การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่ ๔ ภาค โครงการความร่วมมือขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมในระดับตำบล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการสหกิจศึกษา สัมพันธ์ ศิลปนาฎ Cooperative Education Program
Advertisements

1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
การกระทำเกี่ยวกับคะแนน
Before Action Review (BAR)
โครงงาน คุณธรรมจริยธรรมในชั้นเรียน
การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
นางสาวสรัญญา ชื่นเย็น (พี่ออย) เจ้าหน้าที่ศูนย์นวัตกรรมการจัดการ อ.ก้องภู นิมานันท์ อาจารย์ที่ปรึกษา 1.น.ส.นพรัตน์ ปฏิกรณ์ (คุ๊กกี้) นายบุรินทร์
LOGO แนวทางการดำเนินงานการจัดการศึกษาตาม หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ( ปรับปรุง 2559)
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก
การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ Moderate Class More Knowledge
คำขวัญ : เรื่องงานใหญ่ๆโตๆ มาติดเทอร์โบแล้วไปกับเรา
@ North South Initiative
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา ชุมชนศึกษาและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
Teaching Learning Community. Teaching Learning Community.
PLC : การพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
ระเบียบวาระการประชุม
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
ข้อมูลประกอบการประชุมผู้บริหารระดับสูง
ปรัชญา วิสัยทัศน์ ปณิธาน พันธกิจ
EASY CLEAR รวดเร็ว ฉับไว ใส่ใจ เรื่องเงิน
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน ของบ้านพักเด็กและครอบครัว ประจำปีงบประมาณ พ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
กลุ่ม 2 เทคนิคการบริหารหลักสูตรสู่ความเป็นเลิศ
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
แบบฟอร์มการบริหารโดยการควบคุมคุณภาพ (QCC) ดีเด่น ปี 2561
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
ส่วนส่งเสริมการกระจายอำนาจ สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง
รายละเอียดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร
โครงสร้างการทำงานภายใต้โครงการประชารัฐ
กระบวนการเรียกร้องสิทธิและการดำเนินคดีผู้บริโภค
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
แบบมาตรฐานระบบบำบัดน้ำเสียแบบได้ก๊าซชีวภาพ สำหรับฟาร์มสุกร
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
การวาดภาพทัศนียภาพคืออะไร
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
ระบบข้อมูลของโครงการสืบสานพระราชปณิธานต้านมะเร็งเต้านม
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
วิชา วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
สมุทรสงคราม -ว่าง- นายธีระชาติ ไทรทอง นางภาวดี ภูมรินทร์
ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมินจำนวน 3 แห่ง
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
4 กรกฎาคม 2556 ณ.โรงแรมเอเซีย แอร์พอร์ต จังหวัดปทุมธานี
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM )
International Marketing
แรงงานมีทักษะฝีมือสอดคล้องตาม ความต้องการในพื้นที่
พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่
การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
สร้างเครือข่ายในชุมชน
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
คัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ประจำปี 2562
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การบริหารบุคลากรด้านการเงิน และทรัพยากรในภาครัฐ
ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
แผนงานประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ภายหลังปี 2558 ( )
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  Knowledge Management Tools   วัตถุประสงค์ (เมื่อศึกษาเนื้อหาในหน่วยการเรียนแล้ว.
ใบงานกลุ่มย่อย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่ ๔ ภาค โครงการความร่วมมือขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมในระดับตำบล ปีที่ ๒ วันที่ ๑๐-๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมเบญจรัตน์ โรงแรมเอบิน่าเฮาส์ กรุงเทพมหานคร

วัตถุประสงค์ของการประชุม เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์และบทเรียนการพัฒนาระหว่างภูมิภาค เพื่อยกระดับการพัฒนางานสู่การพัฒนานโยบายสาธารณะและต่อยอดขยายผลในวงกว้าง Before Action Review During Action Review After Action Review

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มเป้าหมาย คณะทำงานภาคและคณะทำงานจังหวัด ๔ ภาคประกอบด้วย เชียงใหม่ ลำพูน เชียงราย แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน พะเยา ตาก ลำปาง ภาคเหนือ นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี กาญจนบุรี ภาคกลาง ขอนแก่น ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ มหาสารคาม มุกดาหาร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต พัทลุง ภาคใต้

สรุปภาพรวมการพัฒนากลไกและกระบวนการทำงาน เป็นกลไกเชิงเครือข่าย เสริมพลัง สร้างศักยภาพ เป็นพี่เลี้ยงซึ่งกันและกันได้ เป็นกลไกการทำงานที่มีความหลากหลาย เป็นกลไกที่มีชีวิต มีการเติมเต็มกระบวนการอยู่เสมอ มีการจัดการที่ดี มีข้อมูล รู้เท่าทันสถานการณ์ การพัฒนากระบวนการ สร้างบรรยากาศในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เปิดโอกาสให้พื้นที่ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในพื้นที่และข้ามพื้นที่ มีขับเคลื่อนการทำงานไปพร้อมๆ กัน ใช้พื้นที่เป็นเงื่อนไขในการออกแบบการทำงาน มีการฝึกการคิดเชิงระบบ เพื่อให้พื้นที่เห็นความเชื่อมโยงจากเรื่องหนึ่งไปสู่อีกเรื่องหนึ่งได้ สร้างการขยายผลโดยตัวของพื้นที่เอง มีการสื่อสาร เพื่อนำข้อมูลมาปรับใช้ในการทำงาน

บทเรียนจากการทำงาน การถอดบทเรียนทำให้เกิดการชักชวนคนในตำบลที่เกี่ยวข้องมารับรู้ปัญหาร่วมกัน เกิดการต่อยอดขยายผล เช่น ต่อยอดเป็นธรรมนูญตำบล หรือข้อตกลงร่วม เช่น จารีตตำบล มีการเชื่อมโยงกับเครือข่ายสมัชชาสุขภาพจังหวัดทั้งในขาขึ้นและขาเคลื่อน และมีการผลักดันการขับเคลื่อนนโยบายไปสู่ตำบลนั้นๆ สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ไขปัญหา ผลักดันไปสู่ยุทธศาสตร์หรือวาระของจังหวัด กระบวนการสร้างนโยบายสาธารณะฯ ของพื้นที่ จำเป็นต้องทำความเข้าใจบริบทของพื้นที่ เช่น ทุนเดิมที่มี กระบวนการทำงานในพื้นที่เป็นอย่างไร ประเด็นที่ทำควรสอดคล้องกับสุขและทุกข์ของพื้นที่ เป็นที่สนใจในวงกว้าง

การยกระดับสู่การพัฒนา(ให้เป็น) นโยบายสาธารณะฯ (กรณีที่ยังไม่เป็นนโยบายสาธารณะฯ) ทบทวนความเข้าใจกับพื้นที่เห็นว่าสิ่งที่ทำอยู่ๆ ในขั้นตอนใดของกระบวนการนโยบายสาธารณะ พัฒนากลไกเพื่อรอบรับการทำงาน สร้างการยอมรับ สร้างการมีส่วนร่วม ในการสร้างนโยบายสาธารณะ ใช้การวิจัยมาช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อจำแนกระหว่างสิ่งที่เป็นนโยบายกับกิจกรรมสาธารณะ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือ พัฒนาเครื่องมือ และประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ พัฒนาศักยภาพในเรื่องการคิดเชิงระบบ ใช้ภาษาง่ายๆ ในการสื่อสาร สร้างเป้าหมายร่วม เปลี่ยนกิจกรรมสาธารณะให้เป็นนโยบายสาธารณะ ขยายนิยาม HPP ให้เป็นนิยามตามบริบทของพื้นที่

การต่อยอดและขยายผลนโยบายสาธารณะฯ ในวงกว้างได้อย่างไร (กรณีที่เป็นนโยบายสาธารณะฯ อยู่แล้ว) เชื่อมเครือข่ายหาประเด็นร่วม (ค้นหา Connection Matching Mapping พื้นที่) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้ามพื้นที่/ ข้ามวัฒนธรรม ผลักดันให้เป็นวาระของจังหวัด มีการขยายผลเชื่อมโยงจากประเด็นหนึ่งไปสู่ประเด็นหนึ่ง มีพี่เลี้ยงในการเสริมกระบวนการทำงาน มีพื้นที่รูปธรรมเป็นพื้นที่เรียนรู้ มีการเสริมศักยภาพกลไก มีการสื่อสารอย่างมีพลัง ใช้ระบบ IT เข้ามาช่วยเพื่อให้กระบวนการนโยบายสาธารณะที่มีชีวิตชีวาและทันสมัย เช่น สมัชชาทางอากาศ

การแปลงแนวคิด... ไปสู่การปฏิบัติ มีโปรแกรมในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะตำบลอย่างต่อเนื่อง มีทีมพี่เลี้ยงในการสนับสนุนพื้นที่ (Coaching) มีพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีชุดความรู้ในการทำนโยบายสาธารณะแบบบ้านๆ มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้ามพื้นที่

สานเสริม เติมพลัง “แนวคิดและมุมมองการพัฒนา” นพ สานเสริม เติมพลัง “แนวคิดและมุมมองการพัฒนา” นพ.อำพล จินดาวัฒนะ เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ โครงการความร่วมมือขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมในระดับตำบล ปีที่ ๒ มีสิ่งที่ต้องทำความเข้าใจตรงกัน ดังนี้ ต้องแม่นในเรื่องการถอดบทเรียนเชิงนโยบายไม่ใช่ถอดบทเรียนกิจกรรม ตามคำนิยามเชิงปฏิบัติการ สิ่งที่ทำไม่ใช่การถอดอะไรก็ได้ แต่ต้องเน้นการถอดบทเรียนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมอย่างเป็นระบบ มาตรการนโยบายโดยทั่วไปนั้นมีอยู่ 5 ด้าน คือ 1) มาตรการบริการ 2) มาตรการวิชาการ 3)มาตรการรณรงค์ปฏิบัติ 4) มาตรการการบังคับ เช่น ข้อบัญญัติท้องถิ่น และ 5) มาตรการทางนโยบาย ซึ่งมาตรการที่ 5 ยังมีอยู่น้อยมาก เราควรมองนโยบายที่ไปไกลมากกว่าภาครัฐ เพราะเราเน้นการมีส่วนร่วม กระบวนการที่เราจะไปถอดบทเรียนขอให้ดูโลกของความเป็นจริงด้วย บางชุมชนบางพื้นที่อาจจะไปเกี่ยวข้องกับประเด็นด้านสุขภาวะ บางพื้นที่เป็นประเด็นร้อน เป็นปฏิปักษ์กับนโยบายสาธารณะ ซึ่งการมีนโยบายอะไรต้องฟังกัน ไม่ใช่กำหนดจากรัฐเพียงอย่างเดียว โครงการนี้เป็นการถอดกระบวนการไม่ใช่การถอดบทเรียนความสำเร็จของพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ซึ่งเราจะต้องมีความชัดเจนในเรื่องนี้ให้มากขึ้น

แนวคิด ทิศทาง การพัฒนาระบบสุขภาพ. นพ แนวคิด ทิศทาง การพัฒนาระบบสุขภาพ นพ.ชาญวิทย์ วสันต์ธนารัตน์ รักษาการผู้อำนวยการสำนักสนับสนุนการพัฒนาระบบสุขภาพ เวลาพูดถึงเรื่องสุขภาพทุกคนจะรู้สึกว่าเป็นเรื่องใหญ่มาก เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับแพทย์เท่านั้น แต่พอลงไปสัมผัสกับปัญหาสุขภาพจริงๆ จะพบว่า เรื่องสุขภาพมีความเกี่ยวข้องกับคนทุกคน เพราะการเจ็บป่วยส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากพฤติกรรม ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับหลายฝ่าย และต้องอาศัยการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา เรื่องนี้เป็นเรื่องใหม่ที่สังคมต้องเรียนรู้ เพราะระบบสุขภาพเป็นเรื่องของคนทุกคน สิ่งที่พวกเรากำลังช่วยกันสร้างอยู่ในขณะนี้ คือ การสร้างระบบสุขภาพที่อาศัยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนซึ่งถือเป็นหัวใจในการทำงาน ถ้าเริ่มต้นจากการมีข้อมูลนำไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจ ก็จะทำให้การกำหนดเป้าหมายมีความชัดเจนมากขึ้น การสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพก็จะชัดเจนมากขึ้น และนำไปสู่ระบบสุขภาพชุมชนแบบใหม่ เนื่องจากทิศทางในการจัดการระบบสุขภาพในอนาคตที่สำคัญ คือ “การมีส่วนร่วม” ที่เป็นการมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ มีการพูดคุยกันบนฐานของข้อมูลเชิงประจักษ์ ระบบสุขภาพของเราจะเปลี่ยนแปลงไป เกิดเป็นการพัฒนาระบบสุขภาพที่มีความยั่งยืน โดยสรุปแล้ว ระบบสุขภาพเป็นเรื่องการปฏิสัมพันธ์ของคนกับคน ถ้าไม่มีคนกับคนมาร่วมกัน มันก็ไม่เกิดความยั่งยืนเพราะจะกลายเป็นการทำกิจกรรมแล้วจบ ดังนั้นสิ่งที่เราทำอยู่ในขณะนี้อาจกล่าวได้ว่า “เรากำลังสร้างระบบชีวิตเพื่อประชาชน”

เติมเต็มมุมมอง โดยผศ.ทศพล สมพงษ์ เติมเต็มมุมมอง โดยผศ.ทศพล สมพงษ์ สิ่งที่เรากำลังทำคือ การค้นหากระบวนการสาธารณะที่จะไปสื่อสารกับชาวบ้านได้อย่างเข้าใจ โจทย์ พื้นที่ที่ทำได้ ทำไมเขายอมทำ ? ทำแล้วได้ผลหรือไม่ได้ผล? ในกรณีพื้นที่ที่ทำไม่ได้ พี่เลี้ยงจังหวัดจะมียุทธศิลป์ในการไปสร้างความฮึกเหิมให้กับพื้นที่เหล่านั้นอย่างไร ? อันไหนเป็นกิจกรรม อันไหนเป็นนโยบาย? ถ้าเป็นนโยบายเขามีการขับเคลื่อนอย่างไร มีการยกระดับเป็นวาระแห่งตำบล/จังหวัดได้อย่างไร (Publicize)

จังหวะก้าวต่อไป ร่วมกันออกแบบเวทีประชุมวิชาการในช่วงระหว่างวันที่ 10-11 พ.ย. 58 แต่ละภาคส่งผู้แทน 2-3 คน มาร่วมกันออกแบบ เกี่ยวกับ กำหนดวัตถุประสงค์ในการจัดเวที กระบวนการจัดเวที (ติดดิน กินได้ สานต่อ) จัดหมวดหมู่ความรู้ที่มีอยู่ คำนึงถึงความหลากหลาย (ทั้งที่สำเร็จและไม่สำเร็จ) และคัดเลือกพื้นที่ที่เด่นๆ มาเป็นกรณีศึกษาในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยจัดทำเอกสารประกอบ จัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบบ World Café หรือใช้วิธีการ Road Show ให้กับอบต.ที่สนใจได้เรียนรู้ มีพื้นที่กลางที่ให้คนในงานได้พบปะพูดคุยกัน มีการประกาศมอบรางวัล/เกียรติบัตรเพื่อเป็นกำลังใจให้กับคนทำงาน (อาจจะโดยการจับสลาก) กลุ่มผู้เข้าร่วม อาจจะเชิญตัวแทนท้องถิ่นและตัวแทนประชาชนในพื้นที่เข้ามาด้วย มีการถ่ายทอดการจัดประชุม โดย Link กับวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย