How to joint and goal in stroke network

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
STROKE ศาสตราจารย์เกียรติคุณนายแพทย์ประเสริฐ บุญเกิด
Advertisements

ประเภทบุคลากร นักวิชาการสาธารณสุข, นักทรัพยากรบุคคล, จพ.ธุรการ Production Line 1.จัดทำแผนบุคลากร 2.จัดประชุม/สัมมนา 3.ประเมินผลและจัดการความรู้ 4.ร่วมผลิตบุคลากรทางการแพทย์
1. การแนะแนวและระบบช่วยเหลือ
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
4.2.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรในหน่วยงาน น้ำหนัก : ร้อยละ 2 ผู้รับผิดชอบ : กรง. สกก.
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
ตรวจราชการรอบที่ 2/2559 โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
Risk Management System
การเตรียมความพร้อมรับการประเมิน จาก สมศ.
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
การวิเคราะห์อัตรากำลัง โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป
Role of Stroke Indicator & Benchmark
แนวทางการพยาบาลผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง
การเยี่ยมสำรวจภายใน HA 401
ADOBE Dreamweaver CS3.
Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล กองการพยาบาลสาธารณสุข
กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
งานวันข้าวโพดเทียนบ้านเกาะ
เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
การเตรียมการเพื่อรองรับการตรวจประเมินผล ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย (ตัวชี้วัดศูนย์ดำรงธรรม) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ นายรณกฤต อุดมสุขโกศล.
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
การติดตามและการประเมินผลโครงการ
นายสำราญ สาราบรรณ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร วันที่ 1 กรกฏาคม 2560
ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
บทที่ 7 การควบคุม (Controlling).
การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (Infection Control : IC) รพ.สต.ติดดาว
ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
สู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ ปีที่ ๙
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)
การเป็นศูนย์กลางข้อมูลแรงงานระดับจังหวัด Provincial Data
นายสำราญ สาราบรรณ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร วันที่ 1 กรกฏาคม 2560
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 5
การนำเสนอผลงานการวิจัย
รพ.ค่ายสุรสีห์.
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
สายรัดห่วงใยลด CA-UTI
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
เรื่อง การทอผ้าห่มสี่เขา/ตะกอ
ผลกระทบที่มีต่อประชาชนผู้รับบริการ
รายงานการใช้เอกสารประกอบการเรียน วิชาการพัฒนาบุคลิกภาพ
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
แนวทางปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560
เรื่อง ทฤษฎีการค้นหาในการฝึกสุนัข
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
การบริหารงานเพื่อลดความเสี่ยง ด้านจริยธรรมและกฎหมาย
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล
หมวด 2 : การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วีระโชติ รัตนกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หลักและศิลปะ ในการเขียนหนังสือติดต่อราชการ
โรคหลอดเลือดในสมอง (STROKE)
ครั้งที่ ๒/๒๕๖๒ วันศุกร์ที่ ๑๒ กรกฏาคม ๒๕๖๒
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
(Flowchart) ผังงาน.
การตรวจราชการและนิเทศงาน
กรณีตัวอย่างทางเลือกด้าน CT
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
ฉบับที่ ๑๕/๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐ น. นายปริญญา เพ็งสมบัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

How to joint and goal in stroke network จิดาภา ตรัยเจริญวงศ์ นักวิชาการสถิติ กลุ่มนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบสถิติ สำนักบริหารจัดการระบบสถิติ สำนักงานสถิติแห่งชาติ 28 มิถุนายน 2559

การจัดการข้อมูล (Data Management)

พัฒนาคุณภาพการบริการผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ปีงบประมาณ จำนวนโรงพยาบาล จำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (ราย) 2553 (กันยายน) 10 180 2554 (พฤษภาคม-กันยายน) 14 1,188 2555 23 6,202 2556 31 8,294 2557 60 14,002 2558 79 20,366 ข้อมูล ณ วันที่ 26 มิถุนายน 2559

http://neuronetworks.org/pni Download Document & Program

http://neuronetworks.org/stroke Register & Records

รายงานผลการปฏิบัติงาน

การแบ่งประเภทหน่วยงานเครือข่าย H: ศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง หมายถึง โรงพยาบาลนอก สังกัดสำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข และโรงพยาบาลสังกัด กรุงเทพมหานคร T: โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ หมายถึง โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไประดับจังหวัด และโรงพยาบาลทั่วไปขนาด เล็ก S: โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ หมายถึง โรงพยาบาลชุมชน ขนาดใหญ่ (เข้าร่วมโครงการปีงบประมาณ 2558) P: โรงพยาบาลเอกชน หมายถึง โรงพยาบาลที่มิใช่ สถานพยาบาลภาครัฐ

จากกราฟแสดงให้เห็นว่าจำนวนหน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นทุกประเภทโรงพยาบาล โรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่ คือ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ

จากกราฟแสดงให้เห็นว่าจำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดเพิ่มขึ้น เนื่องจากจำนวนโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น ผู้ป่วยส่วนใหญ่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ

ตัวเลขแสดงจำนวนตัวชี้วัดที่ถึงเป้าหมายและยังไม่ถึง จากกราฟแสดงให้เห็นภาพรวมของโรงพยาบาลเครือข่ายมี 9 ตัวชี้วัดที่เป็นไปตามเป้าหมาย คิดเป็นร้อยละ 36 ศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง และโรงพยาบาลเอกชนมี 12 ตัวชี้วัดที่เป็นไปตามเป้าหมาย คิดเป็นร้อยละ 48

ศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง ปีงบประมาณ 2555 ศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง ปีงบประมาณ 2555

โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ปีงบประมาณ 2555

โรงพยาบาลเอกชน ปีงบประมาณ 2555

กราฟแสดงผลตัวชี้วัดในหมวดมาตรฐานเปรียบเทียบปีงบประมาณ 2554 และ 2555 จากกราฟแสดงให้เห็นว่าตัวชี้วัดในหมวดมาตรฐานโรงพยาบาลเครือข่ายทำได้ดีขึ้นมีระยะเวลาเฉลี่ยในการการให้ยาละลายลิ่มเลือดลดลง และร้อยละการตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันเฉียบพลันที่ได้รับการรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำ ภายใน 4.5 ชั่วโมง ลดลง S – Standard มาตรฐาน มี 2 ตัวชี้วัด ได้แก่ S01: ระยะเวลาเฉลี่ยในการให้การรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำ (Door to Needle Time) S02: ร้อยละการตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันเฉียบพลันที่ได้รับการรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำภายใน 4.5 ชั่วโมง

กราฟแสดงผลตัวชี้วัดในหมวดกระบวนการเปรียบเทียบปีงบประมาณ 2554 และ 2555 P – Process กระบวนการ มี 12 ตัวชี้วัด ได้แก่ P01: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดหลังรับไว้ในโรงพยาบาลภายใน 24 ชั่วโมง P02: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับการตรวจ EKG หลังเกิดอาการภายใน 24 ชั่วโมง P03: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับการตรวจ CT Scan และหรือ MRI/MRA สมองภายใน 24 ชั่วโมง P04: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับยา Nifedipine Sublingual หลังเกิดอาการ P05: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับยาต้านเกล็ดเลือด (Antiplatelet) เพื่อการรักษาภายใน 48 ชั่วโมง หลังจากเกิดอาการ P06: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่มีไข้ ( 38C) และได้รับการดูแลรักษาภาวะไข้อย่างเหมาะสม P07: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับการดูแลรักษาตามแนวทางที่วางแผนไว้ (Care Map/Path Way) P08: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับการดูแลรักษาใน Stroke Unit/Stroke Corner P09: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่กลับบ้าน และได้รับยาต้านเกล็ดเลือด (Antiplatelet) หรือยาต้านการแข็งตัวของลิ่มเลือด (Anticoagulant) ขณะจำหน่าย (Discharge) P10: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับคำแนะนำการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมก่อนจำหน่าย P11: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับการประเมินการกลืนภายใน 72 ชั่วโมง หลังรับไว้ในโรงพยาบาล P12: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ และทำกายภาพบำบัดภายใน 72 ชั่วโมง หลังรับไว้ในโรงพยาบาล P13: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับการบำบัด/คำแนะนำเกี่ยวกับการเลิกสูบบุหรี่

กราฟแสดงผลตัวชี้วัดในหมวดผลลัพธ์เปรียบเทียบปีงบประมาณ 2554 และ 2555 O – Outcome ผลลัพธ์ มี 5 ตัวชี้วัด ได้แก่ O01: ร้อยละการกลับเข้ารักษาซ้ำภายใน 28 วัน (Readmission) ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน O02: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่มีภาวะทุพลภาพลดลง/คงที่ (BIจำหน่าย – BIแรกรับ  0 คะแนน) O03: จำนวนวันนอนเฉลี่ย (LOS) ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน O04: ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย (บาท) ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน O05: ร้อยละการตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน

กราฟแสดงผลตัวชี้วัดในหมวดโรคแทรกซ้อนเปรียบเทียบปีงบประมาณ 2554 และ 2555 จากกราฟแสดงให้เห็นว่าตัวชี้วัดในหมวดโรคแทรกซ้อนโรงพยาบาลเครือข่ายทำได้ดีขึ้น 3 ตัวชี้วัด ได้แก่ ร้อยละการเกิดปอดอักเสบ ร้อยละการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ และการเกิดแผลกดทับ C – Complication โรคแทรกซ้อน มี 5 ตัวชี้วัด ได้แก่ C01: ร้อยละการเกิดปอดอักเสบ (Pneumonia) ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน C02: ร้อยละการเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ (Urinary Tract Infection) ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันภายใน 48 ชั่วโมง C03: ร้อยละการเกิดแผลกดทับ (Pressure Sore/Skin Break) ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน C04: ร้อยละการเกิดพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน C05: ร้อยละการเกิดหลอดเลือดดำที่ขาอุดตัน (DVT) ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน

ปีงบประมาณ 2553 โรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการ 10 แห่ง ได้แก่ 1. โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร 6. โรงพยาบาลพุทธชินราช 2. โรงพยาบาลชลบุรี 7. โรงพยาบาลสระบุรี 3. โรงพยาบาลตากสิน 8. โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี 4. โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ 9. โรงพยาบาลหาดใหญ่ 5. โรงพยาบาลพญาไท 2 10. สถาบันประสาทวิทยา

ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2553 จำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน 180 ราย

คุณภาพการให้บริการฯ ปีงบประมาณ 2553

คุณภาพการให้บริการฯ ปีงบประมาณ 2553

ปีงบประมาณ 2554 โรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการ 14 แห่ง ได้แก่ 1. โรงพยาบาลขอนแก่น 8. โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า 2. โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 3 9. โรงพยาบาลพุทธชินราช 3. โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร 10. โรงพยาบาลร้อยเอ็ด 4. โรงพยาบาลชลบุรี 11. โรงพยาบาลสมุทรสาคร 5. โรงพยาบาลตากสิน 10. โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี 6. โรงพยาบาลนครนายก 13. โรงพยาบาลหาดใหญ่ 7. โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ 14. สถาบันประสาทวิทยา

ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2554 จำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน 1,070 ราย

คุณภาพการให้บริการฯ ปีงบประมาณ 2554

คุณภาพการให้บริการฯ ปีงบประมาณ 2554

ปีงบประมาณ 2555 โรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการ 23 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลขอนแก่น 9. โรงพยาบาลพระจอมเกล้า 17. โรงพยาบาลเลิดสิน 2. โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 3 10. โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า 18. โรงพยาบาลวิภาราม 3. โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร 11. โรงพยาบาลพุทธชินราช 19. โรงพยาบาลสมุทรสาคร 4. โรงพยาบาลชลบุรี 12. โรงพยาบาลมหาชัย 20. โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ 5. โรงพยาบาลตากสิน 13. โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช 21. โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี 6. โรงพยาบาลนครนายก 14. โรงพยาบาลร้อยเอ็ด 22. โรงพยาบาลหาดใหญ่ 7. โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ 15. โรงพยาบาลระยอง 23. สถาบันประสาทวิทยา 8. โรงพยาบาลเปาโลเมโมเรียล 16. โรงพยาบาลลำปาง

ผลการดำเนินงานปีงบประมาณ 2555 จำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน 5,875 ราย

คุณภาพการให้บริการฯ ปีงบประมาณ 2555

คุณภาพการให้บริการฯ ปีงบประมาณ 2555

ปีงบประมาณ 2556 จำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน 7,062 ราย (11/4/57) โรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการ 31 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ ประชาชื่น 12. โรงพยาบาลพระจอมเกล้า 23. โรงพยาบาลสมุทรสาคร 2. โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 3 13. โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา 24. โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ 3. โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร 14. โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า 25. โรงพยาบาลสระบุรี 4. โรงพยาบาลชลบุรี 15. โรงพยาบาลพุทธชินราช 26. โรงพยาบาลสำโรงการแพทย์ 5. โรงพยาบาลเชียงใหม่ ราม 16. โรงพยาบาลมหาชัย 27. โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี 6. โรงพยาบาลตรัง 17. โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ 28. โรงพยาบาลหนองคาย 7. โรงพยาบาลตากสิน 18. โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช 29. โรงพยาบาลหัวหิน 8. โรงพยาบาลนครนายก 19. โรงพยาบาลระยอง 30. โรงพยาบาลหาดใหญ่ 9. โรงพยาบาลนครพนม 20. โรงพยาบาลลำปาง 31. สถาบันประสาทวิทยา 10. โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ 21. โรงพยาบาลเลิดสิน 11. โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล 22. โรงพยาบาลวิภาราม

ตัวชี้วัด S – Standard มาตรฐาน มี 5 ตัวชี้วัด ได้แก่ S01: ระยะเวลาเฉลี่ยในการให้การรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำ (Door to Needle Time) S02: ร้อยละการตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันเฉียบพลันที่ได้รับการรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำภายใน 4.5 ชั่วโมง  น้อยกว่า 7% S03: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับยาต้านเกล็ดเลือด (Antiplatelet) เพื่อการรักษาภายใน 48 ชั่วโมง หลังจากเกิดอาการ  มากกว่า 80% S04: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่กลับบ้าน และได้รับยาต้านเกล็ดเลือด (Antiplatelet) หรือยาต้านการแข็งตัวของลิ่มเลือด (Anticoagulant) ขณะจำหน่าย (Discharge)  มากกว่า 80% S05: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่มีระดับไขมัน LDL สูง กลับบ้าน และได้รับยากลุ่ม Statin ขณะจำหน่าย

ตัวชี้วัด P – Process กระบวนการ มี 12 ตัวชี้วัด ได้แก่ P02: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับการตรวจ EKG หลังเกิดอาการภายใน 24 ชั่วโมง  มากกว่า 90% P03: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับการตรวจ CT Scan และหรือ MRI/MRA สมองภายใน 24 ชั่วโมง  มากกว่า 90% P04: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับยา Nifedipine Sublingual หลังเกิดอาการ  0% P05: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่มีไข้ ( 38C) และได้รับการดูแลรักษาภาวะไข้อย่างเหมาะสม  มากกว่า 90% P06: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับการดูแลรักษาตามแนวทางที่วางแผนไว้ (Care Map/Path Way)  มากกว่า 80% P07: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับการดูแลรักษาใน Stroke Unit/Stroke Corner  มากกว่า 60% P08: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับคำแนะนำการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมก่อนจำหน่าย  มากกว่า 90% P09: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับการประเมินการกลืนภายใน 72 ชั่วโมง หลังรับไว้ในโรงพยาบาล  มากกว่า 80% P10: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ และทำกายภาพบำบัดภายใน 72 ชั่วโมง หลังรับไว้ในโรงพยาบาล P11: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับการบำบัด/คำแนะนำเกี่ยวกับการเลิกสูบบุหรี่ P12: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับการตรวจ EKG Monitor 24 ชั่วโมงแรก หลังรับไว้ในโรงพยาบาล  มากกว่า 50%

ตัวชี้วัด O – Outcome ผลลัพธ์ มี 7 ตัวชี้วัด ได้แก่ O01: ร้อยละการกลับเข้ารักษาซ้ำภายใน 28 วัน (Readmission) ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน O02: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่มีภาวะทุพลภาพลดลง/คงที่ (BIจำหน่าย – BIแรกรับ  0 คะแนน) O03: จำนวนวันนอนเฉลี่ย (LOS) ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน O04: ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย (บาท) ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน O05: ร้อยละการตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน  O06: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่มีภาวะทุพพลภาพลดลง/คงที่ (mRSF/U – mRSจำหน่าย ≤ 0 คะแนน) O07: ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่มีความรุนแรงของภาวะโรคหลอดเลือดสมองลดลง/คงที่ (NIHSSF/U – NIHSSจำหน่าย ≤ 0 คะแนน)

ตัวชี้วัด C – Complication โรคแทรกซ้อน มี 5 ตัวชี้วัด ได้แก่ C01: ร้อยละการเกิดปอดอักเสบ (Pneumonia) ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน  C02: ร้อยละการเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ (Urinary Tract Infection) ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันภายใน 48 ชั่วโมง  C03: ร้อยละการเกิดแผลกดทับ (Pressure Sore/Skin Break) ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน C04: ร้อยละการเกิดพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน C05: ร้อยละการเกิดหลอดเลือดดำที่ขาอุดตัน (DVT) ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน

สนใจเข้าร่วมโครงการจัดทำฐานข้อมูลเครือข่ายโรคหลอดเลือดสมอง จีรณัฐ ประจันตะเสน E-mail: pp_packky@hotmail.com มือถือ: 08-9863-7183

ขอบคุณค่ะ