Multistage Cluster Sampling

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
Advertisements

ชิ้นงานที่ 2 ณัฐนันท์ สัญวงษ์. ต่อ คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการ ออกแบบสถานการณ์หรือปัญหา ซับซ้อนต่างๆ คอมพิวเตอร์เป็น อุปกรณ์หลักที่ใช้ในการ ติดต่อสื่อสารของโลกปัจจุบัน.
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การสุ่มตัวอย่าง สส ระเบียบวิจัยการสื่อสาร สื่อสารประยุกต์ ภาคพิเศษ
IP-Addressing and Subneting
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
IP-Addressing and Subneting
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
วิชา ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology บทที่ 4 ประชาการและการสุ่มตัวอย่าง อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
การบริหารโครงการ Project Management
สถิติที่ใช้ในงาน การวิจัยเชิงปริมาณ
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
ระดับความเสี่ยง (QQR)
วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ดร.เตือนใจ ดลประสิทธิ์
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
สถิติเพื่อการวิจัยและ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
บทที่ 11 สถิติเชิงสรุปอ้างอิง
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ผศ.ดร. รัชนี มุขแจ้ง คณะบริหารธุริจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
กลุ่มเกษตรกร.
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การสำรวจตามกลุ่มอายุ สำนักทันตสาธารสุข
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
โดย นายอนุชา ศรีเริงหล้า นักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ
สถิติเพื่อการวิจัยทางการเกษตร STATISTICS FOR AGRICULTURAL RESEARCH
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
Kerlinger (๑๙๘๘) กล่าวว่า การวิจัย เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสวงหาความรู้ ความจริง ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ ตรวจสอบได้ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่างๆ ในสังคมด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
วิธีการสุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มตัวอย่างมี 2 วิธี
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
บทสรุป ความหมายของ Query ความหมายของ Query
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
เรื่อง การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
Introduction to Public Administration Research Method
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
ประชากรและการสุ่มตัวอย่าง
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตภาคใต้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Multistage Cluster Sampling การสุ่มตัวอย่างแบบจัดกลุ่มตามลำดับชั้น Multistage Cluster Sampling

อัญ ตาล อุ๊ย นินี เกด ซุป Group 6th อัญ ตาล อุ๊ย นินี เกด ซุป

Agenda การสุ่มตัวอย่างแบบจัดกลุ่มตามลำดับชั้น (Multistage Cluster Sampling) Sampling and Type of Sampling Definition of Multistage Cluster Sampling The Multistage Cluster Sampling Sample Multistage Cluster Sampling Pros & Cons Reference Q&A

What is the Sampling? การสุ่มตัวอย่างคืออะไร

Non-Probability Sampling การสุ่มตัวอย่างโดย ไม่อาศัยหลักความน่าจะเป็น Probability Sampling การสุ่มตัวอย่างโดย อาศัยหลักความน่าจะเป็น คำนึงถึงความน่าจะเป็นของแต่ละหน่วยประชากรที่จะได้รับการเลือก ประเภทของการสุ่มตัวอย่าง สามารถแบ่งได้เป็นสองประเภทใหญ่ๆ คือ 1 การสุ่มตัวอย่างโดยอาศัยหลักความน่าจะเป็น (probability sampling) และ 2 การสุ่มตัวอย่างโดยไม่อาศัยหลักความน่าจะเป็น (non-probability sampling) การสุ่มตัวอย่างโดยอาศัยหลักความน่าจะเป็น (Probability Sampling) เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยคำนึงถึงความน่าจะเป็นของแต่ละหน่วยประชากรที่จะได้รับการเลือก ซึ่งจะเป็นไปในรูปแบบการสุ่มไม่เฉพาะเจาะจง โดยมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้ 1.รู้จำนวนประชากรทั้งหมด 2.ประชากรทั้งหมดมีโอกาสที่จะถูกสุ่มตัวอย่างเท่าเทียมกัน 3.วิธีการสุ่มที่เหมาะสม เพื่อให้หน่วยตัวอย่างมีโอกาสถูกสุ่มเท่าเทียมกัน 4.ใช้วิธีประมาณค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสม ในรูปแบบการสุ่มไม่เฉพาะเจาะจง

ประเภทของการสุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ (Systematic random sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) การวิธีสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบจัดกลุ่มตามลำดับชั้น (Multistage Cluster sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบอาศัยความน่าจะป็น เป็นวิธีที่นิยมมาก เพราะมีความน่าเชื่อถือ การสุ่มตัวอย่างแบบนี้มีหลายวิธี สามารถแบ่งเป็นประเภทต่างๆได้ดังนี้คือ การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ (Systematic random sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) การวิธีสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบจัดกลุ่มตามลำดับชั้น (Multi-stage sampling)

Multistage Cluster Sampling Overview การสุ่มตัวอย่างแบบจัดกลุ่มตามลำดับชั้น หมายถึง เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยแบ่งประชากรออกเป็นพื้นที่ (Location/Geography) โดยไม่จำเป็นต้องทำบัญชีรายชื่อของประชากรเช่นเดียวกันกับการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Sampling) หากแต่ต่างตรงที่ว่าการสุ่มแบบจัดกลุ่มตามลำดับชั้น (Multistage Cluster Sampling) เป็นการเลือกตัวอย่าง (Sample) จากกลุ่มตัวอย่าง(Cluster) ที่ได้แบ่งและเลือกไว้ และไม่ต้องศึกษาทุกหน่วยประชากรในกลุ่มพื้นที่นั้นๆ เป็นการสุ่มตัวอย่างเป็นลำดับชั้นหลายชั้น ที่มากกว่า 2 ระดับขึ้นไป

ภาพตัวอย่างการสุ่มแบบจัดกลุ่มตามลำดับชั้น การสุ่มชั้นแรก เป็นการระบุและเลือกกลุ่มตัวอย่าง(Clusters) กลุ่มตัวอย่างในชั้นนี้จะมีจำนวนประชากรที่มีมากกว่าความจำเป็นในการทำการสุ่มในชั้นสุดท้าย การสุ่มชั้นที่สอง จะเป็นการเลีอกประชากร (population) จากกลุ่มตัวอย่างที่ได้เลือกไว้ในชั้นแรก (Selected Clusters) ซึ่งสามารถใช้วิธีการสุ่มแบบใดก็ได้จากประเภทการสุ่มตัวอย่างที่ใช้หลักความน่าจะเป็น (Probability Sampling) เป็นการสุ่มชั้นสุดท้าย ในกรณีที่มีมากกว่า 2 ชั้น การสุ่มเลือกประชากรจากกลุ่มตัวอย่าง จะดำเนินต่อไปเป็นชั้นๆตามลำดับ จนกระทั่งได้ตัวอย่างในชั้นสุดท้าย

ภาพตัวอย่างการสุ่มแบบจัดกลุ่มตัวอย่างแบบ 5 ชั้น (Five-stages sampling) ขั้นที่ 1 สุ่มจังหวัดของแต่ละภาค จากจังหวัดที่สุ่มได้ ทำการสุ่มขั้นที่ 2 สุ่มอำเภอ จากอำเภอที่สุ่มได้ ทำการสุ่มขั้นที่ 3 สุ่มตำบล จากตำบลที่สุ่มได้ ทำการสุ่มขั้นที่ 4 สุ่มหมู่บ้าน จากหมู่บ้านที่สุ่มได้ ทำการสุ่มครั้งที่ 5 สุ่มเกษตรกร เช่นสุ่มเกษตรจำนวน 20 คน จากทุกหมู่บ้านที่สุ่มได้ ดังนั้น จากตัวอย่างนี้ จะได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างเกษตรกรทั้งประเทศจำนวน 4 (จังหวัด) * 2 (อำเภอ) * 2 (ตำบล) * 2 (หมู่บ้าน) * 20 = 640 คน เป็นต้น

Multistage Cluster Sampling Pros & Cons ใช้ได้ดีกับประชากรขนาดใหญ่ที่แบ่งเป็นลำดับชั้นลดหลั่น สามารถประมาณค่าพารามิเตอร์ตามลำดับชั้นจนเป็นภาพรวมได้ ลดความลำเอียง อคติในการสุ่มเลือกประชากร Cons มีค่าใช้จ่ายสูงในการติดตามกลุ่มตัวอย่างที่อยู่อย่างกระจัดกระจาย การประมาณค่าพารามิเตอร์จะสลับซับซ้อนถ้ามีจำนวนชั้นของการสุ่มมาก ค่าพารามิเตอร์  หมายถึง  ค่าต่างๆที่คำนวณมาจากกลุ่มประชากร  จะถือเป็นค่าคงตัว  กล่าวคือ  คำนวณกี่ครั้งๆก็จะไม่เปลี่ยนแปลง

Reference (ข้อมูลอ้างอิง) หนังสือสถิติประยุกต์สำหรับการวิจัย (Applied Statistics To Behavioral Research) , รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี หน้า 123 –131 เอมอร จังศิริพรปกรณ์, 2554 กลุ่มตัวอย่าง. [Online] Available: http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~jaimorn/re5.htm Statistics Canada, 2009 Probability sampling [Online] Available: http://www.statcan.gc.ca/edu/power-pouvoir/ch13/prob/5214899-eng.htm

Q & A