แนวทาง การให้บริการวัคซีนโปลิโอ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การตั้งค่าวัคซีน.
Advertisements

การประเมินมาตรฐานด้าน การบริหารจัดการวัคซีนและ
หมวดกลุ่มด้อยโอกาส ต่างด้าวและอื่นๆ
แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กระทรวงสาธารณสุข
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
การประเมินคุณภาพการให้รหัสโรค
Cr อ.เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
มาตรฐานงานสุขศึกษา &โปรแกรมประเมิน.
Direction of EPI vaccine in AEC era
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ Seasonal Flu Vaccine.
มาตรฐานที่ ๒ การให้บริการวัคซีน
มาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
แนวทางการให้บริการวัคซีน Rota
พลังวัชร์ แพ่งธีระสุขมัย คณะวิศวกรรมศาสตร์
27 ปี งานกวาดล้างโปลิโอ รณรงค์ OPV ประจำปี
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
การแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก จังหวัดปทุมธานี
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
วาระประชุมเดือนกันยายน 2559
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
การปรับรหัสวัคซีนในงาน EPI
มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ด้านสุขศึกษา ปี 2562
กลุ่มที่ 3 : Scenario 3.
วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
PM4 งานคุ้มครองผู้บริโภค สิ่งแวดล้อม และควบคุมโรค
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560
แนวทางการให้บริการวัคซีนโปลิโอ
โดย ภญ. ปิยะนาถ เชื้อนาค สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน
การเก็บกลับและทำลาย Trivalent OPV
การเก็บกลับและทำลาย Trivalent OPV
สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
ประกาศ มหาวิทยาลัยมหิดล (มีผลตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2556)
พญ.ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
การพัฒนาคุณภาพข้อมูลสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว
การขับเคลื่อนการกวาดล้างโรคโปลิโอ ในฉากสุดท้ายของประเทศไทย
โดยคุณอัมพวัน คุลภ์อนันต์
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560
การกำจัดขยะและสารเคมี
ศูนย์พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยจังหวัดสมุทรปราการ
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
การบริหารจัดการวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ และระบบลูกโซ่ความเย็น
National Coverage กพ.62 รายจังหวัด
การเก็บกลับและทำลาย Trivalent OPV
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.
แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์สายพันธุ์ SA
การปรับเปลี่ยน การใช้วัคซีนโปลิโอ
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
เอมอร ราษฎร์จำเริญสุข
ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center)
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
โครงการพัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ (Adult Vaccination Clinic)
การปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑ จังหวัดสกลนคร ครั้งที่ ๑
หอผู้ป่วยศัลยกรรมระบบปัสสาวะ โรงพยาบาลราชบุรี
จัดสวัสดิการผู้สูงอายุตามวิถีแว้ง
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยการสอนซ่อมเสริมร่วมกับ
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทาง การให้บริการวัคซีนโปลิโอ

การปรับเปลี่ยนการให้วัคซีนโปลิโอ ระยะที่ 2 ระยะที่ 1 29 เม.ย. 59 National Switch Day 1 ธ.ค. 58 – 22 เม.ย. 59 IPV 1 โด๊ส (4 เดือน) + Trivalent OPV IPV 1 โด๊ส (4 เดือน) + Bivalent OPV + + T B กระบวนการปรับเปลี่ยนการให้วัคซีนโปลิโอ ประกอบด้วยมาตรการสำคัญ 2 ด้าน ได้แก่ 1) การนำวัคซีน IPV มาใช้ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค โดยเด็กจะได้วัคซีน IPV 1 ครั้งเมื่ออายุ 4 เดือน และได้รับวัคซีน Trivalent OPV ตามปกติ 2) การเปลี่ยนวัคซีน OPV จาก Trivalent เป็น bivalent OPV โดยเด็กจะได้วัคซีน IPV 1 ครั้งเมื่ออายุ 4 เดือน และได้รับวัคซีน Brivalent OPV แทน Trivalent OPV ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. 22 29 พ.ค. มิ.ย. ก.ค. 23-28 เม.ย. 59 เลื่อนนัดเด็ก

กลุ่มเป้าหมายการให้วัคซีนโปลิโอ เพิ่ม IPV 1 ครั้ง แก่ เด็กอายุ 4 เดือน ทุกคน ครั้งที่ อายุ ชนิดของวัคซีนโปลิโอ 1 2 เดือน OPV1 และ DTP-HB1 2 , OPV2 และ DTP-HB2 3 6 เดือน OPV3 และ DTP-HB3 4 1 ปี 6 เดือน OPV4 และ DTP4 5 4 ปี OPV5 และ DTP5 IPV1 4 เดือน + กลุ่มเป้าหมายในการให้วัคซีน IPV เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 4 เดือน ขึ้นไป ทุกคน ทั้งที่อยู่ในและนอกพื้นที่ที่รับผิดชอบตามกำหนดการให้วัคซีน กรณีที่เด็กมารับวัคซีน OPV ครั้งแรกล่าช้าหลังอายุ 4 เดือน เป็นต้นไป ขอให้ฉีดวัคซีน IPV พร้อมกับหยอดวัคซีน OPV ในครั้งแรกที่พบ และหยอดวัคซีน OPV ต่ออีก 4 ครั้งตามกำหนดการเดิม ถ้าเด็กมารับวัคซีน OPV ครั้งแรกล่าช้าหลัง 4 เดือน ให้ฉีด IPV + หยอด OPV ในครั้งแรก และให้ OPV ต่ออีก 4 ครั้งตามกำหนดการเดิม

การคาดประมาณกลุ่มเป้าหมาย คาดประมาณการจำนวนเด็กที่ให้บริการแต่ละครั้งจาก 1. รายชื่อเด็กที่นัด ทั้งเด็กที่อยู่ในและนอกพื้นที่ที่รับผิดชอบ 2. เด็กที่ไม่ได้มาตามนัดในครั้งที่ผ่านมา 3. เด็กที่ไม่ได้นัดที่อาจเข้ามาขอรับวัคซีน เพื่อคำนวณ ปริมาณวัคซีน IPV และ OPV ที่ต้องใช้ทั้งหมด การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน ให้เจ้าหน้าที่ประมาณการจำนวนเด็กที่ให้บริการในแต่ละครั้งจาก รายชื่อเด็กที่นัดทั้งเด็กที่อยู่ในและนอกพื้นที่ที่รับผิดชอบ เด็กที่ไม่ได้มาตามนัดในครั้งที่ผ่านมา เด็กที่ไม่ได้นัดที่อาจเข้ามาขอรับวัคซีน เพื่อคำนวณปริมาณวัคซีน IPV และ OPV ที่ต้องใช้ทั้งหมด แล้วประมาณการวัคซีนตามที่กล่าวในหัวข้อ “แนวทางการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น”

ฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ การให้บริการ IPV OPV ฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ ขนาดครั้งละ 0.5 มล. หยอดวัคซีน ครั้งละ 2 – 3 หยด การให้บริการ 1 ให้วัคซีน IPV โดยการฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ ขนาดครั้งละ 0.5 มล. 2. ให้วัคซีน OPV ให้หยอดวัคซีน 2 – 3 หยดขึ้นกับ เอกสารกำกับยา ทั้งนี้ กำหนดให้ทุกสถานบริการทั่วประเทศให้บริการวัคซีน Trivalent OPV ครั้งสุดท้ายภายในวันที่ 22 เมษายน 2559 และเริ่มให้วัคซีน Bivalent OPV ตั้งแต่วันที่ 29 เมษายน 2559 เป็นต้นไป

เริ่มให้วัคซีน IPV ครั้งแรก วันที่ 1 ธ.ค. 58 พร้อมกับ OPV ครั้งที่ 2 จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ ธ.ค. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 + T 1. การให้วัคซีน IPV - ให้วัคซีน IPV ในเด็กอายุ 4 เดือน - ให้วัคซีน OPV ตามกำหนดการเดิม ให้ tOPV ครั้งสุดท้าย 22 เม.ย. 59 เริ่มให้ bOPV ตั้งแต่ 29 เม.ย. 59 2. กรณีมีเด็กที่ต้องได้รับวัคซีน OPV ระหว่างวันที่ 25 – 28 เม.ย. 2559 ขอให้เลื่อนนัดเด็กให้มารับบริการในรอบถัดไป ตั้งแต่วันที่ 29 เมษายน 2559

+ T ให้วัคซีน IPV พร้อม tOPV ครั้งที่ 2 มกราคม มีนาคม กุมภาพันธ์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 + T ให้วัคซีน IPV พร้อม tOPV ครั้งที่ 2 มีนาคม กุมภาพันธ์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

เดือนเมษายน 2559 22 29 เริ่มให้ bOPV ให้ tOPV ครั้งสุดท้าย จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 ให้ tOPV ครั้งสุดท้าย 1. การให้วัคซีน IPV - ให้วัคซีน IPV ในเด็กอายุ 4 เดือน - ให้วัคซีน OPV ตามกำหนดการเดิม ให้ tOPV ครั้งสุดท้าย 22 เม.ย. 59 เริ่มให้ bOPV ตั้งแต่ 29 เม.ย. 59 2. กรณีมีเด็กที่ต้องได้รับวัคซีน OPV ระหว่างวันที่ 25 – 28 เม.ย. 2559 ขอให้เลื่อนนัดเด็กให้มารับบริการในรอบถัดไป ตั้งแต่วันที่ 29 เมษายน 2559 เริ่มให้ bOPV 23-28 เม.ย.58 งดให้ tOPV ครั้งที่ 1-5 (ถ้าตรงนัด WBC ให้เลื่อนนัด) และเก็บ tOPV กลับไปยัง CUP เพื่อทำลาย

การให้บริการ สังเกตอาการภายหลังได้รับวัคซีนอย่างน้อย 30 นาที เก็บขวดวัคซีนที่เปิดใช้แล้วในตู้เย็นอย่างน้อย 7 วัน ทิ้งวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้แล้ว - ทิ้งเข็ม + ไซริงค์ในภาชนะพลาสติกหนาที่เข็มไม่สามารถแทงทะลุได้ - รวบรวม tOPV ส่งคลังวัคซีน ภายในวันที่ 25 เม.ย. 59 เพื่อรอทำลาย 3. สังเกตอาการภายหลังได้รับวัคซีนอย่างน้อย 30 นาที 4. ทิ้งวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้แล้ว - ไม่ควรดึงเข็มจากไซริงค์ ควรนำไซริงค์ที่มีเข็มติดอยู่ทิ้งลงในภาชนะพลาสติกหนาที่เข็มไม่สามารถแทงทะลุได้ รวมทั้งอุปกรณ์อื่น ที่ใช้ในการให้วัคซีน ให้เก็บรวบรวมไว้แล้วทำลายแบบขยะติดเชื้อ เนื่องจากกระบวนการปรับเปลี่ยนการใช้วัคซีนโปลิโอในครั้งนี้ จะต้องทำลายวัคซีน tOPV ให้หมดไปภายในวันที่ 28 เม.ย. 2559 วันที่ 1 ถึง 22 เม.ย. เมื่อให้บริการฉีดวัคซีนแล้ว ขอให้รวบรวม tOPV ส่งคลังวัคซีน ภายในวันที่ 25 เม.ย. 59 เพื่อนำส่งต่อไป สสจ เพื่อทำลายให้เสร็จสิ้นภายในวันที่ 28 เม.ย. 59 ส่ง Unopened vial คลังวัคซีน ร.พ. Opened vial

อาการภายหลังรับวัคซีน IPV  อาการเฉพาะที่ : ปวด (13%) บวม (1%) แดง (3.2%)  อาการระบบต่าง ๆ  ไข้สูง > 39 0 C (0-4.2%)  ไม่สบายตัว ซึม หงุดหงิด และร้องไห้กวน  เบื่ออาหาร อาเจียน  GBS : ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับวัคซีน IPV อุบัติการณ์ ไม่แตกต่างจากการได้รับ DTP อย่างเดียว 3. สังเกตอาการภายหลังได้รับวัคซีนอย่างน้อย 30 นาที 4. ทิ้งวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้แล้ว - ไม่ควรดึงเข็มจากไซริงค์ ควรนำไซริงค์ที่มีเข็มติดอยู่ทิ้งลงในภาชนะพลาสติกหนาที่เข็มไม่สามารถแทงทะลุได้ รวมทั้งอุปกรณ์อื่น ที่ใช้ในการให้วัคซีน ให้เก็บรวบรวมไว้แล้วทำลายแบบขยะติดเชื้อ เนื่องจากกระบวนการปรับเปลี่ยนการใช้วัคซีนโปลิโอในครั้งนี้ จะต้องทำลายวัคซีน tOPV ให้หมดไปภายในวันที่ 28 เม.ย. 2559 วันที่ 1 ถึง 22 เม.ย. เมื่อให้บริการฉีดวัคซีนแล้ว ขอให้รวบรวม tOPV ส่งคลังวัคซีน ภายในวันที่ 25 เม.ย. 59 เพื่อนำส่งต่อไป สสจ เพื่อทำลายให้เสร็จสิ้นภายในวันที่ 28 เม.ย. 59

การให้บริการ ติดตามเด็กกลุ่มเป้าหมายที่ไม่มารับวัคซีน IPV

การบันทึกข้อมูล 1. บันทึกข้อมูลการให้วัคซีนรายบุคคล รวมทั้งเลขที่วัคซีน (lot.no.) และ ลำดับขวดวัคซีน เพื่อตรวจสอบกรณีเกิด AEFI 2. บันทึกการได้รับวัคซีน IPV และ OPV ในสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก 3. บันทึกการให้บริการวัคซีน IPV และ OPV เป็นรายบุคคลผ่านฐานข้อมูล 43 แฟ้ม

บันทึกข้อมูลการให้วัคซีนรายบุคคล การบันทึกข้อมูล บันทึกข้อมูลการให้วัคซีนรายบุคคล รวมทั้งเลขที่วัคซีน (lot.no.) และ ลำดับขวดวัคซีน เพื่อตรวจสอบกรณีเกิด AEFI IPV เด็ก 4 เดือน 4

การบันทึกข้อมูล IPV

การบันทึกข้อมูล 1. บันทึกข้อมูลการให้วัคซีนรายบุคคล รวมทั้งเลขที่วัคซีน (lot.no.) และ ลำดับขวดวัคซีน เพื่อตรวจสอบกรณีเกิด AEFI 2. บันทึกการได้รับวัคซีน IPV และ OPV ในสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก 3. บันทึกการให้บริการวัคซีน IPV และ OPV เป็นรายบุคคลผ่านฐานข้อมูล 43 แฟ้ม

บันทึกการได้รับวัคซีน บันทึกการได้รับวัคซีน IPV ในสมุดสีชมพู การบันทึกข้อมูล 16 สค 58 16 สค 58 บันทึกการได้รับวัคซีน IPV และ OPV ในสมุดบันทึก สุขภาพแม่และเด็ก 22 ตค 58 24 ธค 58 24 ธค 58 IPV 4 เดือน บันทึกการได้รับวัคซีน IPV ในสมุดสีชมพู

การบันทึกข้อมูล 1. บันทึกข้อมูลการให้วัคซีนรายบุคคล รวมทั้งเลขที่วัคซีน (lot.no.) และ ลำดับขวดวัคซีน เพื่อตรวจสอบกรณีเกิด AEFI 2. บันทึกการได้รับวัคซีน IPV และ OPV ในสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก 3. บันทึกการให้บริการวัคซีน IPV และ OPV เป็นรายบุคคลผ่านฐานข้อมูล 43 แฟ้ม

การบันทึกข้อมูล รหัสวัคซีน IPV-P ครั้งที่ 1 ใช้เลขรหัสวัคซีน 401 OPV ครั้งที่ 1 ใช้เลขรหัสวัคซีน 081 OPV ครั้งที่ 2 ใช้เลขรหัสวัคซีน 082 OPV ครั้งที่ 3 ใช้เลขรหัสวัคซีน 083 OPV ครั้งที่ 4 ใช้เลขรหัสวัคซีน 084 OPV ครั้งที่ 5 ใช้เลขรหัสวัคซีน 085 ICD-10-TM ใช้รหัส Z24.0

การจัดทำรายงาน เด็กกลุ่มเป้าหมายต้องได้รับวัคซีนโปลิโอ ครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ทุกพื้นที่ (หมู่บ้าน/ตำบล/อำเภอ/จังหวัด) 1. กลุ่มอายุครบ 1 ปี ประเมินการได้รับวัคซีนโปลิโอครบ 3 ครั้ง 2. กลุ่มอายุครบ 2 ปี ประเมินการได้รับวัคซีนโปลิโอครั้งที่ 4 การจัดทำรายงาน ขอให้สถานบริการจัดทำรายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนโปลิโอเป็นรายไตรมาสเพื่อประเมินผลการป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่ ซึ่งกำหนดให้เด็กกลุ่มเป้าหมายต้องได้รับวัคซีนโปลิโอ ครอบคลุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ทุกพื้นที่ (หมู่บ้าน/ตำบล/อำเภอ/จังหวัด) กลุ่มอายุครบ 1 ปี ประเมินการได้รับวัคซีนโปลิโอครบ 3 ครั้ง กลุ่มอายุครบ 2 ปี ประเมินการได้รับวัคซีนโปลิโอครั้งที่ 4 กลุ่มอายุครบ 5 ปี ประเมินการได้รับวัคซีนโปลิโอครั้งที่ 5 3. กลุ่มอายุครบ 5 ปี ประเมินการได้รับวัคซีนโปลิโอครั้งที่ 5

จำนวนเด็กอายุครบ 1 ปี ในพื้นที่ที่รับผิดชอบทั้งหมดที่อาศัยอยู่จริง การจัดทำรายงาน กลุ่มอายุครบ 1 ปี ประเมินการได้รับวัคซีนโปลิโอครบ 3 ครั้ง อัตราความครอบคลุม ของการได้รับวัคซีน โปลิโอครบ 3 ครั้ง ใน เด็กอายุครบ 1 ปี จำนวนเด็กอายุครบ 1 ปี ในพื้นที่ที่ได้รับวัคซีนโปลิโอครบ 3 ครั้ง X 100 = จำนวนเด็กอายุครบ 1 ปี ในพื้นที่ที่รับผิดชอบทั้งหมดที่อาศัยอยู่จริง ในช่วงเวลาที่กำหนด

IPV-P ครั้งที่ 1 ใช้เลขรหัสวัคซีน 401 ICD-10-TM ใช้รหัส Z24.0 สรุป 1 ธ.ค. 58 เริ่มให้วัคซีน IPV ในเด็ก 4 เดือนร่วมกับ Trivalent OPV IPV ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ขนาด 0.5 มล. เก็บที่ +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส 23 - 28 เม.ย. 59 ช่วงเก็บกลับทำลาย ไม่ให้วัคซีน Trivalent OPV เลื่อนนัดเด็กไปก่อน 29 เม.ย. 59 เริ่มให้วัคซีน IPV ร่วมกับ Bivalent OPV ครั้งแรก Bivalent OPV ให้หยอด 2-3 หยด IPV-P ครั้งที่ 1 ใช้เลขรหัสวัคซีน 401 ICD-10-TM ใช้รหัส Z24.0 ดูความครอบคลุมการได้รับวัคซีนโปลิโอชนิดรับประทาน เช่นเดิม

THANK YOU