กลุ่มประสิทธิภาพกลุ่มที่ 1 (เขตตรวจราชการที่ 1, 2 และ 4)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบการจัดการคุณภาพทั่วทั้งองค์กร
Advertisements

ทิศทางการดำเนินงานและการเน้นหนักเพื่อผลสัมฤทธิ์ในการบริหารงาน
รศ.ชัยยศ สันติวงษ์ 28 มิถุนายน 2554
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
True Innovation Awards 2015 for True Presented by: Date:
1 การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษนครพนม.
แผนและขั้นตอนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การขับเคลื่อน ด้านการตลาดเกษตรอินทรีย์ไทย
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
L I O รายงานผลการดำเนินงาน ประจำเดือนมกราคม 2555
การพัสดุและการจัดซื้อจัดจ้าง
พ.ท.หญิง ญาติมา คุณวัฒน์
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
มาตรฐานบังคับ (Official Standard)
Food safety team leader
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประเทศไทย 4.0 Thailand 4.0 อุตสาหกรรม 4.0
Principle of Marketing
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
การควบคุมการปนเปื้อนของผลิตภัณฑ์
การเตรียมความพร้อมในการจัดทำงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กำหนดการสัมมนา CIO วันที่ 26 ธค.49 ณ MICT ชั้น ICT3 ห้องประชุม 1
การเบิกจ่ายเงินค่าเบี้ยประชุม
บทที่ 3 ระบบสารสนเทศกับการบริหารองค์กร
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การปฏิรูประบบราชการไทย กับการพัฒนาตนและระบบงาน
ถ้าคิดว่าคุณแน่ อย่าแพ้เรานะ
ทิศทางโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง ในยุคประเทศไทย 4.0
เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน (Economics for Everyday Life)
1.โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนอีสานศตวรรษที่ 21 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สวนรุกขชาติและศูนย์วิจัยกีฏวิทยาป่าไม้
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การสร้างความตระหนักในเรื่องการรักษาความปลอดภัยของ
อนาคตประเทศไทยหลังปี 2560 ผลกระทบจาก AEC ดีกับไทยหรือไม่
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
ผลการดำเนินงาน สิ่งที่ค้นพบ
การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
นางสาวนนทิชา วรรณสว่าง ผู้อำนวยการสำนักบริหารกลาง กรมการข้าว
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
ใบงานที่ 2 ประเด็น : … Engine : …….……………………………………………………………………
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ. ศ
เรื่อง การผลิตอาหารปลอดภัย
แรงงานมีทักษะฝีมือสอดคล้องตาม ความต้องการในพื้นที่
ยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฎิรูปการศึกษาและพัฒนาท้องถิ่น
(Rice Analysis) จังหวัดอุทัยธานี การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
บทที่ 14 ระบบสารสนเทศ กับการเปลี่ยนแปลงองค์การ
โครงการให้บริการที่ดีที่สุดประจำปีงบประมาณ พ.ศ ที่มีความโดดเด่น
ปรัชญา ของ เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
Efficiency & Competitiveness Support Factor & Strategy Driver
การพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลัก ระดับอำเภอ ปี
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
11/17/2010.
Traditional SMEs Smart SMEs + Start up High – Skill Labors
คิดใหม่ ทำใหม่ ประสงค์ นรจิตร์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงอุตสาหกรรม
การแก้ไขข้อบกพร่องระบบ GMP จากการตรวจรับรองโรงงานเพื่อการส่งออก วันที่
ชีวิตใหม่ของฝ่ายจัดซื้อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มประสิทธิภาพกลุ่มที่ 1 (เขตตรวจราชการที่ 1, 2 และ 4)

เขตตรวจราชการ 1, 2 และ 4 เขตตรวจราชการ 2 (ลพบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง) นครสวรรค์ อุทัยธานี “ครัวสุขภาพ เพื่อมหานคร (ผักปลอดภัยและกล้วยน้ำว้า (Healthy Kitchen for The Metropolis)” ศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มรดกโลก และเมืองนวัตกรรมด้านอาหารตอนกลาง นครนายก แปรรูปการเกษตร (ข้าว ข้าวโพด อ้อย มันสำปะหลัง ไก่เนื้อ ปลาน้ำจืด) แปรรูปข้าว เขตตรวจราชการ 4 (นครปฐม กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี ) “เมืองแห่งนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis)” เขตตรวจราชการ 1 (สระบุรี นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา) เพชรบุรี ศูนย์กลางการค้า การท่องเที่ยวที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมภาคตะวันตก “ศูนย์กลางของชาติในการสร้างสรรค์ด้านการท่องเที่ยวเชิงมรดกประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและวิถีชุมชนอย่างยั่งยืน” แปรรูปการเกษตร (ไก่ สุกร ข้าว อ้อย ผลไม้) แปรรูปข้าว พืชไร่ ผัก ผลไม้ ฐานผลิตอาหารเพื่อสุขภาพ อิเล็กทรอนิกส์ แปรรูปข้าว (ข้าวสาร ก๋วยเตี๋ยว ขนมปัง แป้ง)

ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ.2579 2562 2558 2560 2561 2562 2563 2564 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 14 15 โครงการติดตั้งระบบการแปรรูป ขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายได้ (เขตตรวจราชการที่ 1) โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สู่ผลิตภัณฑ์สีเขียว (Green Product) ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (เขตตรวจราชการที่ 2) โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร เชิงสร้างสรรค์ด้วยนวัตกรรมสู่ความยั่งยืน (เขตตรวจราชการที่ 4) แผนพัฒนากลุ่มภาคกลางตอนบน 1 แผนพัฒนากลุ่มภาคกลางตอนบน 2 แผนพัฒนากลุ่มภาคกลางตอนล่าง 1 1.การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ 2.การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม 3.การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน 4.การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 5.ความมั่นคง 6.การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการในภาครัฐและธรรมา ภิบาลในสังคมไทย 7.การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ 8.วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 9.การพัฒนาภาคเมือง เละพื้นที่เศรษฐกิจ 10.การต่างประเทศ ประเทศ เพื่อนบ้าน และภูมิภาค แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12

แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 พ. ศ แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 พ.ศ.2561-2564 (นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สระบุรี) วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เมืองแห่งคุณภาพชีวิต แหล่งของนวัตกรรม ศูนย์กลางการลงทุน ด้านอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีชั้นสูง การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์วัฒนธรรมและการผลิตอาหารปลอดภัย 1.เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและความร่วมมือกับสถานประกอบการ สถานศึกษา และชุมชนเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรม และเกษตรกรรม เชิงสร้างสรรค์ 2.ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเที่ยว ให้ได้มาตรฐานสากล และประทับใจนักท่องเที่ยว สนับสนุนการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม 3.การเพิ่มศักยภาพการจัดการสภาวะสิ่งแวดล้อม โดยการฟื้นฟูคุณภาพระบบนิเวศของแม่น้ำเจ้าพระยา/ป่าสักและลำน้ำสาขาและสร้างมูลค่าเพิ่มจากขยะด้วยการใช้นวัตกรรม 4.เสริมสร้างเมืองให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยและน่าอยู่อย่างยั่งยืน โดยการจัดระเบียบการขยายตัวของชุมชนเมืองอย่างมีแบบแผนเหมาะสมและสอดคล้องกับการวางระบบโครงข่ายบริการพื้นฐาน รองรับการขยายตัวของเมือง

แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 พ. ศ แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 พ.ศ.2561-2564 (ชัยนาท ลพบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง) วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ฐานการผลิตอาหารปลอดภัย ท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ ทรัพยากรน้ำสมดุลและยั่งยืน 1.พัฒนาการตลาดระบบ Logistics และการผลิตอาหารปลอดภัย 2.สร้างมูลค่าเพิ่มทางการท่องเที่ยวจากฐานความรู้ทางประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 3.บริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการ

แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 พ. ศ แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 พ.ศ.2561-2564 (นครปฐม กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี) วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ศูนย์กลางสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม และบริการเพื่อสุขภาพครบวงจร การท่องเที่ยวหลากหลายเชื่อมโยงอารยธรรมทวารวดี การค้าและการลงทุนระดับสากลที่มีความสามารถ ในการแข่งขันและการค้าผ่านแดน สู่เอเชีย 1.พัฒนาสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ ให้ได้คุณภาพ มาตรฐาน ยกระดับสู่การเป็นศูนย์กลางสุขภาพครบวงจร 2.ส่งเสริมอัตลักษณ์การท่องเที่ยวเชื่อมโยงกลุ่มจังหวัดอารยธรรม ทวารวดีไปยังแหล่งท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียน และยกระดับ การท่องเที่ยวให้มีชื่อเสียง 3.พัฒนาและส่งเสริมการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนให้มีศักยภาพ ผลักดันเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ นำไปสู่การกระตุ้นให้เกิดการค้า การลงทุน เชื่อมโยงการค้าสู่เอเชีย 4.ยกระดับการผลิต ภาคเกษตรกรรม พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม สินค้าชุมชน และภาคแรงงาน ปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตโดยเน้นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม สู่ประเทศไทย 4.0

ติดตั้งระบบการแปรรูปขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายได้ เขตตรวจราชการที่ 1 โครงการ ติดตั้งระบบการแปรรูปขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายได้

หลักการและเหตุผล

ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ

ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ

การขจัดขยะมูลฝอยเชิงกล (MBT) วิธีการกำจัดขยะ Engineer Landfill 1 ฝังกลบ Sanitary Landfill Control Dump 2-4 5 การขจัดขยะมูลฝอยเชิงกล (MBT) เทกอง 6 Open Dump เผากลางแจ้ง

ขั้นตอนการทำงาน

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อติดตั้งระบบการแปรรูปขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายได้ มาแปรรูปเป็นปุ๋ยหมักและก๊าซชีวภาพ 2. เพื่อดูแลรักษาและอนุรักษ์สภาพแวดล้อมตามนโยบายรัฐบาล 3. เพื่อสุขภาวะที่ดีและการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ 4. เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีแก่ท้องถิ่นและการท่องเที่ยว

ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 1.การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ 2.การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม 3.การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน 4.การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 5.ความมั่นคง 6.การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการในภาครัฐและธรรมา ภิบาลในสังคมไทย 7.การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ 8.วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 9.การพัฒนาภาคเมือง เละพื้นที่เศรษฐกิจ 10.การต่างประเทศ ประเทศ เพื่อนบ้าน และภูมิภาค แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 1.การเสริมสร้างศักยภาพของภาคอุตสาหกรรมให้เติบโตและเข้มแข็ง 2.การพัฒนาปัจจัยสนับสนุนให้เอื้ออำนวยต่อการลงทุนและการพัฒนาอุตสาหกรรม 3.การส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสังคมและสิ่งแวดล้อม 4.การพัฒนาสมรรถนะองค์กรเพื่อให้บริการอย่างมีคุณภาพ ยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม 1.เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและความร่วมมือกับสถานประกอบการ สถานศึกษา และชุมชนเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรม และเกษตรกรรมเชิงสร้างสรรค์ 2.ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเที่ยวพร้อมทั้งปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว ให้ได้มาตรฐานสากล และประทับใจนักท่องเที่ยว สนับสนุนการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม 3.การเพิ่มศักยภาพการจัดการมลภาวะสิ่งแวดล้อม โดยการฟื้นฟูคุณภาพระบบนิเวศของแม่น้ำเจ้าพระยา/ป่าสัก และลำน้ำสาขา และสร้างมูลค่าเพิ่มจากขยะด้วยการใช้นวัตกรรม 4.เสริมสร้างเมืองให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยและน่าอยู่อย่างยั่งยืน โดยการ จัดระเบียบการขยายตัวของชุมชนเมืองอย่างมีแบบแผนเหมาะสมและสอดคล้องกับการวางระบบโครงข่ายบริการ พื้นฐานรองรับการขยายตัวของเมือง แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1

ย่อยสลายขยะจังหวัดละไม่น้อยกว่า 1 ตัน/วัน/แห่ง KPI ย่อยสลายขยะจังหวัดละไม่น้อยกว่า 1 ตัน/วัน/แห่ง

งบประมาณการดำเนินการทั้งสิ้น 40 ล้านบาท ขั้นตอนการดำเนินงาน - TOR - ทำสัญญาจ้าง - ติดตั้งระบบแปรรูปฯ - อบรมเชิงปฏิบัติการ ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 2561 2562 งบประมาณการดำเนินการทั้งสิ้น 40 ล้านบาท

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ ขยะอินทรีย์

เขตตรวจราชการที่ 2 โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สู่ผลิตภัณฑ์สีเขียว (Green Product) ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

หลักการและเหตุผล ตัดต้นไม้ผลิตกระดาษ 66.3 MT/yr หรือ 126.0 ต้น/นาที หรือ 60.0 kgs/yr/คน กระดาษเก่า 1 ตัน ต้นไม้ 15 ต้น

วัตถุประสงค์ 1. 2. World market

ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 1.การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ 2.การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม 3.การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน 4.การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 5.ความมั่นคง 6.การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการในภาครัฐและธรรมา ภิบาลในสังคมไทย 7.การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ 8.วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 9.การพัฒนาภาคเมือง เละพื้นที่เศรษฐกิจ 10.การต่างประเทศ ประเทศ เพื่อนบ้าน และภูมิภาค แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 1.การเสริมสร้างศักยภาพของภาคอุตสาหกรรมให้เติบโตและเข้มแข็ง 2.การพัฒนาปัจจัยสนับสนุนให้เอื้ออำนวยต่อการลงทุนและการพัฒนาอุตสาหกรรม 3.การส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสังคมและสิ่งแวดล้อม 4.การพัฒนาสมรรถนะองค์กรเพื่อให้บริการอย่างมีคุณภาพ ยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม 1.พัฒนาการตลาด ระบบ Logistics และการผลิตอาหารปลอดภัย 2.สร้างมูลค่าเพิ่มทาง การท่องเที่ยวจากฐานความรู้ทางประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 3.บริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการ แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2

1 2 ที่ปรึกษา+KM (เชิงลึก) KM+Green SMEs 100 ราย/4 จังหวัด KPI 1 2 ที่ปรึกษา+KM (เชิงลึก) KM+Green SMEs 100 ราย/4 จังหวัด SMEs 20 ราย/4 จังหวัด

งบประมาณการดำเนินการทั้งสิ้น 5.25 ล้านบาท ขั้นตอนการดำเนินงาน - จัดจ้างที่ปรึกษา - ให้คำปรึกษาเชิงลึก - พัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์ใหม่ - ออกแบบและจัดทำระบบสำรวจ/จัดเก็บ วัสดุเหลือใช้ - อบรม - บริหาร โครงการ - ประชาสัมพันธ์ - เชิญชวน - บริหารโครงการ ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 2561 2562 - บริหารโครงการ งบประมาณการดำเนินการทั้งสิ้น 5.25 ล้านบาท

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ 20 ราย/4 จังหวัด 20 ผลิตภัณฑ์/4 จังหวัด โครงการ

โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร เชิงสร้างสรรค์ด้วยนวัตกรรม เขตตรวจราชการที่ 4 โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร เชิงสร้างสรรค์ด้วยนวัตกรรม

หลักการและเหตุผล ประเทศไทย 4.0 ประชารัฐ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Efficiency Economy) ประชารัฐ วิสาหกิจชุมชน RM : เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (Value-Based Economy) เมืองนวัตกรรมอาหาร (Food InnoPolis) E-Commerce E-Marketing ตลาดสากล

มาตรฐานต่าง ๆ - ISO 9001 เป็นมาตรฐานระบบคุณภาพ ซึ่งกำกับดูแลทั้งการออกแบบ และพัฒนาการผลิต การติดตั้ง และการบริการ - ISO 14000 เป็นมาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นให้องค์กรมีการพัฒนาปรับปรุงสิ่งแวดล้อม อย่างต่อเนื่อง - ISO 22000 เป็นมาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหาร - GMP (Good Manufacturing Practice ) คือการปฏิบัติที่ดีในการผลิตอาหาร เป็นระบบประกันคุณภาพที่มีการปฏิบัติในการผลิตอาหาร เพื่อให้ เกิดความปลอดภัย  - HACCP (Hazard Analysis Critical Control Point) คือ การวิเคราะห์อันตราย และจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมเป็นระบบการวิเคราะห์อันตราย และจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมในการผลิตอาหาร

ฝึกอบรมเกี่ยวกับมาตรฐานสากล สภาพปัญหา/ความต้องการ SMEs/ วิสาหกิจชุมชน R&D/ Innovation เจรจาธุรกิจการค้า (Business Matching) SMEs/ วิสาหกิจชุมชน KM : ISO, GMP, HACCP ฝึกอบรมเกี่ยวกับมาตรฐานสากล

วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อส่งเสริมการใช้นวัตกรรมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร ในเชิงสร้างสรรค์ 2. เพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการ SMEs และวิสาหกิจชุมชนให้ได้รับมาตรฐานต่าง ๆ ที่เป็นที่ยอมรับในสากลเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและโอกาสทาง การค้า เช่น ISO, GMP, HACCP เป็นต้น

ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 1.การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ 2.การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม 3.การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน 4.การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 5.ความมั่นคง 6.การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการในภาครัฐและธรรมา ภิบาลในสังคมไทย 7.การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ 8.วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 9.การพัฒนาภาคเมือง เละพื้นที่เศรษฐกิจ 10.การต่างประเทศ ประเทศ เพื่อนบ้าน และภูมิภาค แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 1.การเสริมสร้างศักยภาพของภาคอุตสาหกรรมให้เติบโตและเข้มแข็ง 2.การพัฒนาปัจจัยสนับสนุนให้เอื้ออำนวยต่อการลงทุนและการพัฒนาอุตสาหกรรม 3.การส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสังคมและสิ่งแวดล้อม 4.การพัฒนาสมรรถนะองค์กรเพื่อให้บริการอย่างมีคุณภาพ ยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม 1.พัฒนาสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ ให้ได้คุณภาพมาตรฐาน ยกระดับสู่การเป็นศูนย์กลางสุขภาพครบวงจร 2.ส่งเสริมอัตลักษณ์การท่องเที่ยวเชื่อมโยงกลุ่มจังหวัดอารยธรรม ทวารวดีไปยังแหล่งท่องเที่ยวในภูมิภาคอาเซียน และยกระดับ การท่องเที่ยวให้มีชื่อเสียง 3.พัฒนาและส่งเสริมการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนให้มีศักยภาพ ผลักดันเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ นำไปสู่การกระตุ้นให้เกิดการค้า การลงทุน เชื่อมโยงการค้าสู่เอเชีย 4.ยกระดับการผลิต ภาคเกษตรกรรม พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม สินค้าชุมชนและภาคแรงงาน ปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตโดยเน้นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม สู่ประเทศไทย 4.0 แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1

1 2 KPI ผลิตภัณฑ์+นวัตกรรม SMEs+มาตรฐานสากล 100 ผลิตภัณฑ์/4 จังหวัด 10 ราย/4 จังหวัด

งบประมาณการดำเนินการทั้งสิ้น 10.55 ล้านบาท ขั้นตอนการดำเนินงาน - TOR,... - ลงนามสัญญาฯ - เปิดตัวโครงการ+PR - รับสมัคร+คัดเลือก - ให้คำปรึกษาเชิงลึก - ปิดตัวโครงการ - ประเมิน - สรุปโครงการ - อบรม - ดูงาน - ให้คำปรึกษาเชิงลึก - ให้คำปรึกษาเชิงลึก ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 2561 2562 งบประมาณการดำเนินการทั้งสิ้น 10.55 ล้านบาท

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ ความรู้นวัตกรรม ศึกษา ดูงาน สร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ SMEs/ วิสาหกิจชุมชน ผลิตภัณฑ์เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค คำปรึกษาเชิงลึก มาตรฐานสากล พัฒนาผลิตภัณฑ์ โครงการ