สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ๕๙ ม สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ๕๙ ม. ๑๐ คลอง ๙ ลำลูกกา ปทุมธานี ๑๒๑๕๐
สทท. สทร. สบป. สสท. สพท. สปท. กง.บท. ศ.ภาค (๙) ผชช. เทคโนโลยีฯ การบริหาร งานทะเบียน กง.บท. ศ.ภาค (๙) สสท. สพท. สปท.
นายวีระชาติ ดาริชาติ ผู้อำนวยการส่วนการทะเบียนทั่วไป โครงสร้างส่วนการทะเบียนทั่วไป กลุ่มงานมาตรฐาน และระเบียบการ ทะเบียนทั่วไป กลุ่มงานระบบ ข้อมูล และหลักฐาน การทะเบียนทั่วไป กลุ่มบริหารงาน ทะเบียนสิทธิและ สถานภาพบุคคล นายวีระชาติ ดาริชาติ ผู้อำนวยการส่วนการทะเบียนทั่วไป ฌ.ปค. ณ.กน.
ทะเบียนสิทธิและสถานภาพบุคคล โครงสร้างส่วนการทะเบียนทั่วไป ท.ครอบครัว ท.พินัยกรรม กลุ่มบริหารงาน ทะเบียนสิทธิและสถานภาพบุคคล ๐๒ ๗๙๑ ๗๐๒๕ ท.ชื่อบุคคล และ คำนำหน้านาม ท.นิติกรรม โทร. ๐๒ ๗๙๑ ๗๐๑๗ - ๙
โครงสร้างส่วนการทะเบียนทั่วไป กลุ่มงานมาตรฐาน และระเบียบการ ทะเบียนทั่วไป ๐๒ ๗๙๑ ๗๐๒๕ ท.สัตว์พาหนะ ท.สุสานและ ฌาปนสถาน ท.ศาลเจ้า โทร. ๐๒ ๗๙๑ ๗๐๒๑ - ๒๒
ฌาปนกิจสงเคราะห์ข้าราชการกรมการปกครอง ฌาปนกิจสงเคราะห์กำนันผู้ใหญ่บ้าน โครงสร้างส่วนการทะเบียนทั่วไป กลุ่มงานระบบ ข้อมูล และหลักฐาน การทะเบียนทั่วไป โทร. ๐๒ ๗๙๑ ๗๐๑๘ ฌ.ปค. ฌาปนกิจสงเคราะห์ข้าราชการกรมการปกครอง ๑๐๐,๐๐๐.-(๓๗,๙๒๒) กทม. ขรก. ๘๔๐/บำนาญ ๑๗๕ = ๑,๐๑๕ ฌ.กน. ฌาปนกิจสงเคราะห์กำนันผู้ใหญ่บ้าน ๒๐,๐๐๐.-(๒๐,๘๐๐) โทร. ๐๒ ๗๙๑ ๗๐๒๓-๒๔ โทร. ๐๒ ๗๙๑ ๗๐๒๖-๒๗
กฎกระทรวง มท. ออกตามความใน พรบ.จดทะเบียนครอบครัว ฉบับที่ ๔/๒๔๙๙ ข้อ ๒ ๑. ให้ผู้อำนวยการกองทะเบียนหรือหัวหน้ากองทะเบียน กรมมหาดไทย เป็นนายทะเบียนกลาง (ผอ.สทท.) ๒. ให้นายอำเภอ เป็น นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนอำเภอ ๓. ให้ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ เป็นนายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนกิ่งอำเภอ ๔. ในกรณีที่นายทะเบียนไม่อาจไปจดทะเบียนนอกสำนักทะเบียนได้ ให้ปลัดอำเภอเป็นนายทะเบียน
คำสั่ง มท. ที่ ๑๕๗/๒๕๓๗ อาศัยอำนาจตามความใน ม.๒๐ พรบ.ชื่อบุคคล แต่งตั้ง ผู้อำนวยการส่วนการทะเบียนทั่วไป เป็น นายทะเบียนกลาง คำสั่ง มท. ที่ ๑๔๓๐ / ๒๕๐๕ แต่งตั้ง นายอำเภอ เป็น นายทะเบียนท้องที่ ตาม ม.๒๐ แห่ง พ.ร.บ.ชื่อบุคคล ๒๕๐๕ ฯ
คำสั่ง มท. ที่ ๖๓๑ / ๒๕๕๘ แต่งตั้ง ร้อยตำรวจโท อาทิตย์ บุญญะโสภัต อาศัยอำนาจตามความใน ม.๒๓ แห่ง พรบ.บัตรประจำตัวประชาชน แต่งตั้ง ร้อยตำรวจโท อาทิตย์ บุญญะโสภัต เป็น เจ้าพนักงานออกบัตร คำสั่ง มท ที่ ๔๕๒/๒๕๔๒ แต่งตั้ง นายอำเภอ/ปลัดอำเภอ/ ผู้อำนวยการเขต/ผช.ผอ./หน.ฝ.ทะเบียน จพง.ปค. ระดับ ๖ ง.บัตรประจำตัวประชาชน ปลัดเทศบาล/รองปลัดเทศบาลฯ เป็น จพง.ตรวจบัตร/พนง.จนท.
ม.๘ มี ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง เป็น นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนกลาง พ.ร.บ. การทะเบียนราษฎร ๒๕๓๕ ฯ ม.๘ มี ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง เป็น นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนกลาง ม.๘/๒ (๑) อปค. เป็น ผอ.ทะเบียนกลาง (๒) ปลัด กทม. เป็น นายทะเบียน กทม. (๕) ผอ.เขต/ป.เทศบาลฯ เป็น นายทะเบียนท้องถิ่น
๑. พระราชบัญญัติขนานนามสกุล ๒๒ มี.ค. พ.ศ. ๒๔๕๖ กฎหมายชื่อบุคคล ๑. พระราชบัญญัติขนานนามสกุล ๒๒ มี.ค. พ.ศ. ๒๔๕๖ - ม.๓ ชื่อของคนไทยทุกคนต้องประกอบด้วยชื่อตัว และชื่อสกุล - ม.๖ หญิงใดทำงานสมรสมีสามีแล้ว ให้ใช้ชื่อสกุลของสามี และคงชื่อตัวและชื่อสกุลเดิมของตนได้ - ม.๑๒ (๕) อย่าให้ชื่อกับชื่อสกุลซึ่งได้จดทะเบียนไว้แล้วในแขวงอำเภอเดียวกันหรือแขวงอำเภอท้องที่ติดต่อกัน พระบรมราโชบายในการขนานนามสกุล ว่าด้วยเกณฑ์เลือกนามสกุล - ข้อ ๕ นามสกุลถึงจะซ้ำกันบ้าง ก็ไม่สู้อัศจรรย์ เพราะเมื่อหมู่มากจะไม่ให้ซ้ำบ้างย่อมเป็นการยาก ถึงในเมืองอื่นๆ เขาก็ต้องยอมให้ซ้ำบ้าง
๒. พระราชบัญญัติชื่อบุคคล ๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๔ (ร.๘) กฎหมายชื่อบุคคล ๒. พระราชบัญญัติชื่อบุคคล ๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๔ (ร.๘) ม.๕ ชื่อของคนไทยทุกคนต้องประกอบด้วยชื่อตัว และชื่อสกุล และถ้าประสงค์จะมีชื่อรองก็ให้มีได้ - ม.๑๓ หญิงมีสามีให้ใช้ชื่อสกุลของสามี ม.๑๒ (๕) อย่าให้ซ้ำกับชื่อสกุล ซึ่งได้จดทะเบียนไว้แล้ว นส ที่ มท ๐๓๐๙.๓/ว ๒๒๒ ลว ๓ ก.พ. ๒๕๔๗ ศ.ปก.กลาง คดีแดง ที่ ๒๑/๒๕๔๗ พิพากษา ให้ เพิกถอนชื่อสกุล ที่ยื่นขอจัดตั้งที่หลัง โดยใช้ พรบ.วิ ปค. (- ปี ๒๕๕๒ ตรวจเจอในสมุดโทรศัพท์ - ผู้ฟ้องคดี บิดาขอจัดตั้งชื่อสกุล ”...” เมื่อวันที่ ๓๐ เม.ย. ๒๔๙๖ - ผู้ถูกฟ้องคดี เขตสัมพันธ์วงศ์ จัดตั้งชื่อสกุล “.ซ้ำ.” วันที่ ๑๕ มี.ค. ๒๔๙๗ (คู่มือสีน้ำเงิน หน้า ๓๔๘)
๓. ประกาศเพิ่มเครื่องหมายนามสกุลสำหรับราชตระกูล ๑ ม.ค. ๒๔๕๘ กฎหมายชื่อบุคคล ๓. ประกาศเพิ่มเครื่องหมายนามสกุลสำหรับราชตระกูล ๑ ม.ค. ๒๔๕๘ @ ครั้นเมื่อล่วงกาลนานไปหลายชั้นบุรุษก็จะไปปนกันกับนามสกุลสามัญ จนจะทราบไม่ได้ว่านามสกุลไหนสำหรับราชตระกูล เพราะไม่มีเครื่องหมาย เป็นที่สังเกตุ @ บรรดานามสกุลซึ่งได้ทรงขนานพระราชทานแก่ผู้สืบสายราชตระกูล ทั้งปวงนั้น ให้มีคำว่า “ณ กรุงเทพ” (๗๔ สาย) @ ห้ามมิให้ผู้หนึ่งผู้ใดที่มิได้เป็นผู้สืบสายราชตระกูลใช้คำ “ณ กรุงเทพ” @ แม้พระบรมราชานุญาตพิเศษให้ บุตรบุญธรรม ถือนามสกุลสำหรับ ราชตระกูลได้ มิได้เป็นผู้สืบสายจากราชตระกูล แต่เติม “ณ กรุงเทพ” ไม่ได้ (กฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ ๒๘/๒๔๘๕ สมบูรณาญาสิทธิราช บริหาร/นิติบัญญัติ ถ้าแก้ไขผ่าน รัฐสภา)
๔. ประกาศแก้เครื่องหมายนามสกุลสำหรับราชตระกูล ๒๔ มี.ค. ๒๔๖๘ กฎหมายชื่อบุคคล ๔. ประกาศแก้เครื่องหมายนามสกุลสำหรับราชตระกูล ๒๔ มี.ค. ๒๔๖๘ พระบรมราชวงศ์นี้ แต่เดิมเป็นสกุลมหาศาลอันหนึ่งอยู่ในพระนครศรีอยุธยา เมื่อเป็นราชธานี ควรจะใช้นามให้ตรงกับมูลเหตุแห่งพระราชพงศาวดารให้ชัดเจน จึงทรงกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนนาม “ณ กรุงเทพ” ใช้นามว่า “ณ อยุธยา” แทน
๕. ประกาศ ห้ามมิให้ผู้ที่ไม่ได้รับพระราชทานนามสกุล กฎหมายชื่อบุคคล ๕. ประกาศ ห้ามมิให้ผู้ที่ไม่ได้รับพระราชทานนามสกุล ใช้ ณ นำหน้านามสกุล ๑๕ ธ.ค. พ.ศ. ๒๔๕๘ ห้ามมิให้ผู้หนึ่งผู้ใดใช้ “ณ” นำหน้านามสกุลของตน นอกจากนามสกุลที่โปรดเกล้าฯ ถ้าผู้ใดมีความปรารถนาจะใช้ “ณ” นำนามสกุลของตน ต้องทำหนังสือทูลเกล้าฯ ถวายขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต และในหนังสือนั้นต้องชี้แจงให้ชัดเจนว่าตนมีสิทธิหรืออำนาจอันชอบธรรมอย่างใด
ห้ามอย่าให้ผู้หนึ่งผู้ใดเอาศัพท์ที่เป็นพระบรมนามาภิไธยมาตั้ง กฎหมายชื่อบุคคล ๖. ประกาศห้ามไม่ให้เอานามพระมหานคร และไม่ให้เอาศัพท์ที่เป็นพระบรมนามาภิไธย มาใช้เป็นนามสกุล (๒ มี.ค. ๒๔๕๘) ห้ามอย่าให้ผู้หนึ่งผู้ใดเอาศัพท์ที่เป็นพระบรมนามาภิไธยมาตั้ง หรือเอามาประกอบกับศัพท์อื่นตั้งเป็นนามสกุลของตน และห้ามมิให้ผู้หนึ่งผู้ใดตั้งนามสกุลของตนให้พ้องกับนามเมือง ซึ่งเคยเป็นราชธานีมาแล้วแต่ก่อนหรือในปัจจุบันนี้ (เช่น ลพบุรี สิงห์บุรี นครสวรรค์ ศรีวิไชย ไชยา ฯลฯ ) เว้นแต่พระราชทานพระบรมราชานุญาตพิเศษ
ห้ามอย่าให้ผู้หนึ่งผู้ใดเอาศัพท์ที่ใช้เป็นนามเมือง ซึ่งเคยเป็น กฎหมายชื่อบุคคล ๗. ประกาศห้ามไม่ให้เอานามพระมหานคร มาประกอบกับศัพท์อื่นใช้เป็นนามสกุล (๕ ส.ค. ๒๔๕๙) ห้ามอย่าให้ผู้หนึ่งผู้ใดเอาศัพท์ที่ใช้เป็นนามเมือง ซึ่งเคยเป็น ราชธานีมาแล้วแต่ก่อนหรือปัจจุบันนี้ประกอบกับศัพท์อื่นใช้เป็นนามสกุล เช่น วงศ์กรุงเทพ วงศ์อยุธยา เว้นแต่ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตพิเศษ
๘. ประกาศให้หม่อมเจ้าใช้นามสกุล (๕ มิ.ย. ๒๔๗๒/ร.๗) กฎหมายชื่อบุคคล ๘. ประกาศให้หม่อมเจ้าใช้นามสกุล (๕ มิ.ย. ๒๔๗๒/ร.๗) หม่อมเจ้าซึ่งทรงสถาปนาให้มีพระเกียรติยศเป็นพระองค์เจ้านั้น ไม่ต้องใช้นามสกุลต่อท้ายพระนาม หม่อมเจ้า หม่อมราชวงศ์ หม่อมหลวง ไม่ต้องใช้สร้อย ณ อยุธยา เพราะมีคำแสดงศักดิ์ในราชตระกูลปรากฏอยู่แล้ว
๙. พระราชกฤษฎีกาให้ใช้คำนำนามสตรี (๑๒ ก.ค. ๒๔๖๐) กฎหมายชื่อบุคคล ๙. พระราชกฤษฎีกาให้ใช้คำนำนามสตรี (๑๒ ก.ค. ๒๔๖๐) ข้อ ๑ (ก) ถ้าเป็นผู้ที่ยังไม่มีสามี ให้ใช้คำว่า “นางสาว” (ข) ถ้าเป็นผู้ที่มีสามีแล้ว แต่สามีเป็นผู้ยังไม่มีบรรดาศักดิ์ ให้ใช้คำว่า “นาง ข้อ ๒ สตรีที่สามีมีบรรดาศักดิ์ขั้นพระยา ให้ใช้คำว่า “คุณหญิง” ข้อ ๓ สตรีผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าฝ่ายใน ให้ใช้คำว่า “คุณหญิง” (สามารลงรายการในทะเบียนบ้านได้) ฯลฯ (ประกาศ พรบ.ให้ใช้คำนำหน้าชื่อชนต่างๆ พ.ศ. ๒๕๐๔ / นาย คือ ชายสามัญ / อำแดง คือ ไพร่หลวง / หนู คือเด็กที่ยังไม่ได้โกนจุก)
๑๐. พระราชกฤษฎีกาให้ใช้คำนำนามสตรี เพิ่มเติม (๑๒ ก.ค. ๒๔๖๐) กฎหมายชื่อบุคคล ๑๐. พระราชกฤษฎีกาให้ใช้คำนำนามสตรี เพิ่มเติม (๑๒ ก.ค. ๒๔๖๐) ข้อ ๒ สตรีที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ให้ใช้คำนำนางกำนัลหรือพนักงานนั้นว่า “คุณ” - นส. ที่ มท ๐๓๐๙.๓/ ว ๑๘๙๔๒ ลว ๒๕ ส.ค. ๒๕๕๓ (คู่มือสีน้ำเงิน ๔๔๒) ให้เปลี่ยนคำนำหน้านาม “ท่านผู้หญิง” “คุณหญิง” “คุณ” ในทะเบียนบ้านได้ “ท่านหญิง” - นส. ที่ รล ๐๐๑๓.๔/๙๘๑ ลว ๑๖ ม.ค. ๒๕๕๐ (คู่มือสีน้ำเงิน ๔๑๓) ไม่มีกฎหมายรองรับคำนำหน้านาม “ท่านหญิง”
๑๐. พระราชบัญญัติ ชื่อบุคคล พ.ศ. ๒๕๐๕ กฎหมายชื่อบุคคล ๑๐. พระราชบัญญัติ ชื่อบุคคล พ.ศ. ๒๕๐๕ ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๓๐ หญิงหม้ายโดยความตายของสามี จะใช้ชื่อสกุลของสามี หรือ ใช้ชื่อสกุลเดิมของตนก็ได้ ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๔๘ ๑) เพิ่มชื่อรอง / คู่สมรส,บุตร ๒) อำนาจนายทะเบียน ๓) ผู้สืบสันดาน / ใกล้ชิดที่สุด / ใช้ชื่อสกุลนั้นอยู่ ๔) คู่สมรส การสิ้นสุดการสมรส (ไม่ตัดสิทธิกลับไปใช้ชื่อสกุลเดิม,ข้อตกลง) ๕) ค่าธรรมเนียม
มาตรา ๔ “ชื่อตัว” หมายความว่า ชื่อประจำบุคคล พรบ. ชื่อบุคคล ๒๕๐๕ มาตรา ๔ “ชื่อตัว” หมายความว่า ชื่อประจำบุคคล “ชื่อรอง” หมายความว่า ชื่อประกอบถัดจากชื่อตัว “ชื่อสกุล” หมายความว่า ชื่อประจำวงศ์สกุล “นายทะเบียน” หมายความว่า นายทะเบียนท้องที่ / นายทะเบียนจังหวัด / นายทะเบียนกลาง
มาตรา ๕ ผู้มีสัญชาติไทยต้องมีชื่อตัวและชื่อสกุล และจะมีชื่อรองก็ได้ พรบ. ชื่อบุคคล ๒๕๐๕ มาตรา ๕ ผู้มีสัญชาติไทยต้องมีชื่อตัวและชื่อสกุล และจะมีชื่อรองก็ได้ มาตรา ๖ ชื่อตัวต้อง ไม่พ้องหรือมุ่งหมายให้คล้ายกับ พระปรมาภิไธย / พระนามของพระราชินี / ราชทินนาม ไม่มีคำหรือความหมายหยาบคาย ชื่อรองต้อง ไม่พ้องกับชื่อสกุลของบุคคลอื่น เว้นแต่ คู่สมรสใช้ชื่อสกุลของอีกฝ่ายหนึ่ง (ต้องได้รับความยินยอม) บุตรใช้ชื่อสกุลเดิมของมารดาหรือบิดา เป็นชื่อรองของตน
บรรดาศักดิ์แต่ได้ออกจากบรรดาศักดิ์นั้นโดยมิได้ถูกถอด จะใช้ราชทินนาม พรบ. ชื่อบุคคล ๒๕๐๕ มาตรา ๗ ผู้ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ หรือผู้เคยได้รับพระราชทาน บรรดาศักดิ์แต่ได้ออกจากบรรดาศักดิ์นั้นโดยมิได้ถูกถอด จะใช้ราชทินนาม ตามบรรดาศักดิ์นั้นเป็นชื่อตัวหรือชื่อรองก็ได้ มาตรา ๑๖ ผู้มีชื่อตัวหรือชื่อรองอยู่แล้วประสงค์จะเปลี่ยนชื่อตัวหรือชื่อ รองให้ยื่นคำขอต่อนายทะเบียนท้องที่ในท้องที่ที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร เมื่อนายทะเบียนท้องที่เห็นว่า ชื่อตัวหรือชื่อรองที่ขอเปลี่ยนใหม่นั้นไม่ขัดต่อพระราชบัญญัตินี้ ก็ให้อนุญาต และออกหนังสือสำคัญแสดงการเปลี่ยนชื่อให้
การปฏิบัติงานทะเบียนชื่อตัว ชื่อรอง ๑. กฎหมายระเบียบที่เกี่ยวข้อง ๑.๑ พ.ร.บ.ชื่อบุคคล ฯ พ.ศ. ๒๕๐๕ มาตรา ๖ (ชื่อตัว,ชื่อรอง) / ๗ (บรรดาศักดิ์) / ๑๖ (เปลี่ยนชื่อตัว,ชื่อรอง) ๑.๒ กฎกระทรวงมหาดไทยฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๕ (๑) (ค่าธรรมเนียม) ๑.๓ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๕-๘ (วิธีการปฏิบัติ) / ข้อ ๒๔ (การอุทธรณ์) / ข้อ ๒๕ (การจำหน่าย) / ข้อ ๒๘ (การจัดเก็บในฐานข้อมูล) / ข้อ ๓๑-๓๒ (การขอใบแทน) ข้อ ๓๓-๓๕ (รับรองสำเนา) / ๓๖ (แจ้งนายทะเบียนราษฎร) (กรณีราชทินนาม ตรวจสำเนาทะเบียนบัตรฐานันดรของผู้ยื่นคำขอ ซึ่งได้รับการรับรองจากสำนักเลขาธิการครม. ว่าได้รับ หรือ เคยได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ / ถ้าออกจากบรรดาศักดิ์แล้วต้องมิได้ถูกถอดถอน)
การปฏิบัติงานทะเบียนชื่อตัว ชื่อรอง ๒. หลักเกณฑ์ ๒.๑ ต้องไม่พ้องหรือมุ่งหมายให้คล้ายกับพระปรมาภิไธย พระนามของพระราชินี หรือราชทินนาม ๒.๒ ต้องไม่มีคำหรือความหมายหยาบคาย ๒.๓ ผู้ได้รับหรือเคยได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ แต่ได้ออกจากบรรดาศักดิ์นั้น โดยมิได้ถูกถอดถอนจะใช้ราชทินนามเป็นชื่อตัวหรือชื่อรองได้ ๒.๔ ชื่อรองต้องไม่พ้องกับชื่อสกุลของบุคคลอื่น ยกเว้นการใช้ชื่อสกุลของคู่สมรส แต่ต้องได้รับความยินยอมจากคู่สมรสที่ใช้ชื่อสกุลนั้นอยู่ ๒.๕ กรณีบุตร มีสิทธิใช้ชื่อสกุลเดิมของมารดาหรือบิดา เป็นชื่อรองก็ได้ ๒.๖ ต้องไม่มีเจตนาทุจริต
๑) ไม่พ้องหรือมุ่งหมายให้คล้ายกับพระปรมาภิไธยหรือพระนามของพระราชินี พรบ. ชื่อบุคคล ๒๕๐๕ มาตรา ๘ ชื่อสกุล ๑) ไม่พ้องหรือมุ่งหมายให้คล้ายกับพระปรมาภิไธยหรือพระนามของพระราชินี ๒) ไม่พ้องหรือมุ่งหมายให้คล้ายกับราชทินนาม เว้นแต่ ราชทินนามของตน ของผู้บุพการี หรือของผู้สืบสันดาน ๓) ไม่ซ้ำกับชื่อสกุลที่ได้รับพระราชทานจากพระมหากษัตริย์ หรือชื่อสกุลที่ได้จดทะเบียนไว้แล้ว ๔) ไม่มีคำหรือความหมายหยาบคาย ๕) มีพยัญชนะไม่เกินกว่าสิบพยัญชนะ เว้นแต่กรณีใช้ราชทินนามเป็นชื่อสกุล
พรบ. ชื่อบุคคล ๒๕๐๕ มาตรา ๙ ผู้มีสัญชาติไทยผู้ใดประสงค์จะจดทะเบียนตั้งชื่อสกุล ให้ยื่นคำขอต่อนายทะเบียนท้องที่ในท้องที่ที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร เมื่อนายทะเบียนท้องที่พิจารณาเห็นว่าชื่อสกุลที่ขอตั้งนั้นไม่ขัดต่อพระราชบัญญัตินี้ ก็ให้เสนอต่อไปตามลำดับจนถึงนายทะเบียนกลาง เมื่อได้รับอนุมัติจากนายทะเบียนกลางแล้ว ให้นายทะเบียนท้องที่รับจดทะเบียนชื่อสกุลนั้นและออกหนังสือสำคัญแสดงการรับจดทะเบียนชื่อสกุลให้แก่ผู้ขอ แต่ในกรณีที่สำนักทะเบียนใดสามารถเชื่อมโยงข้อมูลเข้ากับเครือข่ายข้อมูลของสำนักทะเบียนกลางตามที่กระทรวงมหาดไทยประกาศกำหนดแล้ว ให้นายทะเบียนท้องที่ดำเนินการดังกล่าวได้โดยไม่ต้องได้รับอนุมัติจากนายทะเบียนกลาง[๓]
มาตรา ๑๗ ผู้มีชื่อสกุลอยู่แล้วประสงค์จะขอตั้งชื่อสกุลใหม่ พรบ. ชื่อบุคคล ๒๕๐๕ มาตรา ๑๗ ผู้มีชื่อสกุลอยู่แล้วประสงค์จะขอตั้งชื่อสกุลใหม่ ให้ยื่นคำขอต่อนายทะเบียนท้องที่ในท้องที่ที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร และให้นำความในวรรคสองและวรรคสามของมาตรา ๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
พรบ. ชื่อบุคคล ๒๕๐๕ มาตรา ๑๑ ผู้จดทะเบียนตั้งชื่อสกุลจะอนุญาตให้ผู้มีสัญชาติไทยผู้ใดร่วมใช้ชื่อสกุลของตนก็ได้ โดยยื่นคำขอต่อนายทะเบียนท้องที่ในท้องที่ที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร การอนุญาตตามมาตรานี้ จะสมบูรณ์ต่อเมื่อนายทะเบียนท้องที่ได้ออกหนังสือสำคัญแสดงการอนุญาตให้ใช้ชื่อสกุลให้แก่ผู้ที่จะใช้ชื่อสกุลนั้น ในกรณีที่ผู้จดทะเบียนตั้งชื่อสกุลตายแล้ว ให้ผู้สืบสันดานของผู้จดทะเบียนตั้งชื่อสกุลในลำดับที่ใกล้ชิดที่สุดซึ่งยังมีชีวิตอยู่และใช้ชื่อสกุลนั้นมีสิทธิอนุญาตตามวรรคหนึ่ง
ตามที่ตกลงกัน หรือ ต่างฝ่ายต่างใช้ชื่อสกุลเดิมของตน พรบ. ชื่อบุคคล ๒๕๐๕ มาตรา ๑๒ คู่สมรสมีสิทธิใช้ชื่อสกุลของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ตามที่ตกลงกัน หรือ ต่างฝ่ายต่างใช้ชื่อสกุลเดิมของตน การตกลงกันตามวรรคหนึ่ง จะกระทำเมื่อมีการสมรส หรือ ในระหว่างสมรสก็ได้ ข้อตกลงกันตามวรรคหนึ่ง คู่สมรสจะตกลงเปลี่ยนแปลง ภายหลังก็ได้
หรือศาลพิพากษาให้เพิกถอนการสมรส พรบ. ชื่อบุคคล ๒๕๐๕ มาตรา ๑๓ เมื่อการสมรสสิ้นสุดลงด้วยการหย่า หรือศาลพิพากษาให้เพิกถอนการสมรส ให้ฝ่ายซึ่งใช้ชื่อสกุลของอีกฝ่ายหนึ่งกลับไปใช้ชื่อสกุลเดิมของตน เมื่อการสมรสสิ้นสุดด้วยความตาย ให้ฝ่ายซึ่งยังมีชีวิตอยู่ และใช้ชื่อสกุลของอีกฝ่ายหนึ่งมีสิทธิใช้ชื่อสกุลนั้นได้ต่อไป แต่เมื่อจะสมรสใหม่ให้กลับไปใช้ชื่อสกุลเดิมของตน
แต่ไม่ตัดสิทธิ ที่จะกลับไปใช้ชื่อสกุลเดิมของตน พรบ. ชื่อบุคคล ๒๕๐๕ หญิงมีสามีซึ่งใช้ชื่อสกุลของสามีก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้มีสิทธิใช้ชื่อสกุลของสามีได้ต่อไป แต่ไม่ตัดสิทธิ ที่จะกลับไปใช้ชื่อสกุลเดิมของตน หรือมีข้อตกลงระหว่างสามีภรรยาเป็นประการอื่น ๒๐ มกราคม ๒๕๔๘
พรบ. ชื่อบุคคล ๒๕๐๕ มาตรา ๑๙ ผู้ใดประสงค์จะใช้ราชทินนามของตน ของผู้บุพการีหรือของผู้สืบสันดานเป็นชื่อสกุล ให้ยื่นคำขอต่อนายทะเบียนท้องที่ในท้องที่ที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร แล้วให้นายทะเบียนท้องที่นั้นเสนอต่อไปตามลำดับจนถึงนายทะเบียนกลาง เมื่อนายทะเบียนกลางพิจารณาเห็นสมควร ให้เสนอรัฐมนตรีเพื่อนำความกราบบังคมทูล เมื่อได้รับพระบรมราชานุญาตแล้ว จึงให้นายทะเบียนท้องที่รับจดทะเบียนชื่อสกุลนั้น และออกหนังสือสำคัญแสดงการรับจดทะเบียนชื่อสกุลให้แก่ผู้ขอ
การปฏิบัติงานทะเบียนชื่อสกุล ๑. กฎหมายระเบียบที่เกี่ยวข้อง มาตรา ๘ ข้อห้ามการใช้ชื่อสกุล มาตรา ๙ การจดทะเบียนตั้งชื่อสกุล มาตรา ๑๑ การอนุญาตให้ร่วมใช้ชื่อสกุล มาตรา ๑๒ การใช้ชื่อสกุลของคู่สมรส มาตรา ๑๓ การใช้ชื่อสกุลกรณีการสิ้นสุดการสมรส มาตรา ๑๕ สถานสงเคราะห์ตั้งชื่อสกุลเด็กซึ่งอยู่ในความอุปการะ มาตรา ๑๗ การจัดตั้งชื่อสกุลใหม่ มาตรา ๑๘ การอุทธรณ์ มาตรา ๑๙ การใช้ราชทินนามเป็นชื่อสกุล กฎกระทรวงมหาดไทย ฯ พ.ศ. ๒๕๕๐ ข้อ ๕ (ค่าธรรมเนียม)
การปฏิบัติงานทะเบียนชื่อสกุล ๑. กฎหมายระเบียบที่เกี่ยวข้อง หมวด ๒ การจดทะเบียนตั้งชื่อสกุลหรือชื่อสกุลใหม่ (ช ๒) หมวด ๓ การเปลี่ยนชื่อสกุลโดยการร่วมใช้ชื่อสกุล(ช ๔) หมวด ๔ การเปลี่ยนชื่อสกุลโดยการสมรส(ช ๕) หมวด ๕ การเปลี่ยนชื่อสกุลเมื่อการสมรสสิ้นสุดลง(ช ๕) หมวด ๖ การเปลี่ยนชื่อสกุลด้วยเหตุอื่น(ช ๕) หมวด ๗ การอุทธรณ์(รวมชื่อตัว) หมวด ๘ การจำหน่ายชื่อสกุล(รวมชื่อตัว) หมวด ๙ การจัดเก็บข้อมูล(รวมชื่อตัว) หมวด ๑๐ การขอใบแทน/สำเนา(รวมชื่อตัว) หมวดเบ็ดเตล็ด การแจ้งนายทะเบียนราษฎร(รวมชื่อตัว)
การปฏิบัติงานทะเบียนชื่อสกุล ๒. หลักเกณฑ์ ๑) ไม่พ้องหรือมุ่งหมายให้คล้ายพระปรมาภิไธย หรือพระนามของพระราชินี ๒) ไม่พ้องหรือมุ่งหมายให้คล้ายราชทินนาม เว้นแต่ราชทินนามของตน ของบุพการี หรือของผู้สืบสันดาน ๓) ไม่ซ้ำกับชื่อสกุลที่ได้รับพระราชทานจากพระมหากษัตริย์ / หรือชื่อสกุลที่ได้จดทะเบียนไว้แล้ว / หรือชื่อสกุลในฐานข้อมูลทะเบียน ชื่อบุคคลและในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร ๔) ไม่มีคำหรือความหมายหยาบคาย ๕) มีพยัญชนะไม่เกินสิบพยัญชนะ เว้นแต่กรณีใช้ราชทินนามเป็นชื่อสกุล
การปฏิบัติงานทะเบียนชื่อสกุล ๒. หลักเกณฑ์ ๖) ไม่ต้องห้าม ประกาศห้ามมิให้ผู้ที่ได้รับพระราชทานนามสกุล ใช้ ณ นำชื่อสกุล ฯ ๗) ไม่ต้องห้าม ประกาศเพิ่มเครื่องหมายนามสกุลสำหรับราชตระกูลฯ ๘) ไม่ต้องห้าม ประกาศห้ามมิให้เอานามพระมหานคร และไม่ให้เอาศัพท์ที่ใช้เป็นพระบรมนามาภิไธยมาใช้เป็นนามสกุลฯ
การปฏิบัติงานทะเบียนชื่อสกุล ค่าธรรมเนียม กฎกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ การจดทะเบียนตั้งชื่อสกุล ฉบับละ ๑๐๐ บาท การเปลี่ยนชื่อสกุลครั้งแรกเมื่อจดทะเบียนสมรส ไม่เสียค่าธรรมเนียม การเปลี่ยนชื่อสกุลเพราะการสมรสสิ้นสุด ไม่เสียค่าธรรมเนียม การเปลี่ยนชื่อสกุลภายหลังการจดทะเบียนสมรสครั้งต่อๆ ไปฉบับละ ๕๐ บาท การเปลี่ยนชื่อสกุลเพราะเหตุอื่น เช่น การร่วมใช้ชื่อสกุลการจดทะเบียนรับรองบุตร ฯลฯ ฉบับละ ๑๐๐ บาท
งานทะเบียนครอบครัว ๑.ทะเบียนการสมรส ๒.ทะเบียนการหย่า มี ๗ ประเภท คือ ๑.ทะเบียนการสมรส ๒.ทะเบียนการหย่า ๓.ทะเบียนการรับรองบุตร ๔.ทะเบียนการรับบุตรบุญธรรม ๕.ทะเบียนการเลิกรับบุตรบุญธรรม ๖.การบันทึกฐานะของภริยา ๗.การบันทึกฐานะแห่งครอบครัว
แบบพิมพ์ คร. ๒ ทะเบียนสมรส คร. ๓ ใบสำคัญการสมรส คร. ๑ คำร้อง คร. ๑ คำร้อง คร. ๒ ทะเบียนสมรส คร. ๓ ใบสำคัญการสมรส คร. ๖ ทะเบียนหย่า คร. ๗ ใบสำคัญการหย่า คร.๑๑ ทะเบียนรับรองบุตร คร. ๑๔ ทะเบียนรับบุตรบุญธรรม คร. ๑๗ ทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม คร. ๒๐ ทะเบียนฐานะภริยา คร. ๒๒ ทะเบียนฐานะครอบครัว คร. ๓๑ ใบบันทึกต่อ
เงื่อนไขการสมรส ตาม ป.พ.พ. ๑. อายุ ๑๗ (๑๔๔๘) วิกลจริต (๑๔๔๙) ญาติสืบสายโลหิต (๑๔๕๐) บุตรบุญธรรม (๑๔๕๑) มีคู่สมรสอยู่ (๑๔๕๒) ๖. หญิงสิ้นสุดการสมรส / ๓๑๐ วัน (๑๔๕๓) ผู้เยาว์ (๑๔๕๔) (๑๗-๒๐) จดทะเบียน (๑๔๕๗) ยินยอมเป็นสามีภริยา (๑๔๕๘) (๑-๖)
๑. ชายและหญิงมีอายุ ๑๗ ปีบริบูรณ์ การสมรส ๑. ชายและหญิงมีอายุ ๑๗ ปีบริบูรณ์ ฎีกาที่ ๑๕๗ / ๒๕๒๔ , ฎีกาที่ ๓๗๒๕ / ๒๕๓๒ ฎีกาที่ ๒๔๒๙ / ๒๕๔๑ ๒. ชายหรือหญิงไม่เป็นบุคคลวิกลจริตฯ ฎีกาที่ ๔๙๐ / ๒๕๐๙ ฎีกาที่ ๑๕๕๒ / ๒๕๐๔ ๓. ชายหญิงซึ่งเป็นญาติสืบสายโลหิตฯ หนังสือคำอธิบายกฎหมายครอบครัว
๔. ผู้รับบุตรบุญธรรมจะทำการสมรสกับบุตรบุญธรรมไม่ได้ ๕. ชายหรือหญิงจะทำการสมรสในขณะที่ตนมีคู่สมรสอยู่ไม่ได้ ฎีกาที่ ๔๙๘๑/๒๕๔๑ (มีคู่สมรสอยู่แล้ว) ฎีกาที่ ๕๙๔ / ๒๕๐๖ (กฎหมายลักษณะผัวเมีย ) ฎีกาที่ ๖๗๘๘/๒๕๔๑ (คู่สมรสตายที่หลัง) ฎีกาที่ ๖๐๕๑/๒๕๔๐ (จดที่อเมริกา)
๖. หญิงที่สามีตายหรือการสมรสสิ้นสุดลงด้วยประการอื่น ต้องผ่านพ้นไปแล้วไม่น้อยกว่า ๓๑๐ วัน เว้นแต่ ๖.๑ คลอดบุตรแล้ว ๖.๒ สมรสกับคู่สมรสเดิม ๖.๓ มีใบรับรองแพทย์ ว่ามิได้มีครรภ์ ๖.๔ มีคำสั่งของศาลให้สมรสได้
๗. ผู้เยาว์จะทำการสมรส ๗.๑ ต้องได้รับความยินยอม ๗.๑ ต้องได้รับความยินยอม ๗.๒ วิธีการให้ความยินยอม มี ๓ วิธี ๑. ลงลายมือชื่อในขณะจดทะเบียนสมรส ๒. ทำเป็นหนังสือแสดงความยินยอม ๓. วาจาต่อหน้าพยาน อย่างน้อย ๒ คน (กรณีเหตุจำเป็น)
๘. จดทะเบียนตามกฎหมาย ฎีกาที่ ๑๔๙๘/๒๕๒๒ (ไม่ได้จด) การสมรส ๘. จดทะเบียนตามกฎหมาย ฎีกาที่ ๑๔๙๘/๒๕๒๒ (ไม่ได้จด) ฎีกาที่ ๔๕/๒๕๒๔ (จดที่จีน) ฎีกาที่ ๒๖๑๖/๒๕๔๓ (ตราสิงห์) ฎีกาที่ ๒๕๑๐/๒๕๔๕ (๒๐ ล้าน)
นายทะเบียนบันทึกความยินยอม การสมรส ๙. ยินยอมเป็นสามีภริยา ต่อหน้านายทะเบียน นายทะเบียนบันทึกความยินยอม ฎีกาที่ ๑๐๖๗/๒๕๔๕ ฎีกาที่ ๑๑๒๗/๒๕๓๖
( ม.๑๕๐๑) การหย่า การสิ้นสุดการสมรส มี ๓ สาเหตุ ๑) ความตาย ๒) การหย่า ๓) หรือศาลพิพากษาให้เพิกถอน ( ม.๑๕๐๑)
( ม.๑๕๑๔) การหย่า วิธีการหย่า มี ๒ วิธี คือ โดยความยินยอมของทั้งสองฝ่าย โดยคำพิพากษาของศาล ( ม.๑๕๑๔)
บุตรชอบด้วยกฎหมาย ต่อเมื่อ ทะเบียนรับรองบุตร บุตรชอบด้วยกฎหมาย ต่อเมื่อ ๑. บิดามารดาได้สมรสกันในภายหลัง ๒. บิดาได้จดทะเบียนว่าเป็นบุตร ๓. ศาลพิพากษาว่าเป็นบุตร
การรับบุตรบุญธรรม มี ๒ กรณี ทะเบียนรับบุตรบุญธรรม ป.พ.พ. บรรพ ๕ มาตรา ๑๕๙๘/๑๙ ถึง ๑๕๙๘/๓๒ พ.ร.บ. การรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม พ.ศ. ๒๕๒๒ การรับบุตรบุญธรรม มี ๒ กรณี ๑. บรรลุนิติภาวะ ๒. ผู้เยาว์ (พม.)
หลักเกณฑ์การจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม ๑. บุตรบุญธรรมบรรลุนิติภาวะแล้ว จะเลิกโดยความตกลงกันระหว่างผู้รับบุตรบุญธรรมเมื่อใดก็ได้ ๒. บุตรบุญธรรมยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต้องได้รับความยินยอมจากบิดามารดาของบุตรบุญธรรมก่อน หรือศาลมีคำสั่งให้เลิกรับบุตรบุญธรรม (ม. ๑๕๙๘/๓๑)
การบันทึกฐานะของภริยา เป็นผลสืบเนื่องจากกฎหมายลักษณะผัวเมีย มิได้บังคับให้สามีภรรยาต้องจดทะเบียนสมรสกัน และชายอาจมีภรรยาโดยชอบด้วยกฎหมายหลายคน หลักเกณฑ์การบันทึกฐานะของภรรยา มีดังนี้ - ต้องเป็นสามีภรรยา และสมรสก่อนการใช้ ป.พ.พ. บรรพ ๕ คือ ก่อน ๑ ต.ค. ๒๔๗๘ บันทึกได้ ๒ ฐานะเท่านั้นคือ เอกภริยา บันทึกได้เพียงคนเดียว อนุภริยา บันทึกได้หลายคน รับบันทึกเฉพาะสามีภรรยาที่มาร้องขอให้บันทึก ภรรยาอื่นที่ไม่ได้ร้องขอจะไม่บันทึก
การบันทึกฐานะแห่งครอบครัว การใด ๆ อันเกี่ยวกับฐานะแห่งครอบครัวที่ได้ทำขึ้นในต่างประเทศ ตามแบบซึ่งกฎหมายแห่งประเทศที่ทำขึ้นนั้นบัญญัติไว้ นำหลักฐานมาบันทึก ให้ปรากฏในประเทศไทย เพื่อเป็นหลักฐานในการพิสูจน์ ต้องนำเอกสารอันเป็นหลักฐานแห่งการนั้น ซึ่งแปลเป็นภาษาไทย และมีคำรับรองถูกต้องมาแสดงต่อนายทะเบียน
ส่วนการทะเบียนทั่วไป สำนักบริหารการทะเบียน นายสุโสฬส พึ่งบุญ ส่วนการทะเบียนทั่วไป สำนักบริหารการทะเบียน โชคดี ขอบคุณครับ โทร. ๐๖๓-๙๐๑-๒๘๕๓ ๐๒-๗๙๑-๗๐๒๕ Susorot.p@gmail.com