การวิเคราะห์ซอฟต์แวร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับ Conceptual
Advertisements

คำอธิบายรายวิชา ระบบธุรกิจ วัฏจักรของการพัฒนาระบบงาน ระเบียบ วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ ผังงานระบบ ตารางและการตัดสินใจ การศึกษาความเป็นไปได้ของระบบการวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการลงทุนในการพัฒนา.
วงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
(Material Requirement Planning)
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
Object-Oriented Analysis and Design
UML Diagrams Functional Model Seree Chinodom
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
Business Modeling (บางส่วนอ้างอิงจาก ดร.อดิศร ณ อุบล)
Object-Oriented Analysis and Design
บทที่ 5 การจำลองแบบเชิงวัตถุ Object Modeling
Object-Oriented System Analysis and Design
UML มหาวิทยาลัยเนชั่น Unified Model Language บุรินทร์ รุจจนพันธุ์ .
Systems Analysis and Design
ข้อสังเกตและข้อผิดพลาด ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
บทที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
ความสัมพันธ์ระหว่างคลาส (Class Relationship)
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
วิชาวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ Lec08 :: Behavioral Modeling with UML Behavioral Diagrams Interaction Diagrams Nattapong Songneam
การพัฒนาระบบงานโดยเทคนิคเชิงโครงสร้าง
Course outline Software Architecture and Design
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับงานทะเบียนบุคคลและการจ่ายเงินเดือน (Information Technology for Personal Record and Payroll) - การพัฒนาระบบสารสนเทศ.
Sequence Diagram Communication Diagram
Activity Diagram Wattanapong suttapak, Software Engineering,
school of Information communication Tecnology,
บทที่ 5 แบบจำลองระบบ System Model.
Modeling and Activity Diagram
Unified Modeling Language
วิชา การวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ รหัส
State Diagram Wattanapong suttapak, Software Engineering,
Wattanapong suttapak, Software Engineering, school of Information communication Tecnology, university of phayao เกณฑ์การนำเสนอ และเกณฑ์การให้ คะแนน ครั้งที่
Database Management System
อาจารย์ วิทูร ธรรมธัชอารี. เนื้อหาในการเรียน  เครื่องมือในการออกแบบและพัฒนาระบบ บัญชีด้วยคอมพิวเตอร์  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล  การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์
ว่าที่ ร.ต.หญิงวรรณธิดา วรสุทธิพงษ์ ครูแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
Information Systems Development
Object Oriented Software Analysis and Design
Object Oriented Development with UML
Database Planning, Design, and Administration
บทที่ 14 กลวิธีการทดสอบซอฟต์แวร์ (TESTING STRATEGIES)
บทที่ 5 แบบจำลองกระบวนการ
2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
บทที่ 9 วิศวกรรมการออกแบบ (Design Engineering)
Information System Development
การสร้างเว็บไซด์อีคอมเมิร์ซ
โดย อ.พัฒนพงษ์ โพธิปัสสา
บทที่ 5 ความต้องการ วิศวกรรมความต้องการ แบบจําลองการวิเคราะห์
การวิเคราะห์ระบบงาน ขั้นตอนวิเคราะห์ จะเริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์ระบบงาน
บทนำ แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) เป็นการออกแบบที่แสดงตรรกะของกระบวนการทำงาน โดยมีการวาดแผนผังออกมา คล้ายกับการสร้างบ้าน ที่ต้องมีแปลน ภายนอก.
พื้นฐานการวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุด้วย UML
Chapter 6 Information System Development
(Smart Strategy Praboromarajchanok Institute: SSPI)
for Display Antique and Art Object Information
Class Diagram.
UML (Unified Modeling Language)
Object-Oriented System Analysis and Design using UML
Development Strategies
Object-Oriented Analysis and Design
5 แบบจำลองกระบวนการ Process Modeling
วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
บทที่ 5 การจำลองข้อมูลเชิงวัตถุ (Object-Oriented Modeling)
5. ข้อกำหนดความต้องการซอฟต์แวร์ (Software Requirements Specification)
DFD Data Flow Diagram Terminator Process Process Store Store
บทที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
Analysis Model & Object Oriented Analysis
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
ขั้นตอน ที่ 2 การวิเคราะห์ระบบ
Introduction to Structured System Analysis and Design
Class Diagram.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ซอฟต์แวร์ บทที่ 6 การวิเคราะห์ซอฟต์แวร์

วัตถุประสงค์ เพื่อทำความรู้จักกับการวิเคราะห์ซอฟต์แวร์ เพื่อศึกษาแบบจำลองความต้องการในรูปแบบต่าง ๆ

บทนำ การวิเคราะห์ซอฟต์แวร์ นักวิเคราะห์ระบบจะสร้างแบบจำลอง เพื่อให้ทีมนักพัฒนาซอฟต์แวร์มีความเข้าใจตรงกันกับลูกค้าหรือผู้ใช้ แบบจำลอง คือ สัญลักษณ์ที่ใช้จำลองข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในระบบ ประกอบด้วย แผนภาพต่าง ๆ แบบจำลองเป็นเครื่อง แบบจำลองสะท้อนให้เห็นถึงความต้องการระบบอย่างชัดเจนว่าทำหน้าที่อะไร

การวิเคราะห์ซอฟต์แวร์ จุดประสงค์หลักของการวิเคราะห์ซอฟต์แวร์ คือ เพื่อให้นักพัฒนาซอฟต์แวร์เข้าใจความต้องการของลูกค้าหรือผู้ใช้ตรงกัน และ เป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการออกแบบซอฟต์แวร์

แบบจำลองความต้องการ (Requirements Model) แบบจำลองการวิเคราะห์ (Analysis Model) คือ แบบจำลองที่เขียนขึ้นมาจากข้อกำหนดความต้องการซอฟต์แวร์หรือคำอธิบายระบบ สะท้อนให้เห็นถึงฟังก์ชันการทำงานของซอฟต์แวร์และจะนำไปสร้างแบบจำลองการออกแบบ

แบบจำลองความต้องการ (Requirements Model) ความสัมพันธ์ระหว่างคำอธิบายระบบ แบบจำลองการวิเคราะห์และแบบจำลองการออกแบบ System Description Analysis Model Design Model

แบบจำลองเชิงโครงสร้าง คือ แบบจำลองที่ใช้อธิบายข้อมูลและฟังก์ชันการทำงาน ประกอบด้วย แบบจำลองข้อมูล (Data Model) แบบจำลองกระบวนการ (Process Model)

แบบจำลองการวิเคราะห์เชิงวัตถุ (Object-Oriented Analysis Model) คือ การมองปัญหาในลักษณะโครงสร้างข้อมูลตามลำดับชั้น มุ่งเน้นการนิยมคลาส และการทำงานร่วมกันของคลาส Flow Model e.g., Data Flow Diagram Behavioral Model e.g., State Diagram Sequence Diagram Collaboration Diagram Data and Class Model e.g., ER Diagram Class Diagram Scenario-Based Model e.g., Use Case Diagram Activity Diagram Swimlane Diagram Software Requirement

แบบจำลองเชิงฉากบรรยาย Scenario-Based Model แผนภาพที่อธิบายฟังก์ชันและขั้นตอนการทำงานของซอฟต์แวร์ เช่น แผนภาพยูสเคส (Use Case Diagram) แผนภาพกิจกรรม (Activity Diagram) แผนภาพสวิมเลน (Swimlane Diagram)

แบบจำลองข้อมูล (Data Model) แบบจำลองที่ใช้สำหรับอธิบายข้อมูลและโดเมนของปัญหาเพื่อนำเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับโครงสร้างและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลให้อยู่ในรูปที่เป็นมาตรฐานแบบจำลองข้อมูล แบ่งเป็น 3 ส่วน วัตถุข้อมูล ลักษณะประจำ ความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุข้อมูล

แบบจำลองคลาส (Class Model) เป็นแผนภาพที่อธิบายข้อมูลต่าง ๆ ประกอบด้วย ชื่อคลาส ลักษณะประจำ และการดำเนินการ (Operation) รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างคลาสต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นระบบ Class Name Attributes Operations Attributes Operations

ความสัมพันธ์ระหว่างคลาส 5 ประเภท ความสัมพันธ์แบบ Association ความสัมพันธ์แบบ Composition ความสัมพันธ์แบบ Aggregation ความสัมพันธ์แบบ Dependency ความสัมพันธ์แบบ Generalization

แบบจำลองการไหล แบ่งเป็น 2 ประเภท แผนภาพการไหลของข้อมูลเชิงตรรกะ (Logical DFD) ใช้แสดงกระบวนการของระบบในระดับแนวคิด (Conceptual Level) ไม่ลงลึกในรายละเอียดและไม่ใช้ศัพท์ทางเทคนิคมากนัก แผนภาพการไหลของข้อมูลเชิงตรรกะใช้ในขั้นตอนของการวิเคราะห์ความต้องการ แผนภาพการไหลของข้อมูลเชิงกายภาพ (Physical DFD) ใช้แสดงรายละเอียดภายในกระบวนการ ได้แก่ ชื่อกระบวนการ วิธีการทำงาน ต้นทางและปลายทาง แผนภาพการไหลของข้อมูลเชิงกายภาพใช้ในขั้นตอนของการออกแบบซอฟต์แวร์

สัญลักษณ์ของแผนภาพการไหลข้อมูล

ตัวอย่างการไหลของข้อมูลนำเข้าและข้อมูลส่งออก

แผนภาพการไหลของข้อมูลระดับ 0 หรือ แผนภาพบริบท (Context Diagram)

แบบจำลองพฤติกรรม (Behavioral Model) แผนภาพที่แสดงให้เห็นถึงกิจกรรมและพฤติกรรมของระบบที่มีการเปลี่ยนแปลง เมื่อมีเหตุการณ์เกิดขึ้น รวมทั้งแสดงให้เห็นความสามารถของระบบที่ดำเนินการในบางหน้าที่ได้ แผนภาพสถานะ แผนภาพลำดับ แผนภาพ Collaboration

แผนภาพสถานะ (State Diagram) State Name State Variables State Activities Initial State Event Trigger/Action State Name State Variables State Activities Initial State Self Transition Final State

แผนภาพลำดับ (Sequence Diagram) แสดงลำดับการทำงานของระบบ โดยมีออบเจ็กต์และเวลาเป็นตัวกำหนดลำดับก่อนหลังของงาน

แผนภาพ Collaboration แสดงลำดับการทำงานของวัตถุ ผู้เกี่ยวข้อง และกิจกรรม โดยลำดับการทำงานไม่ขึ้นกับเวลา แต่สามารถแสดงลำดับก่อนหลังได้ รวมทั้งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแอกเตอร์หรือออบเจ็กต์ ซึ่งสามารถส่งข่าวสารระหว่างออบเจ็กต์ต่าง ๆ ได้

แผนภาพ Collaboration แอกเตอร์ (Actor) เป็นผู้กำหนดสถานะเริ่มต้นการทำงาน ออบเจ็กต์หรือคลาส (Object: Class) เป็นการระบุชื่อออบเจ็กต์หรือชื่อคลาส ข่าวสาร (Message) เป็นข้อมูลที่ใช้สื่อสารระหว่างออบเจ็กต์หรือคลาส Association เป็นการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างออบเจ็กต์หรือคลาส

แผนภาพ Collaboration สำหรับฟังก์ชันการสั่งซื้อสินค้า

คำถามท้ายบท การวิเคราะห์ซอฟต์แวร์คืออะไร และมีความสำคัญอย่างไร อธิบายความแตกต่างระหว่างแบบจำลองข้อมูลและแบบจำลองกระบวนการ แผนภาพยูสเคสคืออะไร สำคัญอย่างไร แบบจำลองข้อมูลคืออะไร และมีความสำคัญอย่างไร