การทดสอบสมมติฐาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเลือกใช้ ตัวสถิติทดสอบที่ถูกต้อง
Advertisements

Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Chapter 9: Hypothesis Testing : Theory
Chapter 10: Hypothesis Testing: Application
Dr. Tipsuda Janjamlha 30 AUG. 08
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับลักษณะของข้อมูล
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
STACK ADT By Pantharee S.. Stack Model  A list with the restriction that insertions deletions can be performed in only one position (LIFO)  Push – insert.
วิจัย (Research) คือ อะไร
การทดสอบเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยและสัดส่วน
Wilcoxon Signed Ranks test ใช้เมื่อไร? 2 correlated group design ตัวอย่างถูกเลือกมาจากประชากร แล้วทดลองเปรียบเทียบ 1.Before/Method 1 2.After/Method 2 สมมุติฐาน.
 รอบ 3 เดือน,พัฒนาบุคลากร เครือข่ายคณะกรรมการในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล วางแนวทางการ ดำเนินงาน  รอบ 6 เดือน ดำเนินงานตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้หวัด.
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
ประชุมผู้บริหารการศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษา
การวิจัยในชั้นเรียน Classroom action Research
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อการทำวิจัยอย่างง่าย
การหาความสัมพันธ์ของตัวแปร
การวิเคราะห์และการแปลผล
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ คุณภาพของเครื่องมือวัด
การวัดและประเมินผลการศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว
บทที่ 3 ตัวแปรและสมมติฐาน.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
บทที่ 11 สถิติเชิงสรุปอ้างอิง
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ส่วนการทะเบียนทั่วไป สำนักบริหารการทะเบียน
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
Dr. Luckwirun Chotisiri College of Nursing and Health, ssru
บทที่ 5 หลักการประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน
ขั้นตอนการเช็คชั่วโมงกิจกรรมของนิสิต
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
ขั้นตอนการทำโครงงานวิจัย
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
ข้อมูล และ เครื่องมือเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ
Students’ Attitudes toward the Use of Internet
แนวทางการบริหารงานเพื่อสอดรับ กับการปรับระบบบริหารงานบุคคล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การกำหนดประเด็นปัญหา
บทที่ 4 ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน
การขออนุมัติดำเนินโครงการ ภายใต้ข้อบังคับฯ 2559
ผู้วิจัย ศิริมา เที่ยงสาย
รูปแบบและขั้นตอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
บทที่ 7 การประมาณค่าและทดสอบสมมติฐานสำหรับค่า สัดส่วนประชากร 1 กลุ่ม
พระพุทธศาสนา.
วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครั้งที่ 4
Statistical Method for Computer Science
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
กระบวนการเรียนการสอน
Probability and Statistics for Computing
Probability and Statistics for Computing
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
Training for SPSS BY Assist. Prof. Benchamat Laksaniyanon, Phd
การถ่ายลำ ผ่านแดน และของตกค้าง
สมมติฐานการวิจัย.
Probability and Statistics for Computing
ประจำปีการศึกษา พุทธศักราช 2555
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
งานวิจัย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทดสอบสมมติฐาน

การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของกลุ่มประชากร ในกรณีที่เรามีวัตถุประสงค์ที่จะทำการทดสอบสมมุติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของประชากร เมื่อเราได้ทำการทดลองและเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อนำมาทำการทดสอบสมมุติฐาน โดยทั่วไปแนวทางในการทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากร สามารถแบ่งเป็น 1. การทดสอบค่าเฉลี่ยกรณีกลุ่มตัวอย่าง 1 กลุ่ม 2. การทดสอบค่าเฉลี่ยกรณีกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม 3. การทดสอบค่าเฉลี่ยกรณีกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่ม

ขั้นตอนของการทดสอบ สามารถดำเนินการได้ดังนี้ ขั้นที่ 1 ตั้งสมมุติฐาน เป็นการตั้งสมมุติฐานทางสถิติ ซึ่งประกอบด้วยสมมติฐานหลัก ( Null hypothesis ) (H0)และสมมติฐานรอง ( Alternative hypothesis )( H1) ซึ่งสมมติฐานรองตั้งได้ 2 แบบ คือสมมติฐานรองแบบมีทิศทาง ซึ่งจะต้องทำการทดสอบแบบทางเดียว (One-tailed test) และ สมมติฐานรองแบบไม่มีทิศทาง ซึ่งจะทำการทดสอบแบบสองทาง (Two-tailed test)

ขั้นตอนของการทดสอบ

ขั้นตอนของการทดสอบ ขั้นที่ 3 เลือกสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน ในการทดสอบค่าเฉลี่ย สถิติที่ใช้ในการทดสอบมี Z - test t - test และ การวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) ซึ่ง Z – test และ t - test ใช้ทดสอบกรณีมีกลุ่มตัวอย่างหนึ่งหรือสองกลุ่ม สำหรับการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA)ใช้ทดสอบกรณีที่มีกลุ่มตัวอย่างมากกว่าสองกลุ่มขึ้นไป โดยสถิติแต่ละประเภทมีข้อตกลงเบื้องต้น ต่างกันออกไป

ขั้นตอนของการทดสอบ

ขั้นตอนของการทดสอบ ข้อตกลงเบื้องต้นของการทดสอบ t – test มีดังนี้ 1) กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยการสุ่ม 2) การแจกแจงของประชากรเป็นโค้งปกติ 3) ข้อมูลอยู่ในมาตราอันตรภาค(Interval Scale)ขึ้นไป 4) ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากร

ขั้นตอนของการทดสอบ สำหรับข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) มีดังนี้ 1) กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยการสุ่ม 2) การแจกแจงของประชากรเป็นโค้งปกติ 3) ข้อมูลอยู่ในมาตราอันตรภาค(Interval Scale)ขึ้นไป 4) กลุ่มตัวอย่างแต่ละกลุ่มเป็นอิสระต่อกัน 5) มีความเป็นอิสระภายในตัวอย่าง 6)ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากร แต่ความแปรปรวนของประชากรแต่ละกลุ่มมีค่าเท่ากัน

ขั้นตอนของการทดสอบ

ขั้นตอนของการทดสอบ

ขั้นตอนของการทดสอบ

ขั้นตอนของการทดสอบ ขั้นที่ 5 คำนวณค่าสถิติทดสอบตามสูตร เป็นการคำนวณค่าสถิติโดยนำข้อมูลที่ได้จากตัวอย่างที่ศึกษาไปแทนค่าต่าง ๆ ตามสูตรของสถิติทดสอบ

สรุปแนวทางในการพิจารณาการตัดสินใจ ของการทดสอบสมมุติฐานได้ดังนี้ กรณีที่เปรียบเทียบโดยใช้ค่าวิกฤตกับค่าที่คำนวณได้จากกลุ่มตัวอย่าง 1. ถ้าตั้งสมมุติฐานแบบทางเดียว การหาค่าวิกฤตให้นำค่า  ไปใช้ในการเปิดหาค่าในตารางได้เลย 2. ถ้าตั้งสมมุติฐานแบบสองทาง การหาค่าวิกฤตให้หาร  ด้วย 2 แล้วนำผลหารที่ได้ไปใช้ในการเปิดตาราง การสรุปเพื่อตัดสินใจ ถ้าค่าคำนวณมากกว่าหรือเท่ากับค่าวิกฤต(ไม่คิดเครื่องหมาย) จะปฏิเสธ H0 และยอมรับ H1 ถ้าค่าคำนวณน้อยกว่าค่าวิกฤต(ไม่คิดเครื่องหมาย) จะยอมรับ H0

ขั้นตอนของการทดสอบ หลักพิจารณาโดยใช้ค่า P-value มีดังนี้ ก. ปฏิเสธสมมติฐานหลัก ( H0) และยอมรับสมมติฐานรอง ( H1) ที่ระดับนัยสำคัญ  เมื่อความน่าจะเป็นที่จะเกิดค่าสถิติทดสอบที่คำนวณได้ภายใต้ H0( Sig(2-tailed))มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ  (Sig(2-tailed)  ) ข. ยอมรับสมมติฐานหลัก ( H0) และปฏิเสธสมมติฐานรอง ( H1) ที่ระดับนัยสำคัญ  เมื่อความน่าจะเป็นที่จะเกิดค่าสถิติทดสอบที่คำนวณได้ภายใต้ H0 มีค่ามากกว่า  ( Sig(2-tailed)  )

ข้อควรระวัง จะต้องพิจารณาลักษณะของการทดสอบสมมุติฐาน ควบคู่ไปด้วย กล่าวคือ ถ้าการทดสอบนั้นเป็นการทดสอบสมมุติฐานแบบสองทางให้นำค่า Sig(2-tailed) มาเปรียบเทียบกับ  ได้เลย แต่ถ้าการทดสอบสมมุติฐานแบบทางเดียว ก่อนจะเปรียบเทียบให้นำค่า Sig(2-tailed) หารด้วย 2 ก่อนแล้วจึงนำผลหารมาใช้เป็นตัวเปรียบเทียบโดยใช้หลักการที่กล่าวข้างต้น

สรุปแนวทางในการพิจารณาการตัดสินใจ ของการทดสอบสมมุติฐานได้ดังนี้ กรณีที่เปรียบเทียบโดยใช้ค่า Sig(2-tailed) จากตารางแสดงผลการวิเคราะห์( Print out ) ก. ถ้าตั้งสมมุติฐานแบบทางเดียว ให้นำค่า Sig(2-tailed) หารด้วย 2 แล้วนำค่าผลหารที่ได้ไปเปรียบเทียบกับค่า  ข. ถ้าตั้งสมมุติฐานแบบสองทาง ให้นำค่า Sig(2-tailed)ไปเปรียบเทียบกับ  ได้เลย ค. การสรุปเพื่อตัดสินใจ ถ้าค่า Sig(2-tailed) ที่นำมาเปรียบเทียบมากกว่า  จะยอมรับ H0 ถ้าค่า Sig(2-tailed) ที่นำมาเปรียบเทียบน้อยกว่า  จะปฏิเสธ H0 และ ยอมรับ H1

การทดสอบเพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย การทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยสองค่าที่ได้จากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน มี 2 กรณี คือ 1. กลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ ( n ) ทดสอบโดย Z- test 2.กลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก ( n < 30 )ทดสอบโดย t- test

การทดสอบเพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย

การทดสอบเพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ตัวอย่างที่ 1 การวิจัยเชิงทดลองเพื่อศึกษาผลการให้คะแนนการชิมรสชาติโยเกิร์ต ผู้วิจัยได้สุ่มตัวอย่างผู้ชิมมาจำนวน 25 คน ที่มีผลแล้วให้พวกเขาให้คะแนน ปรากฏว่าได้คะแนนเฉลี่ย 22 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5.6 จงทดสอบว่าคะแนนการชิมโยเกิร์ตเกณฑ์ที่กำหนด คือ 17 คะแนนหรือไม่ ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

การทดสอบเพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย

การทดสอบเพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย

การทดสอบเพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย คือ คะแนนเฉลี่ยของการชิมโยเกิร์ต สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือ 17 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

การทดสอบเพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย

การทดสอบเพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย

การทดสอบเพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย

การทดสอบเพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ตัวอย่างที่ 2 ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวานเพศชายและเพศหญิงว่า มีความสามารถในการดูแลตนเองแตกต่างกันหรือไม่ จึงได้สุ่มตัวอย่างผู้ป่วยเพศหญิงจำนวน 8 คน และผู้ป่วยเพศชายจำนวน 10 คน โดยแต่ละกลุ่มมีความเท่าเทียมกันในตัวแปรอื่น ๆ ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ของครอบครัว และระยะเวลาของการรักษาแตกต่างกันเฉพาะเพศเท่านั้น ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์และสังเกตการดูแลตนเองของผู้ป่วยและให้ค่าคะแนนตามเกณฑ์ที่ผู้วิจัยกำหนด ได้ค่าเฉลี่ยและความแปรปรวนของผู้ป่วยเพศหญิงเป็น 25, 18 และของผู้ป่วยเพศชายเป็น 20 และ 12 ตามลำดับ ผู้วิจัยต้องการทดสอบว่าค่าเฉลี่ยคะแนน “ ความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานระหว่างเพศหญิง เพศชายมีความแตกต่างกันหรือไม่ ”

การทดสอบเพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย

การทดสอบเพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย

การทดสอบเพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย

การทดสอบเพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย

การทดสอบเพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย

ตัวอย่างการเขียนตารางรายงานผล

ข้อควรจำ