งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Office (Syndrome)…ฤทธิ์สารพัดปวด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Office (Syndrome)…ฤทธิ์สารพัดปวด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Office (Syndrome)…ฤทธิ์สารพัดปวด
By Keerin Mekhora PhD, Grad Manip Ther, PT The Faculty of Physical Therapy Mahidol university

2 Office syndrome กลุ่มอาการที่พบบ่อยในคนที่ทำงานออฟฟิศ
สาเหตุจาก การทำงานในท่าคงค้างท่าใดท่าหนึ่งนานๆ หรือซ้ำๆกัน มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อย สภาพแวดล้อมการทำงานไม่เหมาะสม ความเครียดจากงานและการดำรงชีวิต

3 Cumulative Trauma Disorders (CTD) กลุ่มอาการบาดเจ็ดสะสม
เป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากการบาดเจ็บซ้ำหรือการรบกวน (Stress) ของเอ็น, ข้อ กล้ามเนื้อและเส้นประสาทเป็นระยะเวลานาน โดยอาการที่เกิดขึ้นจะเป็นในลักษณะค่อยเป็นค่อยไป มักไม่มีอาการที่บาดเจ็บอย่างเฉียบพลัน

4 Cummulative Trauma Disorder (CTD)
Repetitive Strain Injury (RSI) Overuse Disorder (OD)

5 DeQuervain's Syndrome Low back strain
Carpal tunnel syndrome DeQuervain's Syndrome Low back strain Epicondylitis Tendinitis Trigger Finger Myofascial Pain Syndrome

6 Other terms Occupational cervicobrachial disorders, Scandinavia, Japan
Repetitive trauma disorders, U. S. A. - OSHA Repetitive strain injuries, British Commonwealth countries Overuse syndromes, Sports medicine Regional musculoskeletal disorders, Rheumatologists Work related disorders, WHO (1985)

7 myalgia myofacial pain syndrome tendinitis peritendinitis teosynovitis gamekeepers thumb de Quervain's disease epicondylitis trigger finger carpal tunnel syndrome cubital tunnel syndrome thoracic outliet syndrome Guyon's canal syndrome hypothenar hammer syndrome vibration hand-arm syndrome

8 Other terms Occupational cervicobrachial disorders, Scandinavia, Japan
Repetitive trauma disorders, U. S. A. - OSHA Repetitive strain injuries, British Commonwealth countries Overuse syndromes, Sports medicine Regional musculoskeletal disorders, Rheumatologists Work related disorders, WHO (1985)

9 Stages of Disorders 1st stage: aching and tiredness of the affected areas during work with recovery overnight or over days off work. 2nd stage: the symptoms are more severe during work and do not subside overnight. Physical signs may be present. 3rd stage: the aching, fatigue, and weakness are present constantly and physical signs being present. Browne 1994

10 3 ระยะของ CTD อาการของระยะที่ 1 ปวดและล้าในช่วงเวลาทำงาน
อาการหายไปในเวลากลางคืนหรือช่วงพัก ไม่มีการลดลงของความสามารถในการทำงาน มีอาการเป็นอาทิตย์หรือเป็นเดือน อาการเป็นๆหายๆ

11 3 ระยะของ CTD ข้อบ่งชี้ของระยะที่ 1 วิธีแก้ไข
เป็นตัวบ่งชี้ว่า งานกับร่างกายไม่สมดุล ร่างกายอาจไม่แข็งแรงหรืองานอาจหนักเกินไป วิธีแก้ไข ปรับเปลี่ยนงานให้เหมาะสมกับคน เสริมสร้างสมรรถนะร่างกายด้วยการออกกำลังกาย

12 3 ระยะของ CTD(ต่อ) ระยะที่ 2
อาการจะเริ่มเป็นที่ช่วงแรกของการทำงานและไม่หายไปในเวลากลางคืน อาจมีอาการกดเจ็บ ปวด บวม ชา อ่อนแรง มีการรบกวนการนอน ความสามารถในการทำงาน ลดลง อาการคงค้างอยู่เป็นเดือน

13 3 ระยะของ CTD ข้อบ่งชี้ของระยะที่ 2 วิธีแก้ไข
เป็นตัวบ่งชี้ว่า งานกับร่างกายไม่สมดุล มีการสะสมของอาการและต้องการการรักษา วิธีแก้ไข ปรับเปลี่ยนงานให้เหมาะสมกับคน ให้การรักษาและเสริมสร้างสมรรถนะร่างกายด้วยการออกกำลังกาย

14 3 ระยะของ CTD(ต่อ) ระยะที่ 3 มีอาการในขณะพักหรือเวลากลางคืน
มีอาการปวดแม้ งานเบา มีการรบกวนการนอน อาการอาจยาวเป็นเดือนหรือเป็นปี

15 3 ระยะของ CTD ข้อบ่งชี้ของระยะที่ 3 วิธีแก้ไข
เป็นตัวบ่งชี้ว่า งานกับร่างกายไม่สมดุลอย่างมาก มีการสะสมของอาการ ต้องการการรักษาและต้องรีบแก้ไขอย่างเร่งด่วน วิธีแก้ไข ปรับเปลี่ยนงานให้เหมาะสม ให้เบาลง ต้องหยุดพักงานชั่วคราว ให้การรักษาและเสริมสร้างสมรรถนะร่างกายด้วยการออกกำลังกาย

16 Pathomechanics and Pathophysiology
Armstrong et al 1992

17

18 ปัจจัยเสี่ยง

19

20 Ergonomics

21 สภาวะแวดล้อมการทำงาน
มนุษย์ เครื่องจักร สภาวะแวดล้อมการทำงาน

22

23 โรค กาย - ใจ งาน การส่งเสริม การป้องกัน สถานที่ทำงาน - อายุ เพศ
ระยะเวลาทำงาน ระยะเวลาพัก สิ่งแวดล้อม การหมุนเวียนงาน องค์กร - อายุ เพศ - การออกกำลังกาย - อาหาร - การพักผ่อน - จิตใจ ความเครียด - กระบวนการคิดวิเคราะห์ โรค การส่งเสริม การป้องกัน 23

24 Fitness งาน สมดุล โรค 24

25 งาน Fitness สมดุล โรค 25

26 Grading for exposure

27 มุมมองกับปัญหาปวดคอ

28

29

30

31 ขณะทำงานไหล่ยก เกร็งค้างไว้ตลอด
ทำงานก้มคอนานๆ ไม่มีที่พักแขน เอียงคอหนีบโทรศัพท์

32 แรงกด และการทำงานซ้ำๆ กัน

33 Avoid pressure on sensitive tissue

34 Injury rates with different tool design

35 Cylinder vs Pistol Grip

36

37 As our lab showed... Grip span should be restricted to ~ 5-8 cm for maximum strength

38 Bent handles on Pliers

39 ปวดหลัง กับการนั่งทำงาน

40 แรงดันในหมอนรองกระดูกสันหลัง

41

42

43 Ergonomics Engineering controls: Modifications to workstation, tools and equipment Administrative controls: manage break, rest, or severity of exposure Training: Educating workers in risk factors, causes, symptoms, prevention and treatment

44

45

46 Risk factors and risk reduction

47 Recommendation

48 Recommendation Based on anthropometry
Behavioral patterns must be considered Who created? Unions, Researchers etc. For whom? For most of people, but not for all Does it work? Still questionable

49 จอ ตรงกับขอบบนของจอ และแหงนทำมุมตั้งฉากสายตา พนักพิง บางครั้งเมื่อทำงานเร่งรีบอาจไม่ได้ใช้ แต่มีประโยชน์ ช่วยลดแรงกดที่หมอนรองกระดูก ที่พักแขน สูงขนาดที่รองรับน้ำหนักของแขนเมื่อทำงาน โต๊ะ สูงพอเหมาะสำหรับการอ่านหนังสือ และทำงานโดยไม่ก้มศีรษะมากนัก แป้นพิมพ์ สูงเท่า หรือกว่าเล็กน้อย กับระดับศอกในท่านั่ง การใช้มือต้องไปเอียง และมีการกดบริเวณข้อมืแ เก้าอี้ สูงเท่าระดับหลังของเข่า เมื่อนั่งงอเข่า สะโพก 90 องศา ล้อ ควรมี 5 ล้อ มีความมั่นคง ที่พักเท้า ใช้เมื่อปรับโต๊ะกับเก้าอี้แล้ว เก้าอี้สูงเกิน นั่งขาห้อย ทำให้มีการกดใต้เข่า

50 ท่านั่งที่ถูกต้อง

51

52

53

54 การออกกำลังกาย

55 Muscle Imbalance

56 Upper crossed syndrome

57 Lower crossed syndrome

58 สาเหตุของ Upper และ Lower crossed syndrome
ตัวอย่าง เช่น สำนักงาน เป็นงานที่นั่งนานๆ ทำงานที่อยู่ด้านหน้าตลอด งานนั่งเขียนหรืองานคอมพิวเตอร์ มักจะยื่นหน้าและห่อไหล่ไปด้านหน้า ทำให้กล้ามเนื้อบริเวณหน้าอกมีการหดสั้น และกล้ามเนื้อด้านหลังมีการเหยียดยาวออก และที่คอ กล้ามเนื้อด้านหลังคอต้องเกร็งถือคอไว้ต้านกับแรงดึงดูดของโลก และงานที่นั่งส่งผลต่อ กล้ามเนื้องอข้อสะโพกจะหดสั้นตลอด และกล้ามเนื้อก้นจะอยู่ในท่าที่ยืดยาวตลอด ส่งผลต่อความสมดุลของความแข็งแรง

59

60

61

62

63 หมุนไหล่เป็นวงเพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อไหล่ และเพิ่มการไหลเวียนของเลือด

64 ยูงฟ้อนหาง สอดสร้อยมาลา รำไทยเพื่อคลายความตึงตัวของเส้นประสาทแขน รำประมาณ 20 ครั้ง หากรู้สึกชาค้างให้หยุด พรหมสี่หน้า

65 Alteration of median nerve tension

66 Effects of Thai Dancing on Median Neurodynamic Response During 4-Hour Computer Use
J Med Assoc Thai 2015; 98 (Suppl. 5): S86-S91

67

68

69 Stress and Pain Breathing and neck pain Stress relates to breathing

70 Neck Pain and Respiratory Function
Breathing pattern 54% of pt with MS pain Faulty relaxed breathing 75% of pt with MS pain Faulty deep breathing Pain related with breathing pattern. In acute pain, shortness of breath and an increase in ventilation are determined. In the same way, patients who experience intense chronic pain show respiratory related changes over extended period // There were 54.6% of patients who had musculoskeletal pain indicated in faulty relaxed breathing and 75% of those reported in faulty deep breathing .

71 Neck Pain and Respiratory Function
Altered breathing pattern Forward head posture, thoracic kyphosis, Muscle overuse Diaphragm activity, AS, SCM, UT activity, Shallow breathing Neck pain Commonly, the dysfunctional breathing related to this study tends to breath dominate in the upper thorax and decrease or absent abdominal movement. The abdominal diameter decreases or stays the same during inspiration and increases during expiration. The most common cause results from usage of scalene and upper traezius muscles for breathing that lead to inhibit diaphragm contraction. The use of secondary muscle for breathing may tend to shallow breathes that results in reduced expiration period and diminished rib cage mobilization especially at T4-T6 levels (13). Moreover, the constant contraction of these muscles may result in overuse that tends to cause hypertonic and shortened these muscles. Tight and shortening neck muscles will tend to pull the head forward into a forward head posture. forward head posture has been considered to be important in the etiology of postural neck pain. It may result in increased tension in the neck stabilization muscle as well as increased compressive forces in the articulations of the cervical spine.

72 Comparison of Cervical ROMs between Neck Pain and
Without Neck Pain Groups The results showed that All cervical ROMs of without neck pain group were higher than neck pain groups.

73 Comparison of Pain Intensity between Before and After Re-education
The pain intensity at resting and end range of each neck movement were decreased after re-education.

74 ท่านอนพักหลังจาก เดินหรือยืนเป็นเวลานาน
ท่านอนพักหลังจาก เดินหรือยืนเป็นเวลานาน ช่วยลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อหลัง ทำให้หลังผ่อนคลาย และช่วยไม่ให้ปวดขา

75 References Grandjean 1993: Fitting the task to the man
Bullock MI. Ergonomics 1990 : The physiotherapist in the workplace. Grandjean 1993: Fitting the task to the man Eastman Kodak company 1983: Ergonommic design for people at work Barr. AE, Barbe. MF 2002 Pathophysiological Tissue Changes Associated With Repetitive Movement. Physical Therapy 82(2) Some Journals from Ergonomics, Applied Ergonomics, International Journal of Industrial Ergonomics, etc. Flexion of the thoracolumbar spine was found to increase the load of the neck and shoulder the whole spine is flexed, the cervical erector spinae and upper trapezius activity levels are increased, whereas when the whole spine is in neutral, the activity levels are lower. When the whole spine is angled slightly backward the activity levels are lowest . conducted an EMG study in 14 subjects and suggested that there was a negative correlation between arm flexion and neck flexion and a positive correlation between arm flexion and levels of trapezius and deltoid activities. However, their experiment was carried out in workers who were required to have their eyes and hands concentrating on the work object. Postures in which the hand was raised above shoulder level introduced high trapezius and deltoid activities whilst those postures in which the hand was working below shoulder height introduced less activity . A relationship between the incidence of musculoskeletal-related sick leave and static trapezius load has been confirmed by . Excessive forward flexion of the arm while working in a seated posture (such as while using a mouse) has been found to result in static trapezius load of about 10% maximum voluntary contraction (MVC) which is enough to be a risk of MSD.

76 ตัวอย่างผู้ป่วย ผู้ป่วยหญิงไทยคู่ อายุ 34 ปี มีอาการปวดตึงบริเวณแขนขวาด้านใน และชาบริเวณ แขนด้านในและนิ้วก้อยและนิ้วนางข้างขวา มือและแขนข้างขวาเหมือนไม่ค่อยมีแรง มาประมาณ 2 ปี ไม่สามารถยกของหนัก 1 kg ได้ ถ้าเจ็บต้องพักหรือทานยาอาการถึงจะดีขึ้นบ้าง ไปพบแพทย์เพื่อทำการตรวจรักษา แพทย์ได้นัดทำการผ่าตัด ทำงานกับ computer มา 5 ปี โดยส่วนใหญ่ใช้ Notebook และต่อ mouse ออกมาข้างนอก ได้รับ Steroid injection 1 ครั้ง ไม่หาย มี plan จะผ่าตัดใน 1 เดือน

77 การรักษา ลดการอักเสบของเนื้อเยื่อรอบๆ และเส้นประสาท บริเวณที่กดทับ
Ultrasound ความร้อน ยาทาบางประเภท เพิ่ม การไหลเวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงเส้นประสาท เร่งการถ่ายส่งของเสีย Nerve mobilization ลดการกดทับจาก Tissue ที่หนาตัว การนวด การกด การออกกำลังกาย ที่ ข้อมือ นิ้ว และ การรักษาด้วยตนเอง

78 ผลการรักษา ผลการรักษา อาการเจ็บลดลง 70% เหลืออาการเจ็บแค่บริเวณข้อมือ ด้านนิ้วก้อย อาการชาอยู่บริเวณปลายนิ้วก้อยและนาง สามารถยกของหนัก 3 kg ได้ บางครั้งถ้าทำงานหนักยังมีอาการกลับมาเป็นอีก แต่ไม่รุนแรงเท่าเดิม

79 การปรับปรุงแก้ไขทาง Ergonomics
ให้ถ่ายรูปโต๊ะ เก้าอี้ ที่ทำงาน ขณะที่ทำงาน และจากการสอบถามพบ การใช้ Mouse ค่อนข้างบ่อย กับ Notebook โต๊ะค่อนข้างสูง ไม่มี Keyboard tray แนะนำให้ใช้ Keyboard tray และ ใช้ Jelly mouse pad บอกให้ระวังและหลีกเลี่ยงการกดทับที่ข้อมือ และการเอียงของข้อมือ (Ulnar deviation)

80 ผลการรักษา ผลการรักษา อาการเจ็บลดลงอีกเล็กน้อย และยังเหลืออาการเจ็บคล้ายๆ เดิม คือบริเวณข้อมือ ด้านนิ้วก้อย อาการชาอยู่บริเวณปลายนิ้วก้อยและนาง สามารถยกของหนัก 5 kg ได้ บางครั้งถ้าทำงานหนักยังมีอาการกลับมาเป็นอีก แต่ไม่รุนแรงเท่าเดิม และความถี่น้อยลง

81 การปรับปรุงแก้ไขทาง Ergonomics
เปลี่ยนจาก Jelly mouse pad เป็น Donut wrist support ทดลอง ทำ Work hardening โดยให้ทดลองทำงานกับ Computer เพื่อดูอาการ และกำหนดระยะเวลาการทำงาน แนะนำให้พักบ่อย ทุก 10 นาทีพัก 1 นาที ระหว่างพัก ให้มีการ Stretching ให้ทุกช่วงเวลาคือ การทำงานที่ผสมผสานการรักษา

82 ผลการรักษา อาการดีขึ้นมาก เสมือนหาย แต่อาการกลับมาบางครั้ง เมื่อมีงานหนัก หรือรีบเร่ง

83 การปรับปรุงแก้ไขทาง Ergonomics
แนะนำให้ปรึกษาบริษัท เพื่อให้มี Job rotation หรือ เปลี่ยนตำแหน่งงานชั่วคราว ผู้ป่วยได้ปฏิบัติตาม ซึ่งก็ไม่มีผลต่อ ความก้าวหน้าของงานแต่อย่างใด อาการหายเหมือนปกติ มีอาการกลับมาบ้างประมาณ 2 ครั้ง ใน 6 เดือน เมื่อ ทำงานหนักกับ Computer แต่อาการน้อยมาก และก็หายเองเมื่องานลดลง

84

85

86 Self WMSD evaluation

87

88

89

90

91

92 Computer workstation adjustment

93

94


ดาวน์โหลด ppt Office (Syndrome)…ฤทธิ์สารพัดปวด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google