้ำผ่านเยื่อหุ้มเซลล์

กระบวนการของการออสโมซิส แพร่จากบริเวณที่มีโมเลกุลของน้ำมาก(สารละลายเจือจาง) ไปสู่บริเวณที่มีโมเลกุลของน้ำน้อยกว่า(สารละลายเข้มข้น)

ชุดเครื่องมือที่ใช้แสดงการออสโมซิส เรียกว่า ออสโมมิเตอร์

สารละลายไอโซโทนิค สารละลายไฮเพอร์โทนิค สารละลายไฮโพโทนิค

สารละลายที่เกี่ยวข้องกับ ออสโมซิส สารละลายที่เกี่ยวข้องกับ ออสโมซิส Isotonic Solution สารละลายภายในและภายนอกมีแรงดันออสโมติกเท่ากัน Hypertonic Solution สารละลายภายในมีแรงดันออสโมติกน้อยกว่าสารละลายภายนอกเซลล์ -เซลล์เหี่ยว Plasmolysis Hypotonic Solution สารละลายภายในมีแรงดันออสโมติกมากกว่าสารละลายภายนอกเซลล์ – เซลล์เต่ง Plasmoptysis

เซลล์รักษาดุลยภาพได้ ถ้านำพารามิเซียมใส่ลงในสารละลายที่เจือจางกว่าสารละลายในตัวพารามิเซียมจะเกิดอะไรขึ้น เซลล์เหี่ยว เซลล์เต่งและแตก เซลล์รักษาดุลยภาพได้ พารามิเซียม

การแพร่แบบฟาซิลิเทต (Facillitated diffusion)

สารที่เซลล์ต้องลำเลียงแบบฟาซิลิเทต คือ กลีเซอรอล กรดอะมิโนและกูลโคส โดยสารจะเคลื่อนที่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ด้านที่มีความเข้มข้นสูงไปยังด้านที่มีความเข้มข้นต่ำกว่าเสมอจนกว่าเข้มข้นจะนเท่ากัน พบได้ ในการลำเลียงสารที่ตับ เซลล์บุผิวลำไส้เล็ก

สรุปลักษณะเฉพาะของการแพร่แบบ ฟาซิลิเทต 1.อาศัยโปรตีนตัวพาที่จำเพาะในเยื่อหุ้มเซลล์ มาจับกับสารที่จะแพร่เข้าสู่เซลล์ 2.ไม่ต้องใช้พลังงาน (ATP) 3. พาสารเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำกว่า 4.อัตราการแพร่ของสารเกิดขึ้นเร็วกว่าการแพร่แบบธรรมดา 5. เฉพาะโปรตีนตัวพาเท่านั้นที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างในขณะที่ขนส่งสารผ่านเข้าสู่เซลล์

กระบวนการ Active Transport

สรุปลักษณะเฉพาะของ Active Transport 1.อาศัยโปรตีนตัวพาจำเพาะที่แทรกอยู่ในเยื่อหุ้มเซลล์ 2. ต้องใช้พลังงาน (ATP) 3. พาสารเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำไปยังบริเวณ ที่มีความเข้มข้นสูงกว่า 4. เฉพาะโปรตีนตัวพาเท่านั้นที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างในขณะที่ขนส่งสารผ่านเข้าสู่เซลล์

การลำเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ Exocytosis Endocytosis Phagocytosis Pinocytosis Receptor-mediated

Exocytosis

Exocytosis

Phagocytosis

Pinocytosis

Receptor-mediated Endocytosis

การสื่อสารระหว่างเซลล์ เซลล์มีการติดต่อสื่อสารกับเซลล์อื่น ๆ โดยอาศัยโปรตีนที่อยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์โดยอาศัยสารเคมีที่สร้างขึ้นแล้วหลั่งออกมานอกเซลล์

การสื่อสารระหว่างเซลล์ที่ห่างกัน

การสื่อสารระหว่างเซลล์ที่ห่างกัน

กระบวนการสื่อสารระหว่างเซลล์ 1.การรับสัญญาณ (Reception) 2.การส่งสัญญาณ (Signal transduction) 3.การตอบสนอง (Response)

ทดสอบหลังเรียน 1.ข้อใดกล่าวถึงการเข้า-ออกของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ถูกต้อง 1. น้ำ และแก๊สออกซิเจนสามารถผ่านเข้าออกเยื่อหุ้มเซลล์ได้ง่าย 2. สารที่มีขั้ว สามารถผ่านเข้าออกเยื่อหุ้มเซลล์ได้ดีที่สุด 3.สารที่มีขนาดใหญ่ผ่านเข้าออกเยื่อหุ้มเซลล์ไม่ได้ด้วยตนเอง ก.เฉพาะข้อ 1 ข.ข้อ 1 และข้อ 2 ค.ข้อ 1 และข้อ 3 ง. ข้อ 1 , 2 และ 3

2.ข้อใดกล่าวถึงภาวะสมดุลของการแพร่ได้ถูกต้อง ก.เป็นภาวะที่โมเลกุลของสารเคลื่อนที่แบบมีทิศทางแน่นอน ข.เป็นภาวะที่โมเลกุลของสารมีระดับพลังงานจลน์ต่ำกว่าาปกติ ค.เป็นภาวะที่โมเลกุลของสารเคลื่อนที่ไปมาจนทุกส่วนมีความเข้มข้นของสารเท่ากัน ง.เป็นภาวะที่โมเลกุลของสารหยุดการเคลื่อนที่เนื่องจากมีความเข้มข้นเท่ากัน

3.การแพร่ของสารผ่านเซลล์จะเกิดขึ้น เมื่อใด ก.มีสิ่งเจือปนอยู่ภายนอกเซลล์มากกว่าปกติ ข.มีความแตกต่างของความดันภายในและภายนอกเซลล์ ค.มีความแตกต่างของอุณหภูมิภายในและภายนอกเซลล์ ง.มีความแตกต่างระหว่างความเข้มข้นของสารภายในและภายนอกเซลล์

4.พารามิเซียมตัวที่ 1 อยู่ในน้ำเกลือเจือจาง ส่วนตัวที่ 2 อยู่ในน้ำฝน คอนแทรกไทร์แวคิวโอลของงพารามิเซียมทั้งสองตัวเป็นอย่างไร ก. ของตัวที่ 1 พ่นน้ำจำนวนมากกว่าของตัวที่ 2 ข. ของตัวที่ 1 พ่นน้ำจำนวนน้อยกว่าของตัวที่ 2 ค. คอนแทรกไทร์แวคิวโอลของทั้งสองตัวไม่พ่นน้ำเลย ง.คอนแทรกไทร์แวคิวโอลของของทั้งสองตัวพ่นน้ำ จำนวนเท่ากัน

5.การแพร่แบบฟาซิลิเทตมีส่วนคล้ายกับ Active Transport อย่างไร ก.ไม่เหมือนกันเลย ข.ต้องอาศัยโปรตีนเป็นตัวพา ค.ต้องอาศัยพลังงาน ATP คล้ายกันของสารเคลื่อนที่ไปมาจนทุกส่วนมีความเข้มข้นของสารเท่ากัน ง.สามารถขนส่งสารต่อต้านกับความเข้มข้นของสารได้

กลับเมนูหลัก