ดร.เตือนใจ ดลประสิทธิ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
System Requirement Collection (2)
Advertisements

การเขียนโครงร่างวิจัย
อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
Entity-Relationship Model E-R Model
ข้อมูลและประเภทของข้อมูล
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
Population and sampling
แนะนำเมนู และการใช้งาน โปรแกรม IEP ONLINE กลุ่มงานวิชาการ ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 11 จังหวัดนครราชสีมา.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การสุ่มตัวอย่าง สส ระเบียบวิจัยการสื่อสาร สื่อสารประยุกต์ ภาคพิเศษ
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
วิชา ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology บทที่ 4 ประชาการและการสุ่มตัวอย่าง อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
Multistage Cluster Sampling
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
วัตถุประสงค์การวิจัย
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ผศ.ดร. รัชนี มุขแจ้ง คณะบริหารธุริจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
กลุ่มเกษตรกร.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
การสำรวจตามกลุ่มอายุ สำนักทันตสาธารสุข
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
SMS News Distribute Service
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
วิธีการสุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มตัวอย่างมี 2 วิธี
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
Google Scholar คืออะไร
Introduction to Public Administration Research Method
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
ประชากรและการสุ่มตัวอย่าง
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
กรณีศึกษา การจัดทำข้อเสนอโครงการที่ดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดร.เตือนใจ ดลประสิทธิ์ การสุ่มตัวอย่าง ดร.เตือนใจ ดลประสิทธิ์

ประชากร (Population or Universe) มวลรวม หรือจำนวนทั้งหมดของสิ่งที่นักวิจัยต้องการศึกษาตามที่ได้กำหนดหลักเกณฑ์เอาไว้

คำที่เกี่ยวข้องกับการสุ่มตัวอย่าง ประชากร (population) หมายถึงข้อมูลหรือค่าสังเกตทั้งหมดที่ผู้วิจัยสนใจศึกษา เป็นได้ทั้ง คน สัตว์ หรือสิ่งขอ กลุ่มตัวอย่าง (sample) หมายถึงส่วนหนึ่งของประชากรที่ผู้วิจัยเลือกใช้เป็นตัวแทนที่ดีที่สุดของประชากร โดยผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่างอย่างมีหลักการและเหตุผล รวมทั้งกำหนดขนาดให้พอเหมาะเพื่อสามารถนำผลไปอ้างอิงสู่ประชากรได้อย่างมีคุณภาพ พารามิเตอร์ (parameter) หมายถึงค่าที่แสดงลักษณะของประชากร เช่น μ , P , σ , σ2 เป็นต้น

คำที่เกี่ยวข้องกับการสุ่มตัวอย่าง (ต่อ) ค่าสถิติ (statistics) หมายถึงค่าที่แสดงถึงลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง เช่น , , s , s2 เป็นต้น กรอบการสุ่ม (sampling frame) หรือเรียกว่า กรอบประชากร (population frame) หมายถึงรายชื่อสมาชิกแต่ละหน่วยที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา ตัวอย่างเช่น ศึกษาความพึงพอใจของหัวหน้าหน่วยงานที่มีต่อบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรอบการสุ่มของผู้วิจัยคือ บัญชีรายชื่อบริษัทและหัวหน้าหน่วยงานของบัณฑิตทั้งหมด พร้อมทั้งที่อยู่ที่ติดต่อได้

คำที่เกี่ยวข้องกับการสุ่มตัวอย่าง (ต่อ) หน่วยการสุ่ม (sample unit) หมายถึง หน่วยย่อยที่เล็กที่สุดในประชากรที่ต้องการศึกษา อาจเป็น คน สัตว์ สิ่งของ โรงเรียน ตำบล หรืออำเภอ ก็ได้ ขึ้นอยู่กับผู้วิจัยว่าจะกำหนดประชากรเป็นอะไร

ค่าพารามิเตอร์ (Parameter) ค่าที่ใช้อธิบายตัวแปรในประชากร โดยคำนวณจากค่าประชากร

ค่าสถิติ (Statistic) ค่าที่ใช้อธิบายตัวแปรในตัวอย่างโดยคำนวณจากกลุ่มตัวอย่างที่เลือกสุ่มขึ้นมา

กลุ่มตัวอย่าง (Sample) ส่วนหนึ่งของประชากรทั้งหมดที่ผู้วิจัยเลือกขึ้นมาเป็นตัวแทนในการวิจัย ตามวิธีการและหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ตัวอย่างที่ดีจะให้ข้อมูลของประชากร และทำให้ความเชื่อมั่นทางสถิติมีค่าสูง และยังลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการวิจัยด้วย

ข้อดีของการสุ่มตัวอย่าง โดยทั่วไปมีการศึกษาโดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ที่ผู้วิจัยเชื่อว่าเป็นตัวแทนที่ดีของประชากร นำเอาข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์แล้วอ้างอิงสู่ประชากร โดยใช้หลักเหตุผลหรือใช้สถิติอ้างอิง (inferential statistics) การศึกษาโดยใช้ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่กล่าวมานี้ มีข้อดีคือ ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย เวลา และแรงงาน ผลวิจัยที่ได้ไม่ต่างจากเก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากรทั้งหมด

การเลือกกลุ่มตัวอย่างมีประเด็นที่ต้องพิจารณา 2 ประการคือ จะใช้จำนวนเท่าใด จะเลือกอย่างไร ซึ่งถือเป็นเรื่องของการกำหนดตัวอย่าง กับวิธีเลือกกลุ่มตัวอย่าง ตามลำดับ

ก.การกำหนดจำนวนกลุ่มตัวอย่าง การที่จะทราบว่าควรใช้กลุ่มตัวอย่างจำนวนเท่าใดนั้น วิธีการหลากหลายวิธี เช่น ใช้เกณฑ์กำหนด (เช่น ประชากรเป็นหลักร้อย ใช้กลุ่มตัวอย่าง 15%-30% ประชากรเป็นหลัก พันใช้กลุ่มตัวอย่าง 10%-15% ประชากรเป็นหลักหมื่น ใช้กลุ่มตัวอย่าง 5%-10%) หรือใช้สูตรคำนวณ หรือใช้ตารางสำเร็จรูป เช่นตารางของ krejcie และ morgan

ข้อควรพิจารณา เกี่ยวกับจำนวนกลุ่มตัวอย่าง ขึ้นอยู่กับธรรมชาติของประชากร และ ถ้าประชากรมีคุณสมบัติในเรื่องที่ผู้วิจัยจะศึกษาเป็นเอกพันธ์มาก นั่นคือความแตกต่างกันของสมาชิกน้อย ก็ใช้กลุ่มตัวอย่างน้อยได้ แต่ถ้าประชากรมีคุณสมบัติในเรื่องที่ผู้วิจัยจะศึกษาเป็นวิวิธพันธ์ มีความแตกต่างกันของสมาชิกมากก็ต้องใช้จำนวนกลุ่มตัวอย่างมาก ลักษณะของการวิจัย

ข้อควรพิจารณา เกี่ยวกับจำนวนกลุ่มตัวอย่าง (ต่อ) ลักษณะของการวิจัย ถ้าเป็นการวิจัยเชิงทดลอง จะใช้กลุ่มตัวอย่างไม่มาก แต่ถ้าเป็นการวิจัยเชิงพรรณนามักใช้กลุ่มตัวอย่างจำนวนมาก

ตารางสำเร็จรูปของ Krejcie and Morgan

สูตรคำนวณ ซึ่งแยกได้เป็น 2 กรณี สูตรคำนวณ ซึ่งแยกได้เป็น 2 กรณี กรณีที่ผู้วิจัยทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน สามารถหาจำนวนตัวอย่างได้จากสูตรของทาโร ยามาเน

สูตรคำนวณ ซึ่งแยกได้เป็น 2 กรณี (ต่อ) สูตรคำนวณ ซึ่งแยกได้เป็น 2 กรณี (ต่อ) กรณีที่ผู้วิจัยไม่ทราบขนาดของประชากร จึงสามารถคำนวณหาขนาดตัวอย่างได้จากสูตรของรอสโซ

ข. วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็น 2 วิธี ข. วิธีเลือกกลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็น 2 วิธี 1. การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น (non – probability sampling) เป็นการสุ่มตัวอย่างที่ผู้วิจัยไม่ทราบขอบเขตของประชากรอย่างชัดเจน จึงจำเป็นต้องเลือกกลุ่มตัวอย่างอย่างเจาะจง หรือตามความสะดวกของผู้วิจัยทั้งในด้านเวลา งบประมาณ และสถานที่ การสุ่มตัวอย่างวิธีนี้มีโอกาสที่ทำให้เกิดความลำเอียงในการสุ่มตัวอย่างเนื่องจากการเลือกขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของผู้วิจัยโดยเฉพาะ มีอยู่หลายวิธีด้วยกัน คือ

1. การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น (ต่อ) 1.1 การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (accidental sampling) หรือเรียกอีกชื่อว่า การสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก (convenience sampling) เป็นการสุ่มตัวอย่างแบบไม่มีกฎเกณฑ์แน่นอน ยึดหลักความสะดวกสบายของผู้วิจัยเป็นหลักสำคัญ 1.2 การสุ่มตัวอย่างแบบโควต้า (quota sampling) เป็นการสุ่มตัวอย่างที่คล้ายคลึงกับการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ ต่างกันที่การเลือกตัวอย่างถูกกำหนดให้เลือกกระจายไปในกลุ่มประชากรแต่ละกลุ่ม มีการจำแนกประชากรออกเป็นส่วนๆตามระดับของตัวแปรที่จะศึกษา เรียกอีกชื่อว่า การสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน

การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น (ต่อ) 1.3 การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive sampling) เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่ผู้วิจัยกำหนดเองโดยให้เหมาะสมกับจุดประสงค์ของการวิจัยซึ่งการเลือกโดยวิธีนี้ ผู้เลือกหรือนักวิจัยต้องเป็นผู้มีความสามารถ มีความชำนาญและมีประสบการณ์อย่างสูงในการเลือกตัวอย่าง เช่นต้องการศึกษาปัญหาความยากจนของประชาชน ผู้วิจัยอาจจะกำหนดกลุ่มตัวอย่างในจังหวัดใดจังหวัดหนึ่งเป็นตัวแทนของความยากจน วิธีนี้เรียกอีกชื่อว่า การสุ่มตัวอย่างแบบมีจุดมุ่งหมาย (judgement sampling)

การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น (ต่อ) 1.4 การสุ่มตัวอย่างแบบลูกโซ่ (snowball sampling) เป็นการสุ่มตัวอย่างที่ผู้วิจัยไม่ทราบประชากรที่ชัดเจน จึงเริ่มต้นด้วยการสัมภาษณ์ผู้รู้เพียงไม่กี่ราย แล้วจึงให้ผู้รู้เหล่านั้นแนะนำต่อว่าควรไปสัมภาษณ์ใครที่จะเป็นผู้มีประสบการณ์ในเรื่องนั้นจริงๆที่ผู้วิจัยสนใจศึกษา การสุ่มแบบนี้เรียกอีกชื่อว่า การสุ่มตัวอย่างแบบบอกต่อ

2. การสุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น การสุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น (probability sampling) เป็นการสุ่มตัวอย่างที่ผู้วิจัยคำนึงถึงความน่าจะเป็นที่สมาชิกแต่ละหน่วยมีโอกาสจะได้รับเลือก กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการสุ่มโดยวิธีนี้จะเป็นตัวแทนที่ดี ที่เชื่อถือได้ของประชากรเป้าหมาย เป็นวิธีการสุ่มตัวอย่างที่ผู้วิจัยนิยมใช้มากที่สุด เพราะเป็นวิธีที่มีวิธีการทางสถิติหลายอย่างช่วยในการประมาณค่า พารามิเตอร์ที่ต้องการได้ มีอยู่หลายวิธี ดังนี้

2.1 การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling)

การสุ่มตัวอย่างแบบง่ายมีวิธีการสุ่มได้ 3 แบบ การสุ่มตัวอย่างแบบง่ายมีวิธีการสุ่มได้ 3 แบบ 2.1.1 แบบการใช้วิธีจับฉลาก ใช้ในกรณีที่ประชากรมีขนาดไม่มากนัก ทำการสุ่มโดยการให้หมายเลขสมาชิกแต่ละหน่วยของประชากรตั้งแต่หมายเลข 1 ถึง N เขียนหมายเลขเหล่านั้นบนกระดาษโดยใช้ 1 แผ่นต่อ 1 รายชื่อ ใส่ในกล่องเขย่าคละกันแล้วจึงทำการหยิบสลากทีละใบจนกว่าจะครบตามจำนวนที่ต้องการ และในแต่ละครั้งที่หยิบมาต้องนำชื่อหมายเลขมากรอกเก็บไว้เพื่อใช้เป็นกลุ่มตัวอย่าง แล้วจึงนำแผ่นสลากนั้นใส่กล่องคืนก่อนที่จะหยิบในครั้งต่อไป ซึ่งการกระทำเช่นนั้นเป็นการยืนยันโอกาสถูกเลือกของสมาชิกทุกหน่วยในแต่ละครั้งที่หยิบมาเท่ากัน

การสุ่มตัวอย่างแบบง่ายมีวิธีการสุ่มได้ 3 แบบ (ต่อ) การสุ่มตัวอย่างแบบง่ายมีวิธีการสุ่มได้ 3 แบบ (ต่อ) 2.1.2แบบการใช้ตารางเลขสุ่ม (random number table)วิธีการนี้ใช้กับการวิจัยที่มีจำนวนประชากรขนาดใหญ่ใน เข้ามาช่วยในการเลือกตัวอย่าง ขั้นที่ 1 จะต้องทราบจำนวนประชากรเป้าหมายทั้งหมดว่ามีจำนวนเท่าใด แล้วกำหนดหลักของตัวเลขที่จะอ่านว่าจะใช้กี่หลัก เช่น ถ้าประชากรเป้าหมายมี 97 หน่วย ใช้ 2 หลัก ถ้าประชากรเป้าหมายมี 4572 ต้องใช้ตัวเลข 4 หลัก เป็นต้น ขั้นที่ 2 กำหนดทิศทางในการอ่านว่าจะอ่านไปในทิศทางใด ขึ้นบนลงล่าง จากซ้ายไปขวา หรืออ่านในแบบทแยงมุมก็จะต้องอ่านในลักษณะนั้นไปให้ตลอด ขั้นที่ 3 การเริ่มต้นป้องกันอคติให้ใช้ดินสอ หรือวัสดุปลายแหลมอะไรก็ได้หลับตาจิ้มลงไปบนตารางเลขสุ่ม แล้วจึงเริ่มอ่านตัวเลขตามทิศทางที่กำหนดไว้ในขั้นที่ 2 เลือกตัวเลขที่อยู่ในกรอบของประชากรเป้าหมายมาเป็นตัวอย่างจนครบ ส่วนตัวเลขที่อยู่นอกกรอบก็ตัดทิ้งไป

การสุ่มตัวอย่างแบบง่ายมีวิธีการสุ่มได้ 3 แบบ (ต่อ) การสุ่มตัวอย่างแบบง่ายมีวิธีการสุ่มได้ 3 แบบ (ต่อ) 2.1.3วิธีใช้คอมพิวเตอร์สุ่ม จะกำหนดตัวเลขเรียงลำดับให้สมาชิกแต่ละหน่วยจากนั้นสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำการสุ่มตัวอย่างออกมาจากจำนวนที่ต้องการโดยใช้โปรแกรม

2.2 การสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ ( Systematic sampling) เป็นการสุ่มตัวอย่างจากประชากรเป็นช่วงๆดำเนินการได้ดังนี้ ทำบัญชีรายชื่อของประชากรทุกหน่วย (sampling frame) สุ่มตัวเลขเริ่มต้น (random start) แล้วนับไปตามช่วงของการสุ่มหรือค่า c เช่น ต้องการสุ่มตัวอย่าง 50 คนจากประชากร 1000 คน ตัวเลขเริ่มต้นเป็น 015 คำนวณค่า c = 20 ดังนั้นหมายเลขของกลุ่มตัวอย่างจึงเป็น 015 ,035 ,055 , ……..ไปจนครบ 50 คน เป็นต้น

2.3 การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ(Stratified random sampling) วิธีการสุ่มตัวอย่างกรณีประชากรที่ต้องการศึกษามีความแตกต่างภายในอย่างเห็นได้ชัด เช่น การศึกษาพฤติกรรมของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง พบว่าทัศนคติและความคิดเห็นของนักศึกษาแตกต่างกันจำแนกตามคณะที่สังกัดอยู่ การสุ่มตัวอย่างจึงจำเป็นต้องแบ่งประชากรออกเป็นกลุ่มย่อยๆหรือชั้นภูมิ (stratum) โดยในแต่ละชั้นภูมิต้องมีความเป็นเอกพันธ์ เพื่อให้ได้ตัวอย่างครอบคลุมประชากรทั้งหมด หรือมีความคล้ายคลึงกันมากที่สุด แล้วจึงสุ่มตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่ายหรือสุ่มแบบมีระบบในแต่ละกลุ่มย่อยๆ

การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ (ต่อ)

2.4 การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม(cluster sampling) กรณีที่ประชากรประกอบด้วยสมาชิกที่แบ่งออกเป็นกลุ่ม แต่ละกลุ่มมีความคล้ายคลึงกัน ตัวอย่างเช่น แต่ละหมู่บ้านของชนเผ่าหนึ่งจะมีลักษณะคล้ายกัน หมู่บ้านจึงจัดว่าเป็นกลุ่ม ผู้วิจัยจะเลือกสุ่มมาเพียงบางกลุ่ม แล้วสุ่มสมาชิกในกลุ่มอีกทีหนึ่ง หรืออาจจะศึกจากสมาชิกทั้งหมดในกลุ่มที่สุ่มมาได้ก็ได้

2.5การสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi – stage sampling) เป็นการสุ่มตั้งแต่ 3 ขั้นขึ้นไป เช่น สุ่มจังหวัดมา 4 จังหวัดจาก 7 จังหวัด สุ่มโรงเรียนจากจังหวัดที่สุ่มได้มา 25 % ของโรงเรียนในจังหวัดนั้น สุ่มห้องเรียนของโรงเรียนที่สุ่มมา 50 % เป็นต้น

รายการอ้างอิง ธีรดา ภิญโญ. การสุ่มตัวอย่าง.สาขาวิชาสถิติประยุกต์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา บุญชม สมสะอาด.