เฝือกสบฟันเอ็นทีไอ อุปกรณ์การรักษาที่น่าจับตามอง เฝือกสบฟันเอ็นทีไอ อุปกรณ์การรักษาที่น่าจับตามอง พนมพร วานิชชานนท์ และอตินุช มาลากุล ณ อยุธยา ว.ทันต จุฬา 2550;30:219-26
เฝือกสบฟันเอ็นทีไอ FDA* - อนุญาตให้จำหน่าย 1998 TMD & Bruxism ไมเกรน * Food and Drug Administration (USA)
เฝือกสบฟันเอ็นทีไอ เฝือกสบฟันเอ็นทีไอนี้มีขนาดเล็ก คลุมเฉพาะฟันตัดกลางบน ที่ปลายฟันตัดมีแท่นสีเหลี่ยมเล็ก ๆ เพื่อเกิดจุดสบขนาดเล็ก เชื่อว่าจุดสบขนาดเล็กจะสามารถลดแรงกัดเน้นฟันหรือถูบดฟันได้ รูป:www.dr-kares.de/spaw/downloads/1-Original.NICE-NTI-2009.ppt
เฝือกสบฟันเอ็นทีไอ รูป:www.dr-kares.de/spaw/downloads/1-Original.NICE-NTI-2009.ppt
เฝือกสบฟันเอ็นทีไอ รูป:www.dr-kares.de/spaw/downloads/1-Original.NICE-NTI-2009.ppt
เฝือกสบฟันเอ็นทีไอ รูป:www.dr-kares.de/spaw/downloads/1-Original.NICE-NTI-2009.ppt
เฝือกสบฟันเอ็นทีไอ เน้นการออกแบบที่ป้องกันไม่ให้ฟันเขี้ยวและฟันหลังสัมผัสกับเฝือกสบฟันในขณะกัดและเคลื่อนที่ขากรรไกร รูป: www.kellerlab.com/115/products/nti-tss-plus.php
กลไกการทำงานเฝือกสบฟันเอ็นทีไอ การออกแบบลักษณะนี้ ช่วยระงับหรือกดการทำงานของกล้ามเนื้อขากรรไกร จึงช่วยให้กล้ามเนื้อขมับไม่ต้องทำงานมาก และช่วยป้องกันการเกิดความเครียด (strain) ในข้อต่อขากรรไกร
กลไกการทำงานเฝือกสบฟันเอ็นทีไอ กลไกทำงานอาศัยรีเฟล็กซ์อ้าปากเป็นหลัก เมื่อฟันหน้าล่างสัมผัสเฉพาะแท่นยกส่วนหน้า เอ็นยึดปริทันต์จะได้รับโหลดมากขึ้น แรงกดนี้จะกระตุ้นประสาทนำเข้าความเจ็บปวด (nociceptive afferents) เกิดการตอบสนองแบบรีเฟล็กซ์อ้าปากและยับยั้งการทำงานของกล้ามเนื้อขากรรไกร และลดการตึงตัวของกล้ามเนื้อ
กลไกการทำงานเฝือกสบฟันเอ็นทีไอ การออกแบบเพื่อป้องกันการกัดเน้นฟัน ซึ่งเชื่อว่าเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดอาการปวดศีรษะเรื้อรัง ไม่ว่าจะเป็นชนิด ไมเกรน หรือชนิดกล้ามเนื้อตึงตัว
กลไกการทำงานเฝือกสบฟันเอ็นทีไอ การนอนกัดฟันมีลักษณะร่วมกันทั้งการกัดเน้นฟันและบดถูฟัน เฝือกสบฟันเอ็นทีไอนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อยับยั้ง การกัดเน้นฟันก่อน หวังว่าจะลดการเกิดรีเฟล็กซ์การเคลื่อนที่ขากรรไกรไปมา
ข้อห้ามใช้เฝือกสบฟันเอ็นทีไอ ผู้ป่วยมีปัญหาแผ่นรองข้อต่อขากรรไกรเคลื่อนโดยไม่สัมพันธ์กับกล้ามเนื้อทำงานนอกหน้าที่ ผู้ป่วยที่สูญเสียฟันตัด
การศึกษาที่เกี่ยวข้อง Magnusson T et al: Treatment effect on signs and symptoms of temporomandibular disorders--comparison between stabilisation splint and a new type of splint (NTI). A pilot study. Swed Dent J. 2004;28(1):11-20
การศึกษาที่เกี่ยวข้อง Jokstad A et al: Clinical comparison between two different splint designs for temporomandibular disorders therapy Acta Odontologica Scandinavia 2005, 63, 1-9.
การศึกษาที่เกี่ยวข้อง Baad-Hansen L et al: Effect of a nociceptive trigeminal inhibitory splint on electromyographic activity in closing muscles during sleep. J oral Rehabil.2007;34(2):105-11
ข้อพึงระวังในการใช้เฝือกสบฟันเอ็นทีไอ มีขนาดเล็ก อาจหลุดทำให้สำลักติดหลอดลม หรือกลืน ค่าเฉลี่ยของแรงดันสูงสุดจากปลายลิ้น 1120+ 290g/cm2 ค่าเฉลี่ยของแรงในแนวดิ่งที่ทำให้ NTI หลุด 2918+ 880g/cm2 แรงจาก หลิ้นไม่มากพอที่จะทำให้ NTI หลุดได้หากทำถูกต้อง
ข้อพึงระวังในการใช้เฝือกสบฟันเอ็นทีไอ ทำให้ฟันหลังงอกเหนือระดับการสบฟัน หรือฟันหน้าถูกกด หากใส่เฉพาะตอนกลางคืนเป็นเวลา 12 สัปดาห์ ไม่น่าจะทำให้ฟันหลังงอกเกินหรือฟันหน้าถูกกด ไม่มีการรายงานถึงประเด็นเหล่านี้อย่างชัดเจน
บทส่งท้าย เฝือกสบฟันเอ็นทีไออาจเหมาะสม ผู้ป่วยที่กำลังอยู่ระหว่างบูรณะฟันหลัง ผู้ที่มีอาการและอาการแสดงของ TMD ที่มีเหตุจากกล้ามเนื้อ ผู้ที่มีอาการปวดศีรษะไมเกรนหรือปวดศีรษะชนิดกล้ามเนิ้อตึงตัวที่รักษาด้วยวิธีอื่นไม่ได้ผล
บทส่งท้าย ควรเลือกเฝือกสบฟันที่ให้ผลทางคลินิกดีกว่า มีหลักฐานสนับสนุนมากพอ ให้ความปลอดภัย ผู้ป่วยให้ความร่วมมือในการใส่ ราคาเหมาะสม ไม่อาจสรุปว่าเฝือกสบฟันชนิดใดดีกว่ากัน การเลือกชนิดของเฝือกสบฟันต้องพิจารณาเป็นกรณีไป
Dyfonctions cranio-mandibulaires Parafunctions Disc displace PSYCHOSOCIAL Dysfunction Trauma Occlusion DISC DISPLACEMENT TMD Fibromyalgia Céphalées Arthrite Orofacial pain DCM MAP MALOCCLUSION Dyfonctions cranio-mandibulaires Arthrose Sress Bruxism Dépression ATM NTI-tss Muscles Crépitation Neuralgia OCCLUSAL INTERFERENCE Orthèse Jig 20 Psychosomatique 20