ความตระหนักการจัดการคุณภาพ QUALITY AWARENESS ISO 9001 : 2008
มิติคุณภาพ....... “ผลิตภัณฑ์” มิติคุณภาพ....... “บริการ” สมรรถนะ Performance รูปลักษณะ Feature ความเชื่อถือได้ Reliability ความสอดคล้องกับข้อกำหนด Conformance ความคงทน Durability การบริการ Serviceability สุนทรียภาพ Aesthetics ความปลอดภัย Safety ความสุภาพอ่อนโยน Courtesy การติดต่อสื่อสาร Communication ความยิ้มแย้มเอาใจใส่ เห็นอกเห็นใจลูกค้า Empathy ชื่อเสียง , ความน่าเชื่อถือ Reliability การตอบสนองต่อการให้บริการ Responsiveness ความสามารถในการเข้าถึงการบริการ Access
คุณภาพในนิยามของ ISO 9001 Quality is ability of a set of inherent characteristics of product system or process to fulfill requirement of customers and other interested parties. “ความสามารถต่าง ๆ ของคุณลักษณะที่มีอยู่ในผลิตภัณฑ์ ระบบ หรือ กระบวนการ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า หรือผู้อื่น ที่เกี่ยวข้อง”
ความเข้าใจบางประการเกี่ยวกับ คำว่า “คุณภาพ” ในอดีต ปัจจุบัน คุณภาพต้องมาจากการตรวจสอบ คุณภาพจะต้องเกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตมิใช่จากการตรวจสอบ คุณภาพทำให้ต้นทุนสูง คุณภาพสามารถช่วยลดต้นทุนของเสียได้ คุณภาพกับประสิทธิภาพไปด้วยกันไม่ได้ คุณภาพและประสิทธิภาพเป็นเรื่องเดียวกัน คุณภาพจะเริ่มจากพนักงานระดับล่างเท่านั้น คุณภาพจะต้องเริ่มต้นจากผู้บริหารระดับสูง
วิวัฒนาการด้านการจัดการคุณภาพ Product Quality Inspection Inspection การตรวจสอบคุณภาพ ตรวจหาของเสียเพื่อคัดทิ้ง
วิวัฒนาการด้านการจัดการคุณภาพ Process QC Inspection Product Quality Control QC Quality Control การควบคุมคุณภาพ กำหนดเทคนิค ในกระบวนการเพื่อให้ผลิตภัณฑ์เป็นไป ตามข้อกำหนด ตรวจหา และแยกของเสีย ตรวจดูผลงานผู้อื่น
วิวัฒนาการด้านการจัดการคุณภาพ Quality Process QA QC Inspection Product Quality Control System QA Quality Assurance การประกันคุณภาพ วางแผนล่วงหน้าในการประกันคุณภาพ ประกันคุณภาพทั้งระบบ สามารถตอบสนองความต้องการด้านคุณภาพได้ตามเป้าหมาย
วิวัฒนาการด้านการจัดการคุณภาพ เป็นผู้นำ Continual Improvement Continual Improvement (การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง) ความพึง พอใจของ ผู้มีส่วนร่วม ความมีส่วนร่วมของพนักงาน เหนือ คู่แข่ง ขายได้ QA (การประกันคุณภาพ) กระบวน การ ไม่รอด QC (การควบคุมคุณภาพ) ผลิตภัณฑ์ NO (ไม่มีการควบคุม)
ปัจจัยลูกโซ่ที่ตามมาเมื่อมีงานเสีย ความต้องการซื้อลดลง ต้นทุนสูงขึ้น สินค้าราคาแพงขึ้น งานเสีย การผลิตลดลง ความจำเป็น ต้องลดพนักงาน กำไรลด รายได้ขาดหายไป คุณภาพชีวิตด้อยลง การป้องกันดีที่สุด คือ การมีระบบการจัดการที่ดี
สาเหตุของความบกพร่อง (Defect) ที่ทำให้เกิดของเสีย มีความผันแปรของปัจจัยสำคัญ 4 ตัว Material : วัสดุที่ใช้ Machinery : เครื่องจักรกลที่ใช้ผลิต Method of Work : ความบกพร่องที่เกิดจากการกระทำ Man-Made Error : ความบกพร่องจากการกระทำของบุคคลที่ เกี่ยวข้อง เช่น อ่านสเกลผิดปรับแต่งผิด Environmental : สภาพแวดล้อมในการทำงาน
หลักการจัดการระบบคุณภาพ (Quality Management Principle) องค์กรที่มุ่งเน้นความสำคัญ (Customer focus organization) ผู้นำที่มุ่งมั่น (Leadership) บริหารงานโดยมให้พนักงานทุกคนมีส่วนร่วม (Involvement of people) การเข้าถึงกระบวนการ/การมองอย่างเป็นระบบ (Process Approach) หลักการบริหารเชิงระบบ (System Approach to Management) การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continual Improvement) การตัดสินใจบนพื้นฐานของข้อเท็จจริง (Factual approach to decision making) ความสัมพันธ์กับผู้ส่งมอบ อยู่บนผลประโยชน์ร่วมกัน (Mutually Beneficial supplier relationship) 8 QMP
รูปแบบกระบวนการบริหารงานคุณภาพ ระบบบริหารคุณภาพ การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง Continual Improvement Of the QMS ความรับผิดชอบ ของฝ่ายบริหาร การวัด การวิเคราะห์ การปรับปรุง การบริหาร ทรัพยากร ข้อกำหนดจากลูกค้า ความพึงพอใจของลูกค้า การแปรรูป ผลิตภัณฑ์/ บริการ ปัจจัยนำเข้า ผลที่ได้รับ ผลิตภัณฑ์
โครงสร้างของข้อกำหนด 1. ขอบเขต Scope 2. มาตรฐานอ้างอิง Normative Reference 3. คำศัพท์ และนิยาม Terms and Definitions 4. ระบบบริหารคุณภาพ Quality Management System 5. ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร Management Responsibility 6. การบริหารทรัพยากร Resource Management 7. การผลิต และบริการ Product Realization 8. การวัด วิเคราะห์ และปรับปรุง Measurement Analysis and Improvement
4.2 ข้อกำหนดทั่วไปด้านการเอกสาร ISO 9001 Requirements 4. ระบบบริหารงานคุณภาพ 4.1 ข้อกำหนดทั่วไป 4.2.1 บททั่วไป 4.2.2 คู่มือคุณภาพ 4.2.3 การควบคุมเอกสาร 4.2.4 การควบคุมบันทึก 4.2 ข้อกำหนดทั่วไปด้านการเอกสาร
ISO 9001 Requirements 5. ความรับผิดชอบด้านบริหาร 5.1 ความมุ่งมั่นของฝ่ายบริหาร 5.2 การมุ่งเน้นที่ลูกค้า 5.4.1 เป้าหมายด้านคุณภาพ 5.4.2 การวางแผนระบบบริหารงานคุณภาพ 5.3 นโยบายคุณภาพ 5.5.1 อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ 5.5.2 ผู้แทนฝ่ายบริหาร 5.5.3 การสื่อข้อมูลภายใน 5.4 การวางแผน 5.5 อำนาจ หน้าที่ และการสื่อสาร 5.6.1 บททั่วไป 5.6.2 ข้อมูลสำหรับการทบทวน 5.6.3 ผลจากการทบทวน 5.6 การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
6.4 สภาพแวดล้อมในการทำงาน 6.2.2 ความสามารถ ความตระหนัก และการฝึกอบรม ISO 9001 Requirements 6. การบริหารทรัพยากร 6.1 การจัดสรรทรัพยากร 6.2 ทรัพยากรบุคคล 6.3 สิ่งอำนวยความสะดวก 6.4 สภาพแวดล้อมในการทำงาน 6.2.1 บททั่วไป 6.2.2 ความสามารถ ความตระหนัก และการฝึกอบรม
ยกเว้น ISO 9001 Requirements 7. กระบวนการผลิต ยกเว้น 7. กระบวนการผลิต 7.2.1 การระบุข้อกำหนดที่เกี่ยวกับสินค้า/บริการ 7.2.2 การทบทวนข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับสินค้า/บริการ 7.2.3 การสื่อข้อมูลกับลูกค้า 7.1 การวางแผนกระบวนการผลิต 7.3.1 การวางแผนการออกแบบและการพัฒนา 7.3.2 ปัจจัยในการออกแบบและการพัฒนา 7.3.3 ผลที่ได้จากการออกแบบและการพัฒนา 7.3.4 การทบทวนการออกแบบและการพัฒนา 7.3.5 การทวนสอบการออกแบบและการพัฒนา 7.3.6 การรับรองการออกแบบและการพัฒนา 7.3.7 การควบคุมการเปลี่ยนแปลงการออกแบบและการพัฒนา ยกเว้น 7.2 กระบวนการที่เกี่ยวกับลูกค้า 7.3 การออกแบบและ/หรือ การพัฒนา ยกเว้น 7.4 การจัดซื้อ 7.4.1 กระบวนการจัดซื้อ 7.4.2 ข้อมูลการจัดซื้อ 7.4.3 การทวนสอบสินค้า/บริการที่จัดซื้อ 7.5 การผลิตและการบริการ 7.5.1 การควบคุมการผลิตและบริการ 7.5.2 การรับรองกระบวนการผลิตและบริการ 7.5.3 การชี้บ่งและการสอบกลับ 7.5.4 ทรัพย์สินของลูกค้า 7.5.5 การรักษาสินค้า/บริการ ยกเว้น 7.6 การควบคุมเครื่องมือวัดและอุปกรณ์เฝ้าติดตาม
ISO 9001 Requirements 8. การวัด การวิเคราะห์และการปรับปรุง 8.1.บททั่วไป 8.2.1 ความพึงพอใจของลูกค้า 8.2.2 การตรวจประเมินภายใน 8.2.3 การเฝ้าติดตามและการตรวจวัดกระบวนการ 8.2.4 การเฝ้าติดตามและการตรวจวัดสินค้า/บริการ 8.2 การเฝ้าติดตามและการตรวจวัด 8.3 การควบคุมสินค้า/บริการที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด 8.4 การวิเคราะห์ข้อมูล 8.5.1 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 8.5.2 การปฏิบัติการแก้ไข 8.5.3 การปฏิบัติการป้องกัน 8.5 การปรับปรุง
การนำวงจร PDCA ไปใช้อย่างสัมฤทธิผล วงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle) หรือ PDCA คือ หลักการที่เป็นหัวใจเพื่อที่จะนำไปสู่การดำเนินการแก้ปัญหา ปรับปรุง และพัฒนางานให้สำเร็จลุล่วงไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ คือ Plan : ผู้บริหารกำหนดแผนงานร่วมกับพนักงานทุกระดับ Do : พนักงานนำไปปฏิบัติตามแผนงาน โดยได้รับความช่วยเหลือจากหัวหน้างาน Check : ตรวจสอบเพื่อค้นหาปัญหาข้างเคียงและวิธีแก้ไขที่ เหมาะสมที่สุด Act : กำหนดวิธีแก้ไขเป็นมาตรฐานเพื่อให้พนักงาน นำไปปฏิบัติได้สะดวก P D C A
ความสำคัญของการจัดทำเอกสารเพื่อสร้างมาตรฐาน P D C A P D C A P D C A มาตรฐาน
ประโยชน์ของระบบ ISO9001 1. องค์กร/บริษัท - การจัดองค์กร การบริหารงาน การผลิตตลอดจนการให้บริการมีระบบ และมีประสิทธิภาพ - ผลิตภัณฑ์และบริการ เป็นที่พึงพอใจของลูกค้าหรือผู้รับบริการและได้รับการยอมรับ - ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีแก่องค์กร - ประหยัดค่าใช้จ่ายในระยะยาว
ประโยชน์ของระบบ ISO9001 2. พนักงานภายในองค์กร/บริษัท - มีการทำงานเป็นระบบ - เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน - พนักงานมีจิตสำนึกในเรื่องของคุณภาพมากขึ้น - มีวินัยในการทำงาน - พัฒนาการทำงานเป็นทีมหรือเป็นกลุ่มมีการประสานงานที่ดี และสามารถพัฒนาตนเองตลอดจน เกิดทัศนคติที่ดีต่อการทำงาน
ประโยชน์ของระบบ ISO9001 3. ผู้ซื้อ/ผู้บริโภค - มั่นใจในผลิตภัณฑ์และบริการ ว่ามีคุณภาพตามที่ต้องการ - สะดวกประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายโดยไม่ต้องตรวจสอบคุณภาพซ้ำ - ได้รับการคุ้มครองด้านคุณภาพความปลอดภัยและการใช้งาน
ความตระหนักการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ENVIRONMENT AWARENESS ISO 14001 : 2004
ความหมายสิ่งแวดล้อม “สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือมนุษย์สร้างขึ้น เช่น คน สัตว์ ดิน น้ำ อากาศ ”
ประเภทของสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมแบ่งได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ 1. สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ สิ่งที่ไม่มีชีวิต เช่น อากาศ พลังงาน แร่ธาตุ ป่าไม้ ฯลฯ 2. สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น ทางกายภาพ ที่เป็นรูปธรรม เช่น รถยนต์ เครื่องบิน เรือ ฯลฯ ทางสังคม เป็นนามธรรม เช่น วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ
องค์ประกอบของสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมทางด้านสังคม - การดำเนินชีวิต, ความเป็นอยู่ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ - รูป, รส, กลิ่น, เสียง ฯลฯ สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ - พืช, สัตว์, จุลินทรีย์ สิ่งแวดล้อมทางด้านเคมี - แร่ธาตุ, โลหะ, สารเคมี ฯลฯ
สาเหตุที่ทำให้เกิดมลพิษสิ่งแวดล้อม สาเหตุทางตรง 1.1 เกิดจากการกระทำของมนุษย์ 1.2 เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ สาเหตุทางอ้อม 2.1 การเพิ่มของประชากร 2.2 ปัญหาทางเศรษฐกิจ 2.3 ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การจำแนกมลพิษสิ่งแวดล้อม มลพิษทางกาศ มลพิษทางด้านน้ำ มลพิษจากสารพิษ มลพิษทางขยะ ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมปัจจุบัน มลพิษทางน้ำ, ฝนกรด, การทำลายชั้น OZONE, การร้อนขึ้นของโลกเนื่องจากปฏิกิริยาเรือนกระจก, การตัดไม้ทำลายป่า ฯลฯ
ภาวะเรือนกระจก
แสดงการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิโลก ซึ่งมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นทุกปี
แนวทางการสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อม หลักการทั่วไป ป้องกันมิให้เกิดความเสื่อมโทรม กำจัดความเสื่อมโทรมที่มีอยู่ให้หมดไป สร้างและปรับปรุงคุณภาพให้ดีขึ้น ดูแลรักษาไม่ให้เสื่อมคุณภาพ
แนวทางการสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อม หลัก 8 R (การจัดการขยะโดยวิธีต่างๆ) Rethink (คิดก่อนใช้) Reuse (นำสิ่งของที่ใช้แล้วมาใช้ใหม่) Reduce (ลดใช้) Repair (ซ่อมใช้) Recycle (นำกลับมาใช้อีก) Reclaim (ใช้ประโยชน์จากของเสีย) Recover (ใช้ใหม่) Reject (เลิกใช้) Recycle เช่น นำขวดแก้ว พลาสติกมาหลอมและผลิตใหม่ Reclaim เช่น นำเศษขยะมาทำปุ๋ย หรือถมที่
สิ่งกระตุ้นและผลักดันทำให้เกิดการจัดการทางสิ่งแวดล้อม สิ่งกดดัน กฎหมาย กฎระเบียบ ลูกค้าผู้บริโภค การแข่งขัน ราคาต้นทุนสูง ผู้ลงทุน สังคมภาพพจน์ ความต้องการอื่น ๆ เปลี่ยนแปลง ดำเนินการจัดระบบการจัดการ ตรวจวัด/วัดผล ปรับปรุงกระบวนการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ เปลี่ยนวัตถุดิบ ลดของเสีย ลดการใช้ ผลที่ได้รับ ได้เปรียบในการแข่งขัน เพิ่มผลกำไร, ลดต้นทุน ผลิตภัณฑ์สะอาด ภาพพจน์ที่ดี เพิ่มส่วนแบ่งตลาด ปรับปรุงแบบต่อเนื่อง
ประโยชน์ที่สำคัญของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ลดค่าใช้จ่ายเนื่องจากของเสียในระบบลดลง ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการตามแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น สร้างโอกาสและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทางการค้า สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับหน่วยควบคุมของภาครัฐ สร้างภาพพจน์น่าเชื่อถือต่อสถาบันการเงินและประกันภัย สร้างภาพพจน์ที่ดีให้องค์กร
อนุกรมมาตรฐาน ISO 14001 คืออะไร อนุกรมมาตรฐาน ISO14001 คือ มาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ซึ่งองค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (International Organizational for Standardization -ISO) ได้เริ่มประกาศใช้เมื่อ 1996 โดยปรับปรุงมาจาก BS7750 ของประเทศอังกฤษ ซึ่งประเทศไทย โดย สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ได้นำมาประกาศใช้เป็นมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมเมื่อ 2539
บทนิยาม ISO 14001 Environmental Aspect (ลักษณะปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม) ประเด็นปัญหาอันเกิดจากส่วนของกิจกรรม ผลิตภณฑ์ หรือ บริการขององค์กรที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม Significant Aspect (ลักษณะปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ) ลักษณะปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบรุนแรง (โดยมีตัวเปรียบเทียบ) หรือเด่นชัด Environmental Management System (ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม) ส่วนหนึ่งของระบบทั้งหมดที่รวมถึง โครงสร้างขององค์กร แผนกิจกรรม หน้าที่ความรับผิดชอบ การปฏิบัติ แนวทาง กระบวนการ และทรัพยากร สำหรับพัฒนา ปฏิบัติเพื่อให้บรรลุตามนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม
มุมมองแบบกระบวนการ ปัจจัยเข้า - Input กระบวนการ ปัจจัยออก - Output วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ดี องค์ประกอบ ผลิตภัณฑ์บกพร่อง สาธารณูปโภค มลพิษ วัสดุสิ้นเปลือง
ISO 14001 กับการเพิ่มประสิทธิภาพ เพิ่มของดี – ลดของเสีย, ทิ้ง ใช้ทรัพยากร / วัสดุน้อยที่สุด Output Input ISO 14001 = ประสิทธิภาพ
โครงสร้างของข้อกำหนดแบ่งออกเป็น 4 หมวด หมวดที่ 1 ขอบข่าย หมวดที่ 2 การอ้างอิงมาตรฐาน หมวดที่ 3 คำจำกัดความ หมวดที่ 4 ข้อกำหนดมาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
4.4 การปฏิบัติการและการนำไปใช้ ISO 14001 Requirements การปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง 4.2 นโยบายสิ่งแวดล้อม 4.3 การวางแผน การชี้บ่งและระบุลักษณะปัญหาสิ่งแวดล้อม กฎหมายและข้อกำหนดอื่นๆ วัตถุประสงค์และเป้าหมายและโครงการจัดการสิ่งแวดล้อม 4.6 การทบทวนฝ่ายบริหาร 4.5 การตรวจสอบ การติดตามและการตรวจวัด การประเมินความสอดคล้อง ฯ สิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด การแก้ไขและป้องกัน การควบคุมบันทึก การตรวจประเมินภายใน 4.4 การปฏิบัติการและการนำไปใช้ ทรัพยากร บทบาท ความรับผิดชอบและอำนาจ ความสามารถ การฝึกอบรมและความตระหนัก การสื่อสาร การพัฒนาระบบเอกสาร การควบคุมเอกสาร การควบคุมการปฏิบัติงาน การเตรียมการและการตอบสนองต่อเหตุฉุกเฉิน
ความตระหนักการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย SAFETY AWARENESS OHSAS 18001 : 2007 มอก. 18001 : 2542
ประวัติของ OHSAS / มอก. 18001 เริ่มแรกการพัฒนามาจาก อังกฤษ โดย OHSAS 18001 ได้มีการพัฒนาโดยใช้ BS8800:1996 เป็นแนวทางในการพัฒนา มาเป็น OHSAS 18001 ( Occupational Health and Safety Assessment Series ) ปัจจบัน version 2007 ซึ่งประเทศไทย โดยสำนักมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ได้นำมาประกาศใช้เป็นมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (มอก.18001:2542) โดยมี วัตถุประสงค์หลัก คือ - ลดความเสี่ยงต่ออันตรายและอุบัติเหตุ - ปรับปรุงการดำเนินงานของธุรกิจ - สร้างภาพพจน์ที่ดี
ความรู้เกี่ยวกับ OHSAS 18001 สามารถใช้ร่วมกับ มอก./ISO 9001 (Quality : คุณภาพ) และ มอก./ISO 14001 : 2004 (Environment : สิ่งแวดล้อม) ปกติแล้ว OHSAS 18001 จะทบทวนและแก้ไขเมื่อ ISO 9001 และ หรือ ISO 14001 ออกตัวใหม่มา มาตรฐาน OHSAS 18001 ไม่ใช่ กฎหมาย
ความรู้เกี่ยวกับ OHSAS 18001 ข้อกำหนด OHSAS 18001 จะช่วยบอกสิ่งที่ต้องการตามระบบบริหารอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เพื่อควบคุมความเสี่ยง และพัฒนาการปฏิบัติงานด้าน OH&S ในองค์กร แต่จะไม่บอกหลักเกณฑ์และรายละเอียดวิธีการแต่อย่างไร ขอบข่ายการใช้ข้อกำหนดจะขึ้นอยู่กับปัจจัยดังนี้คือ - นโยบาย OH&S ขององค์กร - ลักษณะทั่วไปของกิจกรรมของอุตสาหกรรมนั้น - ความเสี่ยงและความซับซ้อนของการปฏิบัติงานกิจกรรม
ความรู้เกี่ยวกับ OHSAS 18001 - ตรวจสอบด้วยตนเอง ว่าสอดคล้องกับข้อกำหนด QHSAS หรือไม่ - ขอใบประกาศ OHSAS 18001 จากองค์กรภายนอก
บทนิยาม OHSAS / มอก. 18001 Accident (อุบัติเหตุ) Hazard (อันตราย) เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้น แล้วเป็นเหตุให้ เสียชีวิต เจ็บป่วยบาดเจ็บ ความเสียหาย หรือ ความสูญเสียอื่นๆ Hazard (อันตราย) สิ่งหรือสถานการณ์ที่อาจก่อให้เกิดบาดเจ็บหรือความเจ็บป่วยจากการทำงาน ความเสียหายต่อทรัพย์สิน ความเสียหายต่อสภาพแวดล้อมในการทำงาน หรือเหล่านี้รวมกัน Hazard Identification (การชี้บ่งอันตราย) กระบวนการในการค้นหาอันตรายที่มีอยู่และระบุลักษณะของอันตราย
บทนิยาม OHSAS / มอก. 18001 Incident (อุบัติการณ์) เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วมีผลให้เกิดอุบัติเหตุและมีแนวโน้มทำให้เกิดอุบัติเหตุ Occupational Health and Safety (อาชีวอนามัย และความปลอดภัย) สภาพและปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการอยู่ดีของพนักงาน ลูกจ้างชั่วคราว พนักงานของผู้รับเหมา ผู้มาติดต่อ และบุคคลอื่นๆในสถานที่ทำงาน
บทนิยาม OHSAS / มอก. 18001 OH&S Management system (ระบบบริหาร OH&S) ส่วนหนึ่งของระบบบริหารทั้งหมดที่ใช้ในการควบคุมความเสี่ยงด้านOH&S ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจขององค์กร ประกอบด้วยโครงสร้างองค์กร, การวางแผนกิจกรรม, หน้าที่ความรับผิดชอบ, วิธีการปฏิบัติ, การควบคุมกระบวนการ, การจัดหาทรัพยากร , การนำไปปฏิบัติ, การทบทวน, การบำรุงรักษา, และนโยบาย OH&S ขององค์กร Risk (ความเสี่ยง) ผลลัพธ์จากผลคูณโอกาสการเกิดอันตรายกับความรุนแรงจากอันตรายนั้น
บทนิยาม OHSAS / มอก. 18001 Risk Assessment (การประเมินความเสี่ยง) กระบวนการทั้งหมดของการประมาณระดับความเสี่ยงและการตัดสินใจว่าความเสี่ยงนั้นอยู่ในระดับที่ยอมรับได้หรือไม่ Safety (ความปลอดภัย) ความเป็นอิสระจากความเสี่ยงของสิ่งที่เป็นอันตรายที่ยอมรับไม่ได้ Tolerable Risk (ความเสี่ยงที่ยอมรับได้) ระดับความเสี่ยงที่ได้ถูกลดจนถึงระดับที่สามารถรับได้ โดยองค์กรได้พิจารณาข้อกฎหมายและนโยบาย OH&S ขององค์กรเองแล้ว
โครงสร้างของข้อกำหนดแบ่งออกเป็น 4 หมวด หมวดที่ 1 ขอบข่าย หมวดที่ 2 การอ้างอิงมาตรฐาน หมวดที่ 3 คำจำกัดความ หมวดที่ 4 ข้อกำหนดมาตรฐานการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย (OH&S)
4.2 นโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 4.4 การปฏิบัติการและการนำไปใช้ OH&S 18001 Requirements การปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง 4.2 นโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 4.3 การวางแผน การระบุความเสี่ยงและประเมินอันตรายและกำหนดมาตรการควบคุม กฎหมายและข้อกำหนดอื่นๆ วัตถุประสงค์และเป้าหมายและโครงการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 4.6 การทบทวนฝ่ายบริหาร 4.4 การปฏิบัติการและการนำไปใช้ ทรัพยากร บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบ ความสามารถ การฝึกอบรมและความตระหนัก การสื่อสาร การพัฒนาระบบเอกสาร การควบคุมเอกสาร การควบคุมการปฏิบัติงาน การเตรียมพร้อมตอบสนองต่อสภาวะฉุกเฉิน 4.5 การตรวจสอบ การตรวจประเมินและการวัดผล การประเมินความสอดคล้อง ฯ การสืบสวนอุบัติการณ์ ข้อบกพร่อง การแก้ไขและป้องกัน การควบคุมบันทึก การตรวจประเมินระบบฯ ภายใน
การบริหาร จัดการด้านเอกสาร
การควบคุมเอกสาร คำว่า Document Control หรือ Document Control Center คือ ? เป็นศูนย์กลางเอกสารทั้งหมดในองค์ที่ดำเนินตามระบบมาตรฐาน ต่างๆ ที่องค์กรได้รับการรับรองอยู่หรือที่จะขอการรับรอง (เอกสารใน ระบบเท่านั้น)และต้องมีระเบียบในการควบคุมหรือสร้างความมั่นใจได้ว่ามี การควบคุมที่เหมาะสม
การควบคุมเอกสาร การควบคุมเอกสาร ทำให้ทราบถึง สถานะของเอกสารต่าง ๆ เช่น การจัดทำเอกสารใหม่ การแก้ไขเอกสาร การนำไปใช้งาน เอกสารที่ยกเลิกจะต้องมีการบ่งชี้ การทำลายเอกสารต้องมีการบันทึกการทำลาย เอกสารที่ทันสมัย มีการอนุมัติก่อนใช้งาน
เอกสารในระบบบริหารงานคุณภาพ (QSHE) ระบบบริหารคุณภาพทั้ง 3 ระบบ ต้อง มีเอกสารดังนี้ 1. นโยบาย และวัตถุประสงค์ 2. คู่มือมาตรฐานบริหาร (Management Standard Manual : MM) 3. ระเบียบปฏิบัติ (Procedure Manual : PM) 4. เอกสารอื่น ๆ ที่จำเป็นต่อองค์กร เพื่อให้มีการวางแผน /การปฏิบัติ และ ควบคุมที่มีประสิทธิผล เช่น คู่มือการทำงาน (Work Instruction : WI กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับองค์กร, MSDS หรือ ข้อปฏิบัติของลูกค้า) 5. บันทึกหรือแบบฟอร์มต่างๆ
หลักการของการจัดทำระบบ ISO เขียน……………..ว่าเราทำอะไร ทำ……………….ตามที่เราได้เขียนเอาไว้ บันทึก…………….ผลที่ได้ทำไป ติดตาม……………ตรวจสอบประสิทธิผล แก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้น
ความสำคัญของการจัดทำเอกสารเพื่อสร้างมาตรฐาน ไม่มีการสร้างมาตรฐาน มีการสร้างมาตรฐาน
โครงสร้างเอกสารในระบบ ISO 9001, 14001, OHSAS/TIS 18001 MM คู่มือ บริหาร มาตรฐาน PM ระเบียบปฏิบัติ WI คู่มือทำงาน Forms & Others แบบฟอร์ม, เอกสารสนับสนุนอื่นๆ ระดับสูง, กลาง แสดงนโยบายการบริหารคุณภาพ ขององค์กร ผู้บริหารระดับกลาง, หัวหน้างาน แสดงหลักการและระเบียบการทำงาน ของฝ่าย, แผนก QUALITY PLAN : แผนคุณภาพ, Aspect, Risk assessment หัวหน้างาน, พนักงานปฏิบัติการ แสดงขั้นตอนทำงานโดยละเอียด ในแต่ละจุดงาน แสดงรายละเอียดประกอบการ ทำงาน, ใช้บันทึกข้อมูล ผู้เกี่ยวข้อง ทุกคน
โครงสร้างเอกสารในระบบ ISO 9001, 14001, OHSAS/TIS 18001 จำนวน เปิดเผย ต่อลูกค้า ผู้ตรวจสอบ MM 1 ฉบับ 30 หน้า ผู้บริหาร ลูกค้า ตรวจ 100% เปิดเผย ต่อลูกค้า ผู้ตรวจสอบ PM PM PM 10-20 ฉบับ 5-10 หน้า ผู้บริหาร หัวหน้างาน ตรวจ 100% WI WI WI 1-100 ฉบับ 1-5 หน้า หัวหน้างาน พนักงาน เทคนิคและ เคล็ดลับ สุ่มตรวจ SD FM FM >30 ฉบับ 1-2 หน้า ทุกคน ที่เกี่ยวข้อง FM เทคนิคและ ความลับ สุ่มตรวจ