วิชาการทำฟาร์มสุกร บทที่ 7 การจัดการสุกร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตารางชีพ Life Tables ตารางตัวเลข แสดงอายุขัยเฉลี่ยและโอกาสที่จะตายในแต่ละ อายุขัยของประชากรกลุ่มหนึ่ง แบ่งเป็น 1. สำหรับช่วงอายุหนึ่งของคน General.
Advertisements

1 RECORD TYPE ข้อมูลชนิดเรคอร์ด SCC : Suthida Chaichomchuen
การเรียนรู้เรื่องเพศ
“ เรื่อง ปฏิทินประวัติศาสตร์ ”
1 Javascript with Form. 2 Javascript - Get data from form post method formname.field.value get method formname.getElementById(“field")
การติดตั้งโปรแกรม. 1. Double click เลือก RFDSetup.msi เพื่อทำการติดตั้งโปรแกรม.
วิธีทำให้ Flash Drive ของเราปลอดจากไวรัส
เว็บไซต์ซอฟแวร์นำเสนอยอดนิยม
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ขั้นตอนการบริหาร จัดการ ระบบห้องสมุด อัตโนมัติ สพฐ.
Google Documents Chaowalit Budchang
ระบบโปรแกรมบันทึกและประมวลผลข้อมูล จปฐ.
ประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาระบบบริการอนามัยแม่และเด็ก
1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ
การจัดการและวิเคราะห์ข้อมูล
การหาความสัมพันธ์ของตัวแปร
Pentaho Installation.
Java Development Kit Installation.
Buriram Public Health ทำไมต้องตั้งค่าและจัดการข้อมูลสะสม
มาตรฐานที่ ๒ การให้บริการวัคซีน
Digital กับการประยุกต์
บทที่ 4 โครงสร้างฐานข้อมูลแบบ Relational (Relational Database Model)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 02 : Google drive พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
กรอบความคิดทางธุรกิจและการวางแผนกลยุทธ์
สื่อดิจิทัล (Digital Media)
ยินดีต้อนรับ สู่ ห้องสืบค้นสารสนเทศ
บทที่ 5 การควบคุมความถูกต้องให้กับข้อมูล (Data Integrity)
การใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
ส่วนประกอบและการทำงาน ของรถแทรกเตอร์
คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ.
การค้นหาข้อมูลด้วยฟอร์ม
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
(Smart Strategy Praboromarajchanok Institute: SSPI)
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 03 : แบบสอบถามออนไลน์ (Google Form) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทางการท่องเที่ยว.
สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การทบทวนและซักซ้อมการปฏิบัติงานใน ระบบจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ ระหว่าง ๒ – ๓ มี.ค. ๖๐ ณ ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์กองทัพไทย.
ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ และ (ฉบับที่
การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ปลอดภัย Keep it secure
Professor Sudaduang Krisdapong Department of Community Dentistry,
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 03 : แบบสอบถามออนไลน์ (Google Form) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสาร ทางการท่องเที่ยว.
Light Emitting Diode (LED)
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
การจัดกิจกรรมพิเศษ (Event)
การกระจายของโรคในชุมชน
เพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ นโยบาย พรบ 08/04/62
การเบิกจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยใน ภายใต้เพดานงบประมาณ โดยใช้เกณฑ์กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม ( DRG ) ( เริ่ม 1 เม.ย. 45 )
Medication Reconciliation
การนำเสนอผลงานวิจัยด้วยวาจา (oral presentation)
รูปแบบการท่องเที่ยว.
ความผิดปกติทางพันธุกรรม
ประชุมเชิงปฏิบัติ การบริหารการเปลี่ยนแปลงกรมอนามัย มุ่งสู่องค์กรนำด้านส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมอนามัย วันที่
อาจารย์เศวตาภรณ์ ตั้งวันเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
เครื่องขูดหินปูนไฟฟ้า
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากรูปร่าง โครงสร้าง หรือจำนวนโครโมโซมผิดปกติ
PrEP คืออะไร Pre- Exposure Prophylaxis ยาต้านไวรัสเพื่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี รูปยา.
วิชาการเลี้ยงสุกร ระดับปวช.
การผลิตซ้ำมายาคติ เกี่ยวกับเพศอื่นๆ ในระบบการศึกษา
แนวทาง/ทิศทางการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในวัยเด็กและวัยรุ่น
วิธีใช้ Google form สร้างแบบสอบถามออนไลน์.
การประชุมตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ รอบที่ 1 (Project and Progress Reviews) วันจันทร์ที่
4 กรกฎาคม 2556 ณ.โรงแรมเอเซีย แอร์พอร์ต จังหวัดปทุมธานี
วิภาส วิมลเศรษฐ มีนาคม 2556
RANSOMWARE ?  Ransomware เป็นมัลแวร์ (Malware) ประเภทหนึ่งที่มีลักษณะการทำงานที่แตกต่างกับมัลแวร์ประเภทอื่นๆคือไม่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อขโมยข้อมูลของผู้ใช้งานแต่อย่างใด.
วิชาการผลิตสุกรพันธุ์ระดับปวช.
โครงการพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ (Adult Vaccination Clinic)
การแก้ไขข้อบกพร่องระบบ GMP จากการตรวจรับรองโรงงานเพื่อการส่งออก วันที่
โรคติดเชื้อฉวยโอกาส (Opportunistic infection) จำนวน CD4 ป้องกันได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชาการทำฟาร์มสุกร บทที่ 7 การจัดการสุกร

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.5 การจัดการสุกรพ่อพันธุ์ ก. การคัดเลือกสุกรพ่อพันธุ์ทดแทน ควรพิจารณา 1. ขนาดครอก จากแม่ที่คลอดลูกมีชีวิตไม่น้อยกว่า 10 ตัว และเหลือรอดหลังหย่านม 8 ตัวขึ้นไป 2. อัตราการเจริญเติบโตดี อายุ 154 วัน (5 เดือน) มีน้ำหนัก 100 กิโลกรัม 3. อัตราแลกเปลี่ยนอาหารดี ไม่เกิน 2.75:1 เมื่อน้ำหนัก 60-90 กิโลกรัม 4. ความหนาไขมันสันหลัง ไม่เกิน 1 นิ้ว 5. พื้นที่หน้าตัดเนื้อสัน อย่างน้อย 60 ตารางนิ้ว เมื่อน้ำหนัก 90 กิโลกรัม

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.5 การจัดการสุกรพ่อพันธุ์ ก. การคัดเลือกสุกรพ่อพันธุ์ทดแทน ควรพิจารณา 6. เต้านมสมบูรณ์ มีหัวนมที่เจริญดีอย่างน้อย 12 เต้า ระยะห่างสม่ำเสมอและมี 3 คู่อยู่หน้าหนังหุ้มลึงค์ 7. รูปร่างลักษณะใหญ่โต สมบูรณ์ แข็งแรง ลำตัวยาวลึกและสูง 8. ไม่มีลักษณะพิการทางพันธุกรรม 9. คุณภาพซากได้มาตรฐาน 10. สุขภาพร่างกายแข็งแรงและดูจากการป้องกันโรคของฟาร์ม (ถ้าซื้อมา)

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.5 การจัดการสุกรพ่อพันธุ์ ข. การเตรียมพ่อพันธุ์ก่อนผสมพันธุ์ 1. ควรมีโปรแกรมการกำจัดพยาธิทั้งภายในและภายนอกก่อนการผสมพันธุ์ เช่น ควรถ่ายพยาธิทุก 6 เดือน 2. ฉีดวัคซีนป้องกันโรคที่สำคัญ ได้แก่ โรคอหิวาต์สุกร โรคพาร์โวไวรัสโรคปากและเท้าเปื่อย และโรคอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละท้องที่ หรือบริเวณใกล้เคียง เช่น โรคพิษสุนัขบ้าเทียม โรคโพรงจมูกอักเสบ ฯลฯ ดังนี้ 2.1 วัคซีนโรคอหิวาต์ ทุก 6-8 เดือน 2.2 วัคซีนโรคปากเท้าเปื่อย ทุก 4-6 เดือน 2.3 ถ่ายพยาธิ ทุก 6 เดือน 2.4 วัคซีนโรคพิษสุนัขบ้าเทียมเชื้อเป็น ทุก 6 เดือน

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.5 การจัดการสุกรพ่อพันธุ์ ข. การเตรียมพ่อพันธุ์ก่อนผสมพันธุ์ 3. ควรตรวจเลือด สำหรับสุกรที่ซื้อมาจากฟาร์มอื่นที่ไม่แน่ใจว่าปลอดจากโรคติดต่อทางการสืบพันธุ์ เช่น บรูเซลโรซีส และโรคเลบโตสไบโรซีส เพราะแม่สุกรจะแท้งลูก คลอดลูกตาย หรืออ่อนแอเลี้ยงไม่รอด 4. ควรตรวจความสมบูรณ์พันธุ์ โดยตรวจคุณภาพน้ำเชื้อก่อนการผสมพันธุ์ เช่น ดูสี ความเข้มข้นของน้ำเชื้อ ความแข็งแรงจากการเคลื่อนไหว และปริมาณน้ำเชื้อที่หลั่งออกมาแต่ละครั้ง และทดสอบประสิทธิภาพของพ่อพันธุ์ เช่น ตรวจสอบการกลับสัดของแม่สุกร พ่อสุกรที่ดีจะให้การผสมติดมากกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ หรือแม่สุกรไม่ควรกลับ สัดเกิน 30 เปอร์เซ็นต์ ตรวจสุขภาพตั้งแต่ลูกอัณฑะและลึงค์ว่าดีหรือไม่

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.5 การจัดการสุกรพ่อพันธุ์ ข. การเตรียมพ่อพันธุ์ก่อนผสมพันธุ์ 5. การใช้จำนวนพ่อพันธุ์มากน้อยขึ้นอยู่กับอายุ ความแข็งแรง และสุขภาพของพ่อสุกร แต่ไม่ควรผสมเกินกว่า 5-6 ครั้งต่อสัปดาห์ เมื่ออายุพ่อถึง 1 ปี 6. การผสมพ่อสุกรครั้งแรกให้ถือเป็นสิ่งสำคัญ ควรทำให้พ่อพันธุ์ทำการผสมได้สำเร็จ ถ้าพลาดพ่อพันธุ์บางตัวอาจผิดหวังและเหนื่อยหน่ายไม่อยากจะผสมหรือในครั้งต่อไปอาจจะมีลีลาในการเล้าโลมตัวเมียมากและนานจนเกินไป ดังนั้นพ่อพันธุ์หนุ่มทุกตัวควรได้รับการฝึกก่อนใช้

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.5 การจัดการสุกรพ่อพันธุ์ ข. การเตรียมพ่อพันธุ์ก่อนผสมพันธุ์ 7. ควรมีตัวผู้หลายขนาด เพื่อผสมกับแม่พันธุ์ที่มีขนาดแตกต่างกัน เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาเมื่อมีสุกรเพศเมียเป็นสัดพร้อมกันหลายตัว โดยใช้อัตราส่วนของตัวผู้ 1 ตัว ต่อตัวเมีย 15-20 ตัว แต่ถ้าใช้วิธีผสมเทียมจะมีปัญหาน้อยลง และสามารถใช้ตัวผู้ 1 ตัว ต่อตัวเมีย 30-40 ตัว

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.5 การจัดการสุกรพ่อพันธุ์ ค. การปฏิบัติต่อสุกรพ่อพันธุ์ สุกรตัวผู้จะเริ่มเป็นหนุ่มเมื่ออายุราว 4-5 เดือน แต่ยังไม่ควรใช้ผสมพันธุ์ ควรรอจนอายุ 8 เดือนขึ้นไป จึงเริ่มใช้ได้ 1. พ่อพันธุ์สุกรทดแทน ควรเริ่มแยกเลี้ยงเดี่ยว เมื่อน้ำหนัก 50-60 กิโลกรัมเพราะถ้าเลี้ยงรวมกัน มักจะกัดกันทำให้บางตัวเกิดอาการกลัวที่จะเข้าใกล้สุกรตัวอื่น ทำให้มีผลเมื่อใช้ผสมพันธุ์ 2. ควบคุมน้ำหนักไม่ให้อ้วนเกินไป ถ้าอ้วนเกินไปทำให้แม่สุกรรับน้ำหนักมากเกินไปและยังขี้เกียจผสมพันธุ์

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.5 การจัดการสุกรพ่อพันธุ์ ค. การปฏิบัติต่อสุกรพ่อพันธุ์ 3. ควรให้ได้ออกกำลังกายอยู่เสมอ โดยไล่ให้เดินรอบคอกแม่พันธุ์หรือมีคอกดินให้เดินออกกำลังกาย 4. อัตราส่วนพ่อพันธุ์ต่อแม่พันธุ์ ควรเป็น 1:15 5. การใช้พ่อพันธุ์ที่ไม่เคยผสมพันธุ์ ควรให้ผสมพันธุ์กับสุกรสาวที่เป็นสัดเต็มที่หรือแม่สุกรที่เคยให้ลูกสุกรเพียง 1-2 ครอก 6. ควรนำแม่สุกรเข้ามาผสมพันธุ์ในคอกพ่อพันธุ์ 7. ไม่ควรใช้พ่อพันธุ์เกิน 1 ตัว ในเวลาใกล้เคียงกัน 8. พ่อสุกรหนุ่มอายุ 8-12 เดือน ควรใช้ไม่เกิน 3 ครั้งต่อสัปดาห์ เพราะจะทำให้เชื้ออ่อนแอ ไม่แข็งแรง มีผลทำให้ขนาดครอกเล็กลง

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.5 การจัดการสุกรพ่อพันธุ์ ค. การปฏิบัติต่อสุกรพ่อพันธุ์ 9. พ่อสุกรอายุเกิน 1 ปี ควรใช้งานโดยเฉลี่ย 5 ครั้งต่อสัปดาห์ 10. การใช้พ่อสุกรผสม 2 ครั้ง ควรห่างกัน 8 ชั่วโมงเป็นอย่างน้อย 11. ถ้าพ่อพันธุ์แสดงอาการเบื่อหน่าย เหนื่อยก่อนการผสมหรือเลิกล้มที่จะผสมควรให้พ่อพันธุ์พักอย่างน้อย 1 วัน 12. เวลาที่เหมาะสมในการผสมพันธุ์ควรเป็นช่วงที่อากาศเย็นสบาย เช่น เช้าหรือเย็น 13. อาหารที่ใช้ควรมีโปรตีน 14 เปอร์เซ็นต์ วันละ 1.8 กิโลกรัม และให้หญ้าสดกินเต็มที่

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.5 การจัดการสุกรพ่อพันธุ์ ง. สาเหตุที่พ่อพันธุ์สุกรไม่กระตือรือร้นในการผสมพันธุ์ พ่อพันธุ์สุกรไม่กระตือรือร้นในการผสมพันธุ์ มีสาเหตุจาก 1. กรรมพันธุ์ที่มีความต้องการทางเพศต่ำ (sex drive) ไม่มีทางแก้ไข 2. การผสมในช่วงแรกไม่ประสบความสำเร็จ 3. สภาพแวดล้อมที่ร้อนจัดเกินไป 4. ช่วงไล่ต้อนไปผสมพันธุ์ทำให้เหนื่อยหรือได้รับบาดเจ็บหรือเกิดความกลัว 5. การติดเชื้อ ป่วย เป็นโรค

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.5 การจัดการสุกรพ่อพันธุ์ ง. สาเหตุที่พ่อพันธุ์สุกรไม่กระตือรือร้นในการผสมพันธุ์ พ่อพันธุ์สุกรไม่กระตือรือร้นในการผสมพันธุ์ มีสาเหตุจาก 6. ขาไม่มีแรงหรืออายุมาก 7. อ้วนมากเกินไป ทำให้ไม่ค่อยกระตือรือร้น 8. เกิดจากการให้อาหารไม่ตรงเวลาหรือสุกรหิวระหว่างการผสมพันธุ์ 9. ได้รับบาดเจ็บจากการผสมพันธุ์

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.5 การจัดการสุกรพ่อพันธุ์ จ. ข้อควรระวังในการใช้พ่อสุกรหนุ่มในการผสมพันธุ์ 1. ควรใช้พ่อสุกรหนุ่มผสมกับแม่สุกรที่ให้ลูกมาแล้ว และแม่สุกรนั้นต้องเป็นสัดเต็มที่ พ่อสุกรและแม่สุกรต้องมีขนาดไล่เลี่ยกัน 2. สถานที่ใช้ผสมต้องไม่ลื่น 3. อย่าปล่อยให้พ่อสุกรหนุ่มขึ้นขี่ตัวเมียทางหัวในขั้นแรก เพราะจะเสียนิสัย 4. สุกรหนุ่มเมื่อผสมต้องปล่อยให้ผสมกับตัวเมียจนมันพอใจ ขณะที่กำลังผสมอย่าให้สุกรตัวอื่นมารบกวน เพราะถ้าผสมไม่สำเร็จจะทำให้ต่อไปพ่อสุกรตัวนั้นมีนิสัยในการผสมไม่ดี 5. อย่าหยุดใช้พ่อพันธุ์ผสมนานเกิน 1 เดือน

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.5 การจัดการสุกรพ่อพันธุ์ จ. ข้อควรระวังในการใช้พ่อสุกรหนุ่มในการผสมพันธุ์ 6. ขณะที่พ่อสุกรหนุ่มขึ้นผสม บางตัวจะสอดอวัยวะเพศเข้าไปในอวัยวะเพศตัวเมียไม่ได้หรือผิดที่ คนผสมต้องใช้มือช่วยโดยช่วยจับอวัยวะเพศตัวผู้สอดเข้าไปในอวัยวะเพศตัวเมีย 7. พ่อสุกรหนุ่มบางตัว เมื่อผสมเสร็จหรือขณะที่กำลังผสมแสดงอาการหอบหรือเหนื่อย ต้องรีบฉีดยาแอดรีนาลีน (adrenaline) เข้ากล้าม 3-4 มิลลิลิตร ป้องกันถ้ามีให้รีบปรึกษาสัตวแพทย์ 8. สุกรพ่อพันธุ์ที่ฉีดวัคซีน หรือป่วย หรือไม่กินอาหาร ควรงดผสมพันธุ์ชั่วคราวจนกว่าจะเป็นปกติแล้วอย่าน้อย 2 สัปดาห์ 9. พ่อพันธุ์ที่ใช้งานหนักต้องเพิ่มอาหารให้เป็นพิเศษอีก 1 กิโลกรัม

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.5 การจัดการสุกรพ่อพันธุ์ ตารางที่ 7.10 กำหนดวันคลอดสุกร

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.5 การจัดการสุกรพ่อพันธุ์ ตารางที่ 7.10 กำหนดวันคลอดสุกร

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.5 การจัดการสุกรพ่อพันธุ์ ตารางที่ 7.11 โปรแกรมการจัดการลูกสุกร-สุกรพ่อแม่พันธุ์

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.5 การจัดการสุกรพ่อพันธุ์ ตารางที่ 7.11 โปรแกรมการจัดการลูกสุกร-สุกรพ่อแม่พันธุ์

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.5 การจัดการสุกรพ่อพันธุ์ ตารางที่ 7.11 โปรแกรมการจัดการลูกสุกร-สุกรพ่อแม่พันธุ์

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.6 ปัญหาและการแก้ไขในการผลิตสุกร ก. ปัญหาและการแก้ไขในการผสมพันธุ์

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.6 ปัญหาและการแก้ไขในการผลิตสุกร ก. ปัญหาและการแก้ไขในการผสมพันธุ์

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.6 ปัญหาและการแก้ไขในการผลิตสุกร ก. ปัญหาและการแก้ไขในการผสมพันธุ์

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.6 ปัญหาและการแก้ไขในการผลิตสุกร ข. ปัญหาที่พบในเล้าคลอดและการแก้ไข

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.6 ปัญหาและการแก้ไขในการผลิตสุกร ข. ปัญหาที่พบในเล้าคลอดและการแก้ไข

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.6 ปัญหาและการแก้ไขในการผลิตสุกร ข. ปัญหาที่พบในเล้าคลอดและการแก้ไข

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.6 ปัญหาและการแก้ไขในการผลิตสุกร ข. ปัญหาที่พบในเล้าคลอดและการแก้ไข

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.6 ปัญหาและการแก้ไขในการผลิตสุกร ข. ปัญหาที่พบในเล้าคลอดและการแก้ไข

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.6 ปัญหาและการแก้ไขในการผลิตสุกร ค. ปัญหาที่พบในเล้าอนุบาลและการแก้ไข

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.6 ปัญหาและการแก้ไขในการผลิตสุกร ค. ปัญหาที่พบในเล้าอนุบาลและการแก้ไข

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.7 ระบบการบันทึกการผลิตสุกร ก. ระบบการบันทึกรายงานการผสมพันธุ์ 1. บันทึกการใช้งานของพ่อพันธุ์แต่ละตัวทุกครั้งที่ใช้งาน เพื่อใช้พิจารณาตัดสินใจคัดทิ้งในอนาคต ได้แก่ วันเวลาที่ผสม ความถี่ที่ใช้งาน คะแนนการผสมแต่ละครั้ง เปอร์เซ็นต์การผสมติดของพ่อแต่ละตัว 2. บันทึกบัตรแม่พันธุ์ ได้แก่ วันเวลาผสมและคลอด เบอร์พ่อของลูกที่เกิดประสิทธิภาพการเป็นแม่พันธุ์ของแต่ละตัว

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.7 ระบบการบันทึกการผลิตสุกร ก. ระบบการบันทึกรายงานการผสมพันธุ์ 3. บันทึกการผสมพันธุ์ลงในสมุดบันทึกประจำเล้า เพื่อสะดวกในการย้ายเข้าห้องคลอดและใช้ทำรายงานประจำสัปดาห์ ได้แก่ ตรวจการกลับสัดเมื่อหลังจากผสม 21 วันและ 42 วัน กำหนดวันทำวัคซีน ตรวจการอุ้มท้องที่ 84 วัน หาเปอร์เซ็นต์การผสมติดของแต่ละสัปดาห์ 4. รายงานการผสมพันธุ์ประจำวัน เพื่อแจ้งให้ฝ่ายสถิติรวบรวมข้อมูล 5. รายงานการตายและคัดทิ้งประจำวัน และรายงานการนำสุกรเข้าทดแทนเพื่อแจ้งให้ฝ่ายสถิติรวบรวมข้อมูล เป็นแนวทางในการวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้น

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.7 ระบบการบันทึกการผลิตสุกร ก. ระบบการบันทึกรายงานการผสมพันธุ์ 6. บันทึกน้ำหนักลูกสุกรวันที่เข้าและออกจากคอกคลอด คอกอนุบาล และคอกสุกรรุ่น-ขุน เพื่อแจ้งให้ฝ่ายสถิติรวบรวมข้อมูล หาปริมาณการกินอาหารต่อ 1 วัน หาอาหารต่อน้ำหนักเพิ่ม หาอัตราการตาย หาเปอร์เซ็นต์สุกรส่งขาย จำนวนชุดของการเลี้ยงขุนต่อปี 7. รายงานการใช้อาหารประจำวัน เพื่อใช้ในการคำนวณการจ่ายอาหารให้แต่ละโรงเรือน หาค่าเฉลี่ยของอาหารที่ใช้ในแต่ละสัปดาห์ หาต้นทุนในการผลิตลูกสุกร

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.7 ระบบการบันทึกการผลิตสุกร ข. ระบบรายงานในเล้าคลอด 1. ใบแจ้งคลอด (เฉพาะแม่) โดยแจ้งรายละเอียดต่าง ๆ ในการผสม ในการคลอด ในการสักเบอร์ 2. รายงานการคลอดประจำวัน นำข้อมูลจากใบแจ้งคลอด สรุปรวมแต่ละวัน 3. รายงานการคลอดประจำสัปดาห์ รวมข้อมูลจากใบแจ้งคลอดประจำวันเพื่อหาเปอร์เซ็นต์เข้าคลอด เปอร์เซ็นต์ตายแรกคลอด เปอร์เซ็นต์มัมมี่ จำนวนลูกแรกคลอด น้ำหนักแรกคลอด

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.7 ระบบการบันทึกการผลิตสุกร ข. ระบบรายงานในเล้าคลอด 4. รายงานการหย่านมประจำสัปดาห์ รวมข้อมูลใบแจ้งคลอดหลังจากสักเบอร์หูหรือตัดเบอร์หู หาเปอร์เซ็นต์การตายก่อนหย่านม น้ำหนักเฉลี่ยที่ 28 วัน จำนวนลูกหย่านมเฉลี่ยต่อแม่ 5. รายงานการตายของลูกสุกร สาเหตุการตายของลูกสุกร จำนวนลูกสุกรที่ตายในแต่ละวันและแต่ละสัปดาห์ 6. รายงานการตายจากการคัดทิ้งสุกรพันธุ์ สาเหตุการตายและคัดทิ้ง เพื่อใช้ในการตัดสต๊อก

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.7 ระบบการบันทึกการผลิตสุกร ข. ระบบรายงานในเล้าคลอด 7. รายงานการย้ายสุกร ทำให้ทราบถึงการเคลื่อนไหวของสุกรแต่ละยูนิต 8. รายงานการใช้อาหาร 9. การบันทึกข้อมูลประวัติลงในบัตรแม่พันธุ์และในบัตรประจำตัวลูกสุกร

บทที่ 7 การจัดการสุกร 7.7 ระบบการบันทึกการผลิตสุกร ค. ระบบรายงานในเล้าอนุบาล รายงานการย้ายสุกร การชั่งน้ำหนัก การใช้อาหาร การทดสอบต่าง ๆ การตายและคัดทิ้งเจ็บป่วยด้วยโรคอะไร