ระบบประสาทและ การแสดงพฤติกรรม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
TOPICS 1. Obtaining and digesting of food (Digestive system)
Advertisements

เนื้อหา โครงสร้างส่วนประกอบของเซลล์ประสาท ชนิดและหน้าที่ของเซลล์ประสาท
Basic principle in neuroanatomy
ระบบประสาท (Nervous System)
เฉลย หากสามารถค้นหาได้ภายในเวลา ๒๕ วินาทีนั่นแสดงว่า หากสามารถหาได้ในเวลา ๑ นาทีแสดงว่าสมองของนักเรียนพัฒนาตามปกติ
สมองและพฤติกรรม Brain and Behavior
Introduction and development of electrotherapy
Physiology of therapeutic heat
จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์
Biological Concepts and Theories for Psychiatric Nursing
วัตถุประสงค์ เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนนักศึกษาสามารถอธิบาย
โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก.
หน่วยที่ 1 ระบบต่าง ๆ ของร่างกาย
บทปฏิบัติการที่ 17 ระบบประสาท (Nervous System)
สมองคน (Human Brain) Human Brain ความจำ จินตนาการและความสร้างสรรค์
การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
Testing & Assessment Plan Central College Network I.
กองส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ผลการดำเนินงานการ ตรวจสอบน้ำนมดิบ โดย กสส. สตส. สคบ. สทป. 8 กันยายน 2558.
Cr อ.เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
หน่วยที่ 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
อาจารย์ ทรงศักดิ์ สุริโยธิน
การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง Spinal cord injury
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่: อาหารที่ดีที่สุดสำหรับสมองของลูก
บทที่ 10 พฤติกรรมของสัตว์
Nerve injury Kaiwan Sriruanthong M.D. Nan Hospital.
ระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัส
บทที่ 7 หลักการบริหารงานคุณภาพ
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
บทที่ 8 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์ (Cell and Cell Compositions)
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
ผู้สอน : อ.บุศรินทร์ เอี่ยมธนากุล [อ.อ้อย]
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรการสอน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานกราฟิก
ครูปฏิการ นาครอด.
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
Buddy Happy Brain (Smart Kids) ศูนย์อนามัยที่ ๓
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
แบบฟอร์มการบริหารโดยการควบคุมคุณภาพ (QCC) ดีเด่น ปี 2561
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
หน้าจอหลักของ บก. เข้าสู่โปรแกรมที่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
กระบวนการเรียกร้องสิทธิและการดำเนินคดีผู้บริโภค
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
โครงสร้างและการทำงานของระบบประสาท สมอง และเส้นประสาทสมอง
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ความรู้เรื่องเครื่องปรับอากาศในอาคาร
จมูกและการรับกลิ่น ภายในเยื่อบุโพรงจมูก มีเซลล์รับกลิ่น (Olfactory cells) ซึ่งเป็นเซลล์ประสาท 2 ขั้ว ปลายเดนไดรต์ของเซลล์ประสาทมีหลายประเภทจึงรับกลิ่นได้หลายอย่างโดยเมื่อมีสารเคมีมากระตุ้น.
ชีววิทยา นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
ระบบประสาทและการแสดงพฤติกรรม (Nervous system and Animal Behavior)
อาณาจักรสัตว์ นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM )
ครูปฏิการ นาครอด.
กลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ.ชัยภูมิ
จัดทำโดย อาจารย์วิษณุ สมัญญา
THE HEART 1. เป็นก้อนกล้ามเนื้อเป็นโพรงข้างในมี 4 ช่อง ขนาดกำปั้นมือ ตั้งอยู่ใน Pericardial sac , Posterior ต่อ Sternum , เอียงซ้าย Apex อยู่ส่วนล่าง.
การทำงานของระบบประสาทอัตโนวัติ
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
กองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน
รหัสวิชา NUR 3236 รายวิชา การรักษาโรคเบื้องต้น Primary Medical Care
บทที่ 7 พฤติกรรมผู้ที่เกี่ยวข้องกับการบริการ
เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
ใบงานกลุ่มย่อย.
ปัจจัยพื้นฐาน ของพฤติกรรมมนุษย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบประสาทและ การแสดงพฤติกรรม

ระบบประสาท (Nervous System) ระบบประสาท (Nervous System) คือ ระบบการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสัตว์ ทำให้สัตว์สามารถตอบสนองต่อสิ่งต่างๆ รอบตัวอย่างรวดเร็วช่วยรวบรวมข้อมูล เพื่อให้สามารถตอบสนองได้ สัตว์ชั้นต่ำบางชนิด เช่น ฟองน้ำไม่มีระบบประสาท สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิดเริ่มมีระบบประสาท สัตว์ชั้นสูงขึ้นมาจีโครงสร้างของระบบประสาทซับซ้อนยิ่งขึ้น ระบบประสาทของมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ระบบประสาทส่วนกลางและระบบประสาทรอบนอก

(The Central Nervous System) ระบบประสาทส่วนกลาง (The Central Nervous System) ระบบประสาทส่วนกลาง (The Central Nervous System หรือ Somatic Nervous System) เป็นศูนย์กลางควบคุมการทำงานของร่างกาย ซึ่งทำงานพร้อมกันทั้งในด้านกลไกและทางเคมีภายใต้อำนาจจิตใจ ซึ่งประกอบด้วยสมองและไขสันหลังโดยเส้นประสาทหลายล้านเส้นจากทั่วร่างกายจะส่งข้อมูลในรูปกระแสประสาทออกจากบริเวณศูนย์กลางมีอวัยวะที่เกี่ยวข้องดังนี้

(The Central Nervous System) ระบบประสาทส่วนกลาง (The Central Nervous System) 1.สมอง(Brain) เป็นส่วนที่ใหญ่กว่าส่วนอื่นๆของระบบประสาทส่วนกลางทำหน้าที่ควบคุมการทำกิจกรรมทั้งหมดของร่างกายเป็นอวัยวะชนิดเดียวที่แสดงความสามารถด้านสติปัญญา การทำกิจกรรมหรือการแสดงออกต่างๆสมองของสัตว์มีกระดูกสันหลังที่สำคัญแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้

สมอง (Brain) 1.1 เซรีบรัมเฮมิสเฟียร์ (Cerebrum Hemisphrer) คือ สมองส่วนหน้า ทำหน้าที่ควบคุมพฤติกรรรมที่ซับซ้อนเกี่ยวกับ ความรู้สึกและอารมณ์ ควบคุมความคิด ความจำ และความเฉลียวฉลาด เชื่อมโยงความรู้สึกต่างๆ เช่น การได้ยิน การมองเห็น การรับกลิ่น การรับรส การรับสัมผัสเป็นต้น 

สมอง (Brain) 1.3 เซรีเบลลัม (Cerebellum) คือ สมองส่วนท้าย เป็นส่วนที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อและการทรงตัวช่วยให้เคลื่อนไหวได้อย่างแม่นยำเช่น การเดิน การวิ่ง การขี่รถจักรยาน เป็นต้น

สมอง (Brain) 1.2 เมดัลลาออบลองกาตา (Medulla Oblongata) คือ ส่วนที่อยู่ติดกับไขสันหลัง ควบคุมการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น การหายใจการเต้นของหัวใจ การไอ การจาม การกะพริบตา ความดันเลือด เป็นต้น

(The Central Nervous System) ระบบประสาทส่วนกลาง (The Central Nervous System) 2. ไขสันหลัง (Spinal Cord) เป็นเนื้อเยื่อประสาทที่ทอดยาวจากสมองไปภายในโพรงกระดูกสันหลัง กระแสประสาทจากส่วนต่างๆของร่างกายจะผ่านไขสันหลัง มีทั้งกระแสประสาทเข้าและกระแสประสาทออกจากสมองและกระแสประสาทที่ติดต่อกับไขสันหลังโดยตรง

(The Central Nervous System) ระบบประสาทส่วนกลาง (The Central Nervous System) 3. เซลล์ประสาท (Neuron) เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของระบบประสาท เซลล์ประสาทมีเยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาสซึมและนิวเคลียสเหมือนเซลล์อื่นๆ แต่มีรูปร่างลักษณะแตกต่างออกไป เซลล์ประสาทประกอบด้วยตัวเซลล์ และเส้นใยประสาทที่มี 2 แบบ คือ เดนไดรต์ (Dendrite) ทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์และแอกซอน (Axon) ทำหน้าที่นำกระแสประสาทออกจากตัวเซลล์ไปยังเซลล์ประสาทอื่นๆ เซลล์ประสาทจำแนกตามหน้าที่ การทำงานได้3 ชนิด คือ

เซลล์ประสาท (Neuron) 3.1 เซลล์ประสาทรับความรู้สึก รับความรู้สึกจากอวัยวะสัมผัส เช่น หู ตา จมูก ผิวหนัง ส่งกระแสประสาทผ่านเซลล์ประสาทประสานงาน 3.2 เซลล์ประสาทประสานงาน เป็นตัวเชื่อมโยงกระแสประสาทระหว่างเซลล์รับความรู้สึกกับสมอง ไขสันหลัง และเซลล์ประสาทสั่งการ  พบในสมองและไขสันหลังเท่านั้น 3.3 เซลล์ประสาทสั่งการ รับคำสั่งจากสมองหรือไขสันหลัง เพื่อควบคุมการทำงานของอวัยวะต่างๆ

การทำงานของระบบประสาทส่วนกลาง สิ่งเร้าหรือการกระตุ้นจัดเป็นข้อมูลหรือเส้นประสาทส่วนกลางเรียกว่า “ กระแสประสาท ” เป็นสัญญาณไฟฟ้าที่นำไปสู่เซลล์ประสาททาง ด้านเดนไดรต์ และเดินทางออกอย่างรวดเร็วทางด้านแอกซอน แอกซอนส่วนใหญ่ ่มีแผ่นไขมันหุ้มไว้เป็นช่วงๆ แผ่นไขมันนี้ทำหน้าที่เป็นฉนวนและทำให้กระแสประสาทเดินทางได้เร็วขึ้น ถ้าแผ่นไขมันนี้ฉีกขาดอาจทำให้กระแสประสาทช้าลงทำให้สูญเสียความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อ เนื่องจากการรับคำสั่งจากระบบประสาทส่วนกลางได้ไม่ดี

(Peripheral Nervous System ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous System

ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous System) ทำหน้าที่รับและนำความรู้สึกเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง ได้แก่ สมองและไขสันหลัง จากนั้นนำกระแสประสาทสั่งการจากระบบประสาทส่วนกลางไปยังหน่วยปฎิบัติงาน ซึ่งประกอบด้วยหน่วยรับความรู้สึกและอวัยวะรับสัมผัส รวมทั้งเซลล์ประสาทและเส้นประสาทที่อยู่นอกระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทรอบนอกจำแนกตามลักษณะการทำงานได้ 2 แบบ ดังนี้

(Peripheral Nervous System) ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous System) 1.ระบบประสาทภายใต้อำนาจจิตใจ เป็นระบบควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อที่ บังคับได้ รวมทั้งการตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก 2.ระบบประสาทนอกอำนาจจิตใจ เป็นระบบประสาทที่ทำงานโดยอัตโนมัติ มี ศูนย์กลางควบคุมอยู่ในสมองและไขสันหลัง ได้แก่ การเกิดรีเฟลกซ์แอกชัน (Reflex Action) เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นที่อวัยวะรับสัมผัสเช่น ผิวหนัง กระแสประสาทจะส่งไป ยังไขสันหลัง ไขสันหลังจะสั่งการตอบสนองไปยังกล้ามเนื้อ โดยไม่ผ่านที่สมอง เมื่อมี เปลวไฟสัมผัสที่ปลายนิ้ว กระแสประสาทจะส่งไปยังไขสันหลังไม่ผ่านที่สมอง ไขสันหลัง สั่งการให้กล้ามเนื้อที่แขนการหดตัว เพื่อดึงมือออกจากเปลวไฟทันที

การเกิดรีเฟล็กซ์แอกชั่น-ระบบประสาทนอกอำนาจจิตใจ ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous System) การเกิดรีเฟล็กซ์แอกชั่น-ระบบประสาทนอกอำนาจจิตใจ

การแสดงพฤติกรรมของมนุษย์ พฤติกรรมการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์เป็นปฎิกิริยาอาการที่แสดงออกเพื่อการโต้ตอบต่อสิ่งเร้าทั้งภายในและภายนอกร่างกาย เช่น สิ่งเร้าภายในร่างกาย เช่น ฮอร์โมน เอนไซม์ ความหิว ความต้องการทางเพศ เป็นต้น สิ่งเร้าภายนอกร่างกาย เช่น แสง เสียง อุณหภูมิ อาหาร น้ำ การสัมผัส สารเคมี เป็นต้น

การแสดงพฤติกรรมของมนุษย์ กิริยาอาการที่แสดงออกเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกอาศัยการทำงาน ที่ประสานกันระหว่างระบบประสาท ระบบกล้ามเนื้อ ระบบต่อมไร้ท่อและ ระบบต่อมมีท่อ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ 1. การตอบสนองเมื่อมีแสงเป็นสิ่งเร้า เช่น เมื่อได้รับแสงสว่างจ้า มนุษย์จะมีพฤติกรรมการหรี่ตาเพื่อลดปริมาณแสงที่ตาได้รับ

การแสดงพฤติกรรมของมนุษย์ 2. การตอบสนองเมื่ออุณหภูมิเป็นสิ่งเร้า เช่น ในวันที่มีอากาศร้อนจะมีเหงื่อมาก เหงื่อจะช่วยระบายความร้อนออกจากร่างกาย เพื่อปรับอุณหภูมิภายในร่างกายไม่ให้สูงเกินไป เมื่อมีอากาศเย็นคนเราจะเกิดอาการหดเกร็งกล้ามเนื้อ หรือเรียกว่า “ ขนลุก ”

การแสดงพฤติกรรมของมนุษย์ 3. เมื่ออาหารหรือน้ำเข้าไปในหลอดลมเกิดพฤติกรรมการไอหรือจาม เพื่อขับออกจากหลอดลม 4. การเกิดพฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์ เป็นพฤติกรรมการตอบสนองหรือตอบโต้ทันทีเพื่อความปลอดภัยจากอันตราย เช่น เมื่อฝุ่นเข้าตามีพฤติกรรมการกระพริบตา เมื่อสัมผัสวัตถุร้อนจะชักมือจากวัตถุร้อนทันที เมื่อเหยียบหนามจะรีบยกเท้าให้พ้นหนามทันที

คำถาม

1. ระบบประสาท คืออะไร ตอบ ระบบประสาท  คือ ระบบการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสัตว์

2.ระบบประสาทของมนุษย์แบ่งออกเป็นกี่ส่วน อะไรบ้าง ตอบ ระบบประสาทของมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ระบบประสาทส่วนกลางและระบบประสาทรอบนอก

3. อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาทส่วนกลาง มีอะไรบ้าง ตอบ สมอง ไขสันหลัง เซลล์ประสาท

4. ระบบประสาทรอบนอก ทำหน้าที่อะไร ตอบ ทำหน้าที่รับและนำความรู้สึกเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง

5. ระบบประสาทรอบนอกจำแนกตามลักษณะ การทำงานได้กี่แบบ ได้แก่อะไรบ้าง ตอบ ระบบประสาทรอบนอกจำแนกตามลักษณะ การทำงานได้ 2 แบบ ได้แก่ ระบบประสาทภายใต้อำนาจจิตใจ และระบบประสาทนอกอำนาจจิตใจ