งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

UML มหาวิทยาลัยเนชั่น Unified Model Language บุรินทร์ รุจจนพันธุ์ .

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "UML มหาวิทยาลัยเนชั่น Unified Model Language บุรินทร์ รุจจนพันธุ์ ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 UML มหาวิทยาลัยเนชั่น Unified Model Language บุรินทร์ รุจจนพันธุ์ .
บุรินทร์ รุจจนพันธุ์ . ปรับปรุง 6 มิถุนายน

2 ความหมาย UML (Unified Modeling Language) เป็นเครื่องมือใหม่ที่ได้รับการยอมรับเพิ่มขึ้น ตลอดเวลา เริ่มประยุกต์ใช้กับระบบงาน มากขึ้น เพราะเป็นเครื่องมือที่มีความ หลากหลายในการแสดงแบบซอฟต์แวร์ เป็นโมเดลมาตรฐานที่ใช้หลักการออกแบบ OOP (Object Oriented Programming) รูปแบบของภาษามี Notation เป็น สัญลักษณ์สำหรับสื่อความหมาย มี กฎระเบียบที่มีความหมายต่อการเขียน โปรแกรม (Coding) ดังนั้นการใช้ UML จะต้องทราบความหมายของ Notation เช่น generalize, association, dependency, class และ package สิ่งเหล่านี้มีความ จำเป็นต่อการตีความการออกแบบ ก่อน นำไป Implement ระบบงานจริง

3 Meaning The UML is a complete language that is used to design, visualize, construct and document systems. It is largely based on the object- oriented paradigm and is an essential tool for developing robust and maintainable software systems. ข้อมูลจาก

4 ประวัติของ UML จาก 3 ท่าน
3 นักพัฒนาที่ทำงานใน Rational Rose Corporation 1. Grady Booch ซึ่งเป็นผู้นำแนวคิดแบบ Booch method ซึ่งเป็นวิธีการที่มีชื่อเสียงมาก มี Diagram จำนวนมากสำหรับใช้งาน แต่มีข้อเสียคือมีมากเกินความจำเป็น และยุ่งยากมากในการวาด digram ด้วยมือ แนวความคิดของ Booch จะทำการวิเคราะห์ทั้งแบบ Micro และ Micro Development และอยู่บนพื้นฐานของการพัฒนาระบบงานแบบ Iteration and Incremental Process 2. Jame Rumbaugh Object modeling Techniques(OMT) แนวความคิดนี้ถูกพัฒนาขึ้นที่ General Eletric ซึ่งเป็นที่ทำงานเดิมของ Jame Rumbaugh ประกอบด้วยโมเดลจำนวนมาก ครอบคลุมถึง Object Model, Dynamic Model, Functional Model, Use-case Model 3. Ivar Jacobson Object Oriented Software Engineer(OOSE) เป็นรูปแบบวิธีการทำงานที่เน้น Requirement ด้วย มีพื้นฐานการทำงานอยู่บน Use-Case Model ซึ่ง Use-Case Model นี้ จะถูกใช้ตลอดทุกระยะในการพัฒนาระบบงาน

5 ประโยชน์ของ UML ประโยชน์ของยูเอ็มแอล (UML Advantage) วงจรการพัฒนาที่สั้นที่สุด (Shortest Development life cycle) เพิ่มผลผลิต (Increase productivity) ปรับปรุงคุณภาพซอฟต์แวร์ (Improve software quality) สนับสนุนระบบสืบทอดมรดก (Support legacy system) ปรับปรุงการเชื่อมต่อทีมงาน (Improve team connectivity)

6 UML ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก
คือ Things, Relationships และ Diagrams 1. Things 4 ประเภท คือ Structural things, Behavioral things, Group things และ Annotational things Relationships 3 ประเภท คือ Meaning, Structural และ Generalized/Specialized Diagrams 6 ประเภท คือ Use case, Static strucure, Interaction, State, Activity และ Implementation

7 1.1 Structural things 1.1.1 Logical things 1.1.2 Physical things
วัตถุเชิงโครงสร้าง เป็นส่วนประกอบหลัก ของไดอะแกรมต่าง ๆ 1.1.1 Logical things เช่น class, interface, collaboration, use case, active class 1.1.2 Physical things เช่น component และ node

8 1.1.1 Logical things Class

9 1.1.2 Physical things

10 1.2 Behavioral things 1. Interaction 2. State machine
วัตถุแสดงพฤติกรรม 1. Interaction กริยาของข่าวสารระหว่างวัตถุ ลักษณะ : เส้นตรงที่มีลูกศรหัวดำ 2. State machine สถานะของลำดับ และวัตถุ ลักษณะ : สี่เหลี่ยมที่ทุกมุมมีลักษณะโค้งมน

11 1.3 Group things Package แสดงกลุ่มของวัตถุ
ลักษณะ : สี่เหลี่ยม 2 รูปวางต่อกันอยู่ แต่สี่เหลี่ยมด้านบน ซ้ายจะขนาดเล็กกว่า

12 1.4 Annotational things Annotation แสดงการอธิบายเพิ่มเติมหรือหมายเหตุ
ลักษณะ : สี่เหลี่ยมที่พับลงมุมที่มุมบนขวา

13 2.1 Meaning 1. Dependency 2. Realization
เส้นแสดงความสัมพันธ์เชิงความหมาย 1. Dependency เส้นแสดงความสัมพันธ์ต่อการเปลี่ยนแปลงที่ขึ้น ต่อกัน (Change to one thing will affect the other) ลักษณะเส้น : เส้นประที่ลูกศรไม่ปิดฐานศร 2. Realization ความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุเชิงอ้างอิงความหมาย (A specification of a constract between two entities) ลักษณะเส้น : เส้นประที่ลูกศรและปิดฐานศร

14 2.2 Structural Association
แสดงความสัมพันธ์อาจเป็นแบบ one to many หรือ one to one (Set of links between objects) ลักษณะเส้น : มี สัญลักษณ์ 0..1 หรือ 0..* ที่ปลายเส้น และมีหัวลูกศรแสดง ทิศทาง ข้อมูลจาก

15 2.3 Generalized/Specialized
ความสัมพันธ์เชิงสืบทอด (Used for inheritance) ลักษณะเส้น : เส้นที่ลูกศรและเป็นลูกศรหัวโปร่ง ข้อมูลจาก

16 3.1 Use Case Diagram แสดงความสัมพันธ์ระหว่างระบบย่อย หรือ กิจกรรม กับผู้เกี่ยวข้อง The use case diagrams describe system functionality as a set of tasks that the system must carry out and actors who interact with the system to complete the tasks. ข้อมูลจาก

17 3.2 Class Diagram แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคลาส
The class diagram is core to object- oriented design. It describes the types of objects in the system and the static relationships between them.

18 3.3 Object Diagram แสดงความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุ

19 3.4 Sequence Diagram แสดงลำดับการทำงาน ตามเวลา
แสดงลำดับการทำงาน ตามเวลา Sequence diagrams belong to a group of UML diagrams called Interaction Diagrams. Sequence diagrams describe how objects interact over the course of time through an exchange of messages. A single sequence diagram often represents the flow of events for a single use case.

20 3.5 Collaboration Diagram
แสดงลำดับการทำงาน ซึ่งไม่มีความสัมพันธ์เกี่ยวกับเวลา Collaboration diagrams belong to a group of UML diagrams called Interaction Diagrams. Collaboration diagrams, like Sequence Diagrams, show how objects interact over the course of time. However, instead of showing the sequence of events by the layout on the diagram, collaboration diagrams show the sequence by numbering the messages on the diagram. This makes it easier to show how the objects are linked together, but harder to see the sequence at a glance.

21 3.6 State Diagram แสดงสถานะของวัตถุ
เช่น New, Ready, Running, Blocked, Halted State diagrams show the dynamic behaviour of a system. The diagram shows the various states that an object can get into and the transitions that occur between the states.

22 3.7 Activity Diagram แสดงการไหลของ กิจกรรม (Workflow)
Activity diagrams are a variation of state diagrams which show the sequence of activity states (states that are doing something). The diagram can show conditional and parallel behaviour.

23 3.8 Component Diagram แสดงโครงสร้างทางกายภาพของซอฟต์แวร์
เช่น การเชื่อมต่อของห้องเก็บภาพ โปรแกรมย่อย จากภายนอก Component diagrams show how the physical components of a system are organized. A component is a distributable unit of software. The component diagram allows you to combine deployment nodes with components to show which components run on each node (i.e. hardware).

24 3.9 Deployment Diagram A deployment diagram serves to
แสดงระบบสถาปัตยกรรมของ HW/SW A deployment diagram serves to model the hardware used in system implementations, the components deployed on the hardware, and the associations between those components. ข้อมูลจาก ข้อมูลจาก


ดาวน์โหลด ppt UML มหาวิทยาลัยเนชั่น Unified Model Language บุรินทร์ รุจจนพันธุ์ .

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google