ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค 08/12/61 ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค ด้วยความยินดียิ่ง ตุลาคม 2558 วันพุธที่ 26 สิงหาคม 2558 เวลา 10.00 – 14.00 น. ณ ห้องประชุมประเมินจันทวิมล อาคาร 1 ชั้น 1 กรมควบคุมโรค
กรมควบคุมโรค กราบเรียน ท่านประธานและคณะกรรมาธิการทุกท่านที่เคารพ 08/12/61 กรมควบคุมโรค นพ. อำนวย กาจีนะ อธิบดีกรมควบคุมโรค กราบเรียน ท่านประธานและคณะกรรมาธิการทุกท่านที่เคารพ กระผม นายแพทย์โสภณ เมฆธน อธิบดีกรมควบคุมโรค พร้อมด้วย รองอธิบดีฯ และคณะผู้บริหารของกรมควบคุมโรค ขอเรียนชี้แจงข้อมูลประกอบการพิจารณา งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ของกรมควบคุมโรค ดังนี้ รองอธิบดี (โรคจากการประกอบอาชีพ) นพ.โอภาส การย์กวินพงศ์ รองอธิบดี (โรคติดต่อ) นพ.ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดี (บริหาร) นพ.อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี (โรคไม่ติดต่อและภัยสุขภาพ) 2
วิสัยทัศน์ กรมควบคุมโรค “เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายใน ปี 2563 ” โครงสร้างส่วนราชการ 13 รวมทั้งสิ้น 5,868 อัตรา ข้าราชการ 3,164 อัตรา ลุกจ้างประจำ 1,821 อัตรา พนักงานราชการ 883 อัตรา อัตรากำลัง* 26 13 2 08/12/61 *ข้อมูล : กองการเจ้าหน้าที่ ณ เดือนพฤษภาคม 2558
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 โครงสร้างระบบงาน กรมควบคุมโรค CD NCD Env Occ บริหาร วิชาการอื่นๆ สำนักงานเลขานุการกรม กองแผนงาน สำนักระบาดวิทยา สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม CD acute สำนักควบคุม การบริโภคยาสูบ กองคลัง กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานบริหารกองทุนโลก สำนักโรคติดต่อทั่วไป ศูนย์กฎหมาย กลุ่มตรวจสอบภายใน ศูนย์อบรม(พระพุทธบาท) สถาบันราชประชาสมาสัย สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ สำนักโรคไม่ติดต่อ ศูนย์สารสนเทศ สำนักสื่อสารความเสี่ยงและ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักคณะ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ CD chronic สำนักงานจัดการความรู้ กลุ่มคุ้มครองจริยธรรม สำนักวัณโรค ศูนย์พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สำนักความร่วมมือระหว่างประเทศ สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ อัตรากำลัง รวมทั้งสิ้น 5,868 อัตรา ข้าราชการ 3,164 อัตรา ลุกจ้างประจำ 1,821 อัตรา พนักงานราชการ 883 อัตรา สถาบันบำราศนราดูร
เป้าหมายการจัดการลดปัญหาโรคและภัยสุขภาพ Poliomyelitis รักษาสถานะปลอดโปลิโอ(ประเทศไทยปลอดโปลิโอตั้งแต่ปี 2540) Measles ปี 2563 ผู้ป่วยหัดไม่เกิน 1 ต่อ ประชากรล้านคน (66 ราย) Rabies ปี 2563 ไม่พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า โรคติดต่อสำคัญ Leprosy ปี 2563 ผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ไม่เกิน 100 ราย Malaria ปี 2563 ร้อยละ 98 ของอำเภอทั่วประเทศไม่มีผู้ป่วยมาลาเรียติดเชื้อในพื้นที่ AIDS ปี 2573 ยุติปัญหาเอดส์ คือ ไม่มีเด็กคลอดมาติดเชื้อ และผู้ใหญ่ ติดเชื้อรายใหม่ ไม่เกินปีละ 1,000 ราย เป้าหมาย การจัดการลดปัญหาโรคภัยสุขภาพ และระบบควบคุมโรค TB ปี 2562 ลดผู้ป่วยวัณโรคไม่เกิน 136 ต่อแสนประชากร อุบัติเหตุจราจร ปี 2563 ควบคุมอัตราตายลดลง 50% จากปี 2554 โรคไม่ติดต่อ NCD ปี 2568 ลดตายก่อนวัยอันควรจากโรค NCDs ให้เหลือไม่เกิน 12% ระบบควบคุมโรค แอลกอฮอล์ ปี 2568 ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์(total APC) เหลือไม่เกิน 6.4 ลิตร/คน/ปี ควบคุมปัจจัยเสี่ยง ยาสูบ ปี 2568 ลดความชุกของการบริโภคยาสูบเหลือไม่เกิน 16.8 % ความดันโลหิตสูง ปี 2568 ลดภาวะความดันโลหิตสูงเหลือไม่เกิน 16.7 % เบาหวาน ปี 2568 ภาวะเบาหวานเหลือไม่เกิน 6.9 % Env-Occ ภาคเกษตรกรรม ปี 2563 อัตราป่วยด้วยโรคพิษสารกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกรไม่เกิน 9 ต่อแสนประชากร
วิสัยทัศน์กรมควบคุมโรค เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายในปี 2563 ยุทธ ศาสตร์ ค่านิยมองค์การ I SMART พัฒนา ร่วมมือกับเครือข่ายภาคีภายในและนานาชาติ พัฒนานวัตกรรม มาตรการ มาตรฐานและวิชาการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ สื่อสารสาธารณะ ประชาสัมพันธ์ ทั่วถึง ได้ผล เตรียมพร้อม ตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉิน ภัยพิบัติอย่างรวดเร็ว บริหารจัดการองค์กรแนวใหม่ พัฒนาบทบาทการนำด้านนโยบายและยุทธศาสตร์การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ที่เป็นหลักของประเทศ Integrity Service mind Mastery/ Expertise Achievemt motivation Relationship Teamwork
แผนภาพสายโซ่แห่งคุณค่า (Value Chain) กรมควบคุมโรค พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย ทบทวนสถานการณ์และสภาพปัญหา เพื่อกำหนดทิศทาง นโยบาย ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย Key Process ระบบเฝ้าระวัง นวัตกรรม พัฒนามาตรฐาน / กฎหมาย Quality/Value Target Group Outcome ประชาชน ลดเสี่ยง ลดโรค ลดตาย สร้างเครื่องมือ เฝ้าระวัง กลุ่มเสี่ยง 1. ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข กลุ่มวัย ป้องกัน เตรียมพร้อม กลุ่มโรค ควบคุม สร้างและพัฒนาเครือข่าย การสื่อสารความเสี่ยง บังคับใช้กฎหมาย บริการในกลุ่มเป้าหมายพิเศษ พื้นที่กลุ่มเป้าหมาย สื่อสาร/ขับเคลื่อน กลุ่มเครือข่าย เขตบริการสุขภาพ ปี 2558 ได้รับรางวัลหมวด 6 กพร.
เป้าหมายการพัฒนาระบบควบคุมโรค ระบบเฝ้าระวัง บูรณาการระบบเฝ้าระวังโรค (5 ระบบ 5 มิติ) พยากรณ์โรค พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาเจ้าหน้าที่ทุกระดับ สามารถจัดการระบบเฝ้าระวังได้ ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉิน พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข (Emergency Operations Center) ทีมติดตามข่าวสารและประเมินสถานการณ์ด้านสุขภาพ (Situation Awareness Team) การพัฒนาทีมสอบสวนโรคสหสาขา (Joint Investigation Team) กฎอนามัยระหว่างประเทศ ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ควบคุมโรคและภัยในพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ระบบควบคุมโรคและภัย ปี 2559 ถ่ายทอดเชื่อมโยงไปยัง เขตสุขภาพ/จังหวัด/อำเภอ ปี 2559 ถ่ายทอดเชื่อมโยงไปยัง เขตสุขภาพ/จังหวัด/อำเภอ ระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค 5 ระบบ => CD NCD Env. Occ. Injury HIV/AIDS 5 มิติ => อัตราป่วย/ตาย พฤติกรรมเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง เหตุการณ์ผิดปกติ และมาตรการสำคัญ ครอบคลุมถึง ASEAN Migrants ช่องทางเข้าออก ระบบเฝ้าระวังช่องทาง เข้าออกประเทศ ระบบบริหารจัดการ สมรรถนะช่องทางเข้าออก ประชากรต่างด้าว พัฒนาระบบข้อมูลประชากรต่างด้าว จัดให้ประชากรต่างด้าวเข้าถึงบริการป้องกันควบคุมโรคขั้นพื้นฐาน สุขภาวะชายแดน พัฒนาจังหวัดสุขภาวะชายแดนตามกรอบกฎอนามัยระหว่างประเทศ
DC SYSTEM Surveillance JIT EOC (Mega project) พ.ศ. 2560 – 2567 3. แผนยกระดับความมั่นคงและความเป็นเลิศด้านควบคุมโรคของประเทศ (Mega project) พ.ศ. 2560 – 2567 งบประมาณรวมทั้งสิ้น 2,665.97 ลบ รอเสนอ ครม เห็นชอบ Non-communicable disease Travel & Migration DC SYSTEM DC System for National Security Excellence Center JIT Surveillance EOC Agriculture/ Industry Occupational Health Special Setting/Pop Point of entry /Border Health /Migrant Acute/Chronic Infectious diseases Environmental Medicine Regional Disease Control ( Public Health lab) Vaccine Security Infrastructure HRP/HRD International Training Center International Research Center Information Technology Equipment/ Laboratory แผนยกระดับความมั่นคงและความเป็นเลิศด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ. 2558 – 2562 1) เป้าประสงค์หลัก คือ ระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศที่มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน 2) ประกอบด้วย 1) แผนงานพัฒนาระบบควบคุมโรคเพื่อความมั่นคงของประเทศ (Disease Control System for National Security) 2) แผนงานพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (Excellence Center for Disease Control) 3) แผนงานสนับสนุนการพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ได้แก่ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์การอบรมระหว่างประเทศ (International Training Center) และศูนย์การวิจัยระหว่างประเทศ (International Research Center) 3) ขั้นตอนการจัดทำแผนยกระดับประสิทธิภาพและพัฒนาสู่ความยั่งยืนด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ. 2558 – 2562 ได้แก่ 1) กำหนดภาพอนาคตที่พึงประสงค์ วิเคราะห์สถานการณ์ และหาส่วนขาด 2) ระบุความต้องการ/ความจำเป็นที่จะลงทุน 3) กำหนดเป็นแผนปฏิบัติการเพื่อการลงทุน โดยจำแนกรายการการลงทุนเป็นรายปี หมายเหตุ: EOC หมายถึง Emergency Operation Center หรือศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข JIT หมายถึง Joint Investigation Team หรือทีมสอบสวนโรคสหสาขา
แผนการดำเนินงานปี 2559 เป้าหมายการจัดการลดโรคและภัยสุขภาพที่สำคัญ 25 แผนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 6 แผนงานพัฒนาระบบสนับสนุนแผนงานป้องกันควบคุมโรคและภัย แผนยกระดับความมั่นคงและความเป็นเลิศด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ. 2560 – 2564 (Mega project)
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2559-60
นพ.โอภาส การย์กวินพงศ์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค โครงการควบคุมหนอนพยาธิ * ควบคุมโรคพยาธิใบไม้ในตับและพยาธิปากขอในพื้นที่เสี่ยง * ควบคุมหนอนพยาธิ + มาลาเรียตามโครงการพระราชดำริฯ 2. ขับเคลื่อนงานภายใต้ พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ 2558 * ร่างอนุบัญญัติ * คณะกรรมการจังหวัด 3. สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค * EPI /หัด / dT /IPV * Vaccine survey 4. จังหวัดชายแดน * มาลาเรีย (817 อำเภอ) * แรงงานต่างด้าว (Lisnamia ,EPI) * เท้าช้าง 5. ระบบควบคุมโรค Twin city : * Twin city * เขตเศรษฐกิจพิเศษ : ช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศฯ ที่ได้มาตรฐาน 23 ด่าน/clinic travel medicine /One Health
โครงการตามพระราชดำริฯ โรคหนอนพยาธิ โรคในถิ่นทุรกันดาร โครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิ ในแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารและพื้นที่ในแผนภูฟ้าพัฒนา ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีปี พ.ศ. 2545 - 2559 พื้นที่แผนการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร เรียกโดยย่อว่า แผน กพด. มีพื้นที่ดำเนินการ 52 จังหวัดทั่วประเทศ จำนวน 841 โรงเรียน สถานการณ์ปี 2557 อัตราชุกของโรคหนอนพยาธิลำไส้ของนักเรียนในโครงการตามพระราชดำริฯ เท่ากับร้อยละ 11.3 ซึ่งลดลงจากปี 2556 (ร้อยละ 13.4) และ ปี 2558 อัตราชุกของโรคหนอนพยาธิเท่ากับร้อยละ 7.1 (ข้อมูล ณ วันที่ 10 ตุลาคม 2558) หนอนพยาธิที่พบส่วนใหญ่เป็นพยาธิไส้เดือน แส้มา และปากขอ พบความชุกมากใน สังกัด ศศช.(กศน.) ตชด. และ สพฐ. ตามลำดับ
โครงการตามพระราชดำริฯ เป้าหมาย.. ลด อัตราความชุกของโรคหนอนพยาธิภาพรวมประเทศให้ < ร้อยละ 5 และพื้นที่ทุรกันดารให้ < ร้อยละ 10 ลด อัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียของประเทศ (ตามบริบทพื้นที่) ร้อยละ 20 มาตรการ 1.ค้นหาโรคหนอนพยาธิโดยการตรวจอุจจาระ ค้นหาโรคมาลาเรียด้วยวิธี RDT 2.การรักษาเมื่อตรวจพบผู้ป่วยทันที 3. การพัฒนาบุคลากรในการควบคุมโรคหนอนพยาธิและโรคมาลาเรีย เป็นเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เจ้าหน้าที่ทางการศึกษาโดยคัดเลือกพื้นที่ 4. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของโรงเรียนและชุมชน 5. ติดตามประเมินผล
ระบบเฝ้าระวัง : การตรวจจับโรคติดต่ออันตราย /โรคระบาด คกก.โรคติดต่อแห่งชาติ -นโยบาย/แผนปฏิบัติการ รัฐมนตรี ออกประกาศ : โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง : โรคติดต่ออันตราย กรมควบคุมโรค ระบบเฝ้าระวังของประเทศ คกก.โรคติดต่อจังหวัด ระบบเฝ้าระวังของจังหวัด แหล่งข้อมูลต่างๆ -หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ -จพง. ควบคุมโรคติดต่อ - คณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก -จพง. ควบคุมโรคติดต่อ คกก. วิชาการ สอบสวน/ควบคุมโรค
๘ กันยายน ๒๕๕๘ ๖ มีนาคม ๒๕๕๙ ๕ มีนาคม ๒๕๖๐ ๑๘๐ วัน ๓๖๕ วัน ระยะเตรียมการ พ.ร.บ. ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา มีผลบังคับใช้ ต้องจัดทำ อนุบัญญัติ แล้วเสร็จ ๑๘๐ วัน ๓๖๕ วัน จัดทำแผนงาน / กิจกรรม / งบประมาณ (รายละเอียดตามเอกสารประกอบหมายเลข ๑) จัดทำอนุบัญญัติ ๒๒ ฉบับ (รายละเอียดตามเอกสารประกอบหมายเลข ๒) ตั้งคณะกรรมการดำเนินงานรับรองพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ และคณะอนุกรรมการ ๔ คณะ ด้านนโยบายแผนปฏิบัติการ ด้านวิชาการ กฎหมาย บริหารจัดการ จัดทำร่าง นโยบาย ระบบ แผนปฏิบัติการ แนวทางปฏิบัติ จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ เพื่อเผยแพร่ หน่วยงานในกรม หน่วยงานอื่น ประชาชน จัดประชุม เสวนา ชี้แจงกฎหมาย หน่วยงานในกรมควบคุมโรค ส่วนกลาง สคร. หน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงฯ / สสจ. กรมการแพทย์ กรมอนามัย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรุงเทพมหานคร หน่วยงานของรัฐอื่นๆ(ส่วนกลาง) / สภาวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานของรัฐอื่นๆ (ส่วนภูมิภาค) เสนอรัฐมนตรีให้ออกอนุบัญญัติ กฎกระทรวง ประกาศ ระเบียบ เตรียมข้อมูลเพื่อจัดทำอนุบัญญัติ เตรียมข้อมูลเพื่อจัดทำนโยบาย ระบบ แผนปฏิบัติการ และแนวทางปฏิบัติ ขับเคลื่อนสู่ภาคปฏิบัติ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพฯ หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ ( SRRT ) คณะทำงานประจำ ช่องทางเข้าออก ประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ เพื่อ ให้ความเห็นชอบ นโยบาย ระบบ แนวทางปฏิบัติ แผนปฏิบัติการ (เสนอ ครม. ให้ความเห็นชอบ) ตั้งคณะกรรมการวิชาการ ออกอนุบัญญัติที่อยู่ในอำนาจของกรรมการ ตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จัดประชุมเสวนาชี้แจง จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ เพื่อเผยแพร่ หน่วยงานภายในกรม หน่วยงานของรัฐอื่นๆ ประชาชน เสนออธิบดีออกประกาศหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการเข้าไปในพาหนะ อาคาร หรือสถานที่ใด ติดตามและประเมินผล แต่งตั้งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
แนวทางการพัฒนา EOC กรมควบคุมโรค
Ongoing STRENGTHENING of routine immunization services Objective 2 of the plan addresses the Endgame through three distinct stages Introduce at least one dose of IPV into routine immunization Switch tOPV to bOPV Withdraw bOPV & routine OPV use 2019-2020 2016 Before end 2015 Ongoing STRENGTHENING of routine immunization services
Timeline Dec Apr Switch Mar B-OPV at cup t-OPV recall Nov Oct Sep Jan IPV 1 province Apr Switch Mar B-OPV at cup t-OPV recall Switch validation Nov Oct Sep b-OPV licensed IPV nation wide Procure IPV Training IPV Jan Feb Training switch
ประเทศไทยปลอดจากโรคมาลาเรีย (Malaria elimination) วิสัยทัศน์ Vision ประเทศไทยปลอดจากโรคมาลาเรีย (Malaria elimination) ภายในปี พ.ศ.2567 (ค.ศ.2024) เป้าหมาย Purpose ระยะสั้น : อำเภอที่ไม่มีการแพร่เชื้อมาลาเรีย ภายในปี พ.ศ.2562 (ค.ศ.2019) (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ของอำเภอทั้งหมด) ระยะยาว : ทุกอำเภอของประเทศไทยปลอดจากการแพร่เชื้อมาลาเรีย (Malaria Elimination) ภายในปี พ.ศ.2567 (ค.ศ.2024) พันธกิจ Mission กำจัดเชื้อมาลาเรียที่ดื้อต่อยารักษา เร่งรัดการกำจัดโรคมาลาเรียโดย ใช้มาตรการที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ เพิ่มการเข้าถึงบริการในกลุ่ม ประชากรเสี่ยง พัฒนาการมีส่วนร่วมทั้งในและต่างประเทศ ยุทธศาสตร์ 1. เร่งรัดกำจัด การแพร่เชื้อ มาลาเรียใน ประเทศไทย 2. พัฒนา เทคโนโลยี นวัตกรรม มาตรการ และ รูปแบบที่ เหมาะสม ใน การกำจัดโรคไข้ มาลาเรีย 3. สร้างความ ร่วมมือระหว่าง ภาคีเครือข่าย ระดับประเทศ และระดับ นานาชาติ เพื่อขับเคลื่อน งานกำจัดโรค ไข้มาลาเรีย 4. ส่งเสริมให้ ประชาชนมี ศักยภาพในการ ดูแลตนเองจาก โรคไข้มาลาเรีย
New Approaches: Malaria 1. Improve Case Management to contain/eliminate drug resistance malaria ให้ผู้ป่วยกินยาต่อหน้า (DOT) ทั้งชนิดเชื้อ P.falciparum และ P. Vivax เพื่อให้แน่ใจว่ากินยาครบ ติดตามผู้ป่วยหลังการกินยา (ด้วยกล้องจุลทรรศน์) เพื่อตรวจเลือดให้แน่ใจว่าไม่มีเชื้อมาลเรียหลงเหลือยู่แล้ว หรือ หากมีอยู่ต้องจัดการอย่างรีบด่วน เพิ่มสถานบริการตรวจรักษามาลาเรีย เพื่อเพิ่มช่องทางการเข้าถึงบริการของประชาชนด้อยโอกาส ในพื้นที่ถึงระดับหมู่บ้านที่มีไข้มาลาเรียแพร่เชื้อ (malaria post) รวมทั้งบริเวณชายแดนที่มีการเคลื่อนย้ายของประชากรต่างชาติ (Border Malaria Post) ซึ่งการรักษาให้รวดเร็วจะช่วยลดโอกาสการแพร่เชื้อและเชื้อดื้อยา 2. Accelerate Malaria Elimination Activities จัดทำโครงการนำร่องกำจัดโรคไข้มาลาเรีย ณ จังหวัดอุทัยธานี (พื้นที่ไข้ต่ำมาก) และจังหวัดระนอง (พื้นที่ไข้ปานกลาง แต่มีปัญหาการเคลื่อนย้ายแรงงานต่างชาติ) โดยมีการดำเนินกิจกรรมการกำจัดมาลาเรียและจะมีการประเมินผลโครงการ เพื่อนำเป็นบทเรียนต่อไป จัดทำยุทธศาสตร์กำจัดโรคไข้มาลาเรียของประเทศไทย ตามแนวทางขององค์การอนามัยโลก ขยายระบบเฝ้าระวัง (Web based surveillance) ที่ทันสมัย มีข้อมูลที่ครอบคลุมเพื่อตรวจจับสถานการณ์ไข้ในพื้นที่ เน้นมาตรการป้องกันตนเองจากยุงพาหะ เช่น การนอนในมุ้งชุบสารเคมี (พื้นที่ไข้ อัตราความครอบคลุมของการใช้มุ้ง = 1.8 คนต่อมุ้ง 1 หลัง) การพ่นเคมี (พื้นที่ไข้หรือระบาด) เพิ่มศักยภาพของเจ้าหน้าที่และชุมชนในการกำจัดโรคไข้มาลาเรีย จัดเตรียมแผนงบประมาณหลังสิ้นสุดการสนับสนุนจากโครงการกองทุนโลก ซึ่งเป็นแผนสามโรคร่วมกันคือ AIDs, Tb และ Malaria (ATM)
เป้าหมายจำนวนอำเภอกำจัดโรคมาลาเรีย ปี 2567
เป้าหมายการลดโรคมาลาเรีย ค่าเป้าหมายปี 2559 หน่วย นับ รวม สคร.1 สคร.2 สคร.3 สคร.4 สคร.5 สคร.6 สคร.7 สคร.8 สคร.9 สคร.10 สคร.11 สคร.12 สคร.13 จำนวนอำเภอทั้งหมด อำเภอ 928 103 47 54 70 62 69 77 87 88 74 50 เป้าหมายอำเภอปี 2559 817 42 52 43 60 85 40 64 เป้าหมาย 3 เดือน เป้าหมาย 6 เดือน เป้าหมาย 12 เดือน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษของประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 คำสั่ง คสช.ที่72/2557 เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ นโยบายรัฐบาล ข้อ 7 การส่งเสริมบทบาทและการใช้โอกาสในประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษของประเทศ ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสาธารณสุขเพื่อรองรับ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ.2559-2563 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านสาธารณสุข และระบบบริการสุขภาพให้สอดคล้องกับปัญหาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาและสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ การควบคุม ป้องกันและเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ อนามัยสิ่งแวดล้อม รวมทั้งคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพต่างด้าว ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการด้านสุขภาพ ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
ระบบควบคุมโรคในเขตเศรษฐกิจพิเศษ 10 จังหวัด พัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพ การควบคุม ป้องกันและเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ฯ -พัฒนาระบบเฝ้าระวัง/ประเมินความเสี่ยง - พัฒนาสมรรถนะช่องทางฯ (23 แห่ง) - พัฒนากลไกการสื่อสารความเสี่ยง - พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายOneHealth / Twins city - พัฒนาระบบ IC ในโรงพยาบาล - เตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน - พัฒนาระบบควบคุมโรค พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน - ด่านควบคุมโรคฯ - คลินิกเวชศาสตร์การเดินทาง ระบบบริการสุขภาพ : - ระบบส่งต่อผู้ป่วยข้ามพรมแดน - พัฒนาบุคลากรด้านระบาดวิทยา, อาชีวอนามัย, IC,TM พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพต่างด้าว - สร้างเครือข่าย อสม, อสต, อปท, ผู้ประกอบการ -อาชีวอนามัย, AIDs , STD, TB, vaccine พัฒนาการบริหารจัดการด้านสุขภาพ -พัฒนาฐานข้อมูลโรคในประชากรต่างด้าว -พัฒนากลไกติดตาม ประเมินผล
ประเด็นบูรณาการ : เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ปี 2559 เป้าหมาย 10 จังหวัดในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ได้รับการพัฒนา ศักยภาพในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เพื่อเพิ่มความมั่นใจในการลงทุนแก่นานาชาติ ประเด็นยุทธศาสตร์ ระยะเวลา ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบบริการสุขภาพ - สำนักงานด่าน 2 แห่ง (นราธิวาส/ กาญจนบุรี) - วัสดุอุปกรณ์/ครุภัณฑ์ 23 แห่ง พัฒนาบุคลากรด้าน IC / TM / อาชีวอนามัย / AIDS - คลินิกเวชศาสตร์การเดินทาง - ระบบส่งต่อผู้ป่วยข้ามพรมแดน พัฒนาและสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ การควบคุม ป้องกันและเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพฯ ระบบเฝ้าระวัง/ประเมินความเสี่ยงที่เป็นปัญหาในพื้นที่ ประเมินความพร้อมด้าน IC 5 จังหวัด กลไกและรูปแบบการสื่อสารความเสี่ยง ซ้อมแผนฉุกเฉินฯ EID ศักยภาพภาคีเครือข่าย One Health / Twins city / IC กลไกการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ ระบบควบคุมโรค ช่องทางฯ ผ่านตามเกณฑ์ IHR พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพประชากรต่างด้าว - ระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค EnvOcc - สร้างเครือข่าย อสม, อสต, อปท, ผู้ประกอบการ ระบบการดูแลสุขภาพอาชีวอนามัย, AIDs , STD, TB แนวทางการให้บริการวัคซีนในประชากรต่างด้าว - ข้อเสนอเชิงนโยบาย พัฒนาการบริหารจัดการด้านสุขภาพ ฐานข้อมูล EnvOcc ในประชากรต่างด้าว