AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทวีปยุโรป.
Advertisements

บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
สถานที่ท่องเที่ยวภาคเหนือ
โครงการประตูระบายน้ำห้วยลังกา บ้านท่าลาด ตำบลนาเข อำเภอบ้านแพง จังหวัดนครพนม สำนักงานก่อสร้าง 7 สำนักพัฒนาแหล่งน้ำขนาดกลาง.
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตามประเด็น ต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตถึง.
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
นิวซีแลนด์ ไทย อินเดีย อิตาลี นิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ หมายถึง “ ดินแดนแห่งเมฆยาวสีขาว ” เป็น ประเทศที่ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ รวมถึงเกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง.
สถานที่ท่องเที่ยวในอำเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
S m a r t O f f i c e สำนักงานเกษตรอำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
อาณาเขตทางทะเล (Maritime Zone)
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ และการแบ่งเขตเวลาของโลก
วิชาโครงการ รหัส & ระดับ ปวช. และ ปวส.
การประชุมประจำเดือนครั้งที่ 5-6/2558
รายงานความก้าวหน้า การสนองพระราชดำริด้านงานวิจัย จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมีนาคม.
สถานที่ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สถานที่ท่องเที่ยวภาคเหนือ สวนสัตว์เชียงใหม่สถานที่ท่องเที่ยวภาคเหนือ วัดที่สวยงามที่สุด วัดร่องขุ่น แนะนำเลย น้ำพุร้อนสันกำแพง.
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
ศาสนาคริสต์111
กรมอุตุนิยมวิทยา นายเมธี มหายศนันท์ สำนักพยากรณ์อากาศ.
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
เรื่อง ทวีปอเมริกาเหนือ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
AUSTRALIA-OCENIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภูมิอากาศของทวีปยุโรป
โครงสร้างและ หน้าที่ของราก
สภาพทั่วไป ประวัติและความเป็นมา ลักษณะภูมิประเทศ ตำนานเมืองแก่งคอย
อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
น้ำและมหาสมุทร.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 7 พฤษภาคม 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
แผ่นดินไหว.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
World Time อาจารย์สอง Satit UP
ตำบลหินเหล็กไฟ ประวัติความเป็นมา พื้นที่ เขตพื้นที่
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 21 เมษายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
แหล่งท่องเที่ยวในอุทยานฯ
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ประวัติศาสตร์กฎหมาย Legal History
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ทวีปเอเชีย.
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ยิ้มก่อนเรียน.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ธันวาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 3 ธันวาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
ประเทศบรูไน จัดทำโดย ด.ญ.ธัชพรรณ วรรณภิละ ม.2/8 เลขที่ 11
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP

PHYSICAL

C B A สภาพพื้นที่ของประเทศออสเตรเลีย แบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่ A. เขตภูเขาสูงทางตะวันออก (Eastern Highland)   B. เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) C. เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก (Western Plateau & desert)

สภาพพื้นที่ของประเทศออสเตรเลีย แบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่ 1 สภาพพื้นที่ของประเทศออสเตรเลีย แบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่ 1. เขตที่ภูเขาสูงทางตะวันออก (Eastern Highland) เป็นเขตที่มีเทือกเขาสูง คือเทือกเขาเกรตดิไวดิง (Great Dividing) โดยวางตัวจากทิศเหนือไปยังทิศใต้ขนานกับชายฝั่งตะวันออก  

ลักษณะภูมิประเทศของประเทศออสเตรเลีย แบ่งเป็น 3 บริเวณ ได้แก่ 1 ลักษณะภูมิประเทศของประเทศออสเตรเลีย แบ่งเป็น 3 บริเวณ ได้แก่ 1. เขตที่ภูเขาสูงทางตะวันออก (Eastern Highland) เป็นเขตที่มีเทือกเขาสูงโดยตั้งแต่แหลมยอร์ก(Cape York)ไปจนถึงช่องแคบบาสส์(Bass Strait) โดยวางตัวจากทิศเหนือไปยังทิศใต้ขนานกับชายฝั่งตะวันออก เป็นระยะทางยาวประมาณ 3,500 กิโลเมตร เทือกเขาสำคัญคือ เทือกเขาเกรตดิไวดิง(Great Dividing) โดยบริเวณที่มีความสูงมากของแนวเทือกเขานี้จะอยู่ทางตอนใต้ มีชื่อว่า ภูเขาแอลป์ออสเตรเลีย(Australian Alps) มียอดเขาสูงสุดและถือเป็นยอดเขาสูงสุดของประเทศออสเตรเลีย คือ ยอดเขาคอสซิอัสโก(Kosciuszko) สูง 2,228 เมตร) โดยแนวเทือกเขานี้เป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำเมอร์เรย์ และแม่น้ำดาร์ลิง

Great Dividing Range

เทือกเขาเกรตดิไวดิง(Great Dividing) เป็นเทือกเขาที่วางตัวยาวตั้งแต่แหลมยอร์ก(Cape York)ไปจนถึงช่องแคบบาสส์(Bass Strait) โดยวางตัวจากทิศเหนือไปยังทิศใต้ขนานกับชายฝั่งตะวันออกโดยบริเวณที่มีความสูงมากของแนวเทือกเขานี้จะอยู่ทางตอนใต้ มีชื่อว่า ภูเขาแอลป์ออสเตรเลีย(Australian Alps) มียอดเขาคอสซิอัสโก(Kosciuszko) สูง 2,198 เมตร ถือเป็นยอดเขาสูงสุดของประเทศออสเตรเลีย โดยเทือกเขานี้เป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำเมอร์เรย์ และแม่น้ำดาร์ลิง

ยอดเขาคอสซิอัสโก(Kosciuszko) มีความสูง 2,228 เมตร ถือเป็นยอดเขาที่สุดสุดของเทือกเขาเกรตดิไวดิง(Great Dividing) และเป็นยอดเขาสูงสุดของประเทศออสเตรเลีย ตั้งอยู่ในเขตรัฐนิวเซาท์เวลส์

สภาพพื้นที่ของประเทศออสเตรเลีย แบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่ 2 สภาพพื้นที่ของประเทศออสเตรเลีย แบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่ 2. เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) มีลักษณะเป็นที่ราบต่ำ มีพื้นที่ ประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศ และเป็นแหล่งที่มีน้ำบาดาลมาที่สุดของประเทศ   

1 2 4 3 2. เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) แบ่งออกเป็น 4 บริเวณ คือ 1. ที่ราบรอบอ่าวคาร์เปนตาเรีย (Gulf of Carpentaria Plain) 2. ที่ราบรอบทะเลสาบแอร์ (Lake Eyre Basin) 3. ที่ราบลุ่มแม่น้ำเมอร์เรย์ และ ดาร์ลิง (Murray and Darling Basin) 4. ที่ราบนัลลาร์บอร์ (Nullarbor Plain)  

เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) แบ่งออกเป็น 4 บริเวณ คือ 1 เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) แบ่งออกเป็น 4 บริเวณ คือ 1. ที่ราบรอบอ่าวคาร์เปนตาเรีย (Gulf of Carpentaria Plain) ที่ราบรอบอ่าวคาร์เปนตาเรีย (Gulf of Carpentaria Plain) เป็นที่ราบชายฝั่งแคบๆขนานไปกับแนวชายฝั่งรอบอ่าวคาร์เปนตาเรียทางตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย มีลักษณะเป็นที่ราบชายฝั่งแคบๆ โดยมีแนวเขาเซลวินวางตัวขวางแยกออกจากที่ราบรอบทะเลสาบแอร์ (Lake Eyre) 1

เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) แบ่งออกเป็น 4 บริเวณ คือ 2 เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) แบ่งออกเป็น 4 บริเวณ คือ 2. ที่ราบรอบทะเลสาบแอร์ (Lake Eyre Basin) ที่ราบรอบทะเลสาบแอร์(Lake Eyre Basin) เป็นบริเวณที่ราบรอบทะเลสาบแอร์ ซึ่งเป็นทะเลสาบน้ำเค็มที่ใหญ่ที่สุดของประเทศออสเตรเลียและทวีปออสเตรเลีย เมื่อพิจารณาโดยรวมถือเป็นเขตที่ค่อนข้าง แห้งแล้ง เป็นที่ราบแล้งแห้ง เป็นทะเลทราย  มีทะเลทรายหลายแห่งในพื้นที่ของที่ราบแห่งนี้ ได้แก่ ทะเลทรายซิมป์สัน(Simpson Desert) และทะเลทรายสจ๊วต(Sturt Stony Desert) เป็นต้น 2 ทะเลสาบแอร์(Lake Eyre)

แม่น้ำ ดาร์ลิง (Darling) แม่น้ำเมอร์เรย์(Murray) เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) แบ่งออกเป็น 4 บริเวณ คือ 3. ที่ราบลุ่มแม่น้ำเมอร์เรย์ และ ดาร์ลิง (Murray and Darling Basin) ที่ราบลุ่มแม่น้ำเมอร์รีย์และดาร์ลิง (Murray and Darling Basin) มีแม่น้ำดาร์ลิงเป็นแม่น้ำสายยาวที่สุดของออสเตรเลียและแม่น้ำเมอร์เรย์และ แม่น้ำสาขาของสองแม่น้ำนี้ไหลผ่าน เป็นที่ราบที่มีความอุดมสมบูรณ์ที่สุดของออสเตรเลีย และถือเป็นเขตเกษตรกรรมเป็นพื้นที่เพาะปลูกที่สำคัญของประเทศออสเตรเลียด้วย 3 แม่น้ำ ดาร์ลิง (Darling) แม่น้ำเมอร์เรย์(Murray)

อ่าวเกรตออสเตรเลียไบต์ (Great Australian Bight) เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) แบ่งออกเป็น 4 บริเวณ คือ 4. ที่ราบนัลลาร์บอร์ (Nullarbor Plain)   การที่ที่ราบนัลลาร์บอร์ตั้งอยู่ติดกับอ่าวเกรตออสเตรเลียนไบต์(Great Australian Bight) บางครั้งจะเรียกที่ราบนี้ว่า “ ที่ราบอ่าวเกรตออสเตรเลียไบต์ (Great Australian Bight Plain) ”  คำว่า “นัลลาร์บอร์”(Nullarbor) เป็นภาษาพื้นเมืองแปลว่า ไม่มีต้นไม้อยู่เลยนอกจากนี้ในที่ราบนี้ยังไม่มีแม่น้ำสายใดไหลผ่าน และประกอบกับปริมาณน้ำฝนทั้งปีซึ่งมีเพียง 100-250 มิลลิเมตรเท่านั้นทำให้ที่ราบนัลลาบอร์นี้มีความแห้งแล้งค่อนข้างมาก ทำให้ไม่ค่อยมีความสำคัญในทางด้นการเกษตรและเศรษฐกิจ ตลอดจนการตั้งถิ่นฐาน 4 อ่าวเกรตออสเตรเลียไบต์ (Great Australian Bight)

C สภาพพื้นที่ของประเทศออสเตรเลีย แบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่ A. เขตภูเขาสูงทางตะวันออก (Eastern Highland)   B. เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) C. เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก (Western Plateau & desert)

C สภาพพื้นที่ของประเทศออสเตรเลีย แบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่ A. เขตภูเขาสูงทางตะวันออก (Eastern Highland)   B. เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) C. เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก (Western Plateau & desert)

3. เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก (Western Plateau & desert) หรือ เขตที่ราบสูงหินเก่าทางตะวันตก (The West Australian Shield) เป็นลักษณะภูมิประเทศที่มีเนื้อที่มากกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศออสเตรเลีย  ในทางธรณีวิทยาเป็นหินเปลือกโลกที่มีอายุเก่าแก่มาก เป็นเขตที่สูงภาคตะวันตก ประกอบด้วยที่ราบชายฝั่งแคบๆ และที่สูงเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ ลักษณะพื้นที่ทางด้านตะวันตกและลาดเทไปทางตะวันออก ซึ่งเป็นดินแดนภายในทวีป

3. เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก (Western Plateau & desert) หรือ เขตที่ราบสูงหินเก่าทางตะวันตก (The West Australian Shield) ทางตอนกลางและตะวันตกของประเทศออสเตรเลีย เป็นเขตที่ราบสูงและเขตแห้งแล้งที่สุดของประเทศทางตะวันตก โดยพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตแห้งแล้งแบบทะเลทราย

3. เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก (Western Plateau & desert) หรือ เขตที่ราบสูงหินเก่าทางตะวันตก (The West Australian Shield) ทางตอนกลางและตะวันตกของประเทศออสเตรเลีย เป็นเขตที่ราบสูงและเขตแห้งแล้งที่สุดของประเทศทางตะวันตก โดยพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตแห้งแล้งแบบทะเลทราย

3. เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก (Western Plateau & desert) หรือ เขตที่ราบสูงหินเก่าทางตะวันตก (The West Australian Shield) ทางตอนกลางและตะวันตกของประเทศออสเตรเลีย เป็นเขตที่ราบสูงและเขตแห้งแล้งที่สุดของประเทศทางตะวันตก โดยพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตแห้งแล้งแบบทะเลทราย

3. เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก (Western Plateau & desert) หรือ เขตที่ราบสูงหินเก่าทางตะวันตก (The West Australian Shield) ทางตอนกลางและตะวันตกของประเทศออสเตรเลีย เป็นเขตที่ราบสูงและเขตแห้งแล้งที่สุดของประเทศทางตะวันตก โดยพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตแห้งแล้งแบบทะเลทราย

3. เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก (Western Plateau & desert) หรือ เขตที่ราบสูงหินเก่าทางตะวันตก (The West Australian Shield) ที่ราบสูงและเขตแห้งแล้งทางตะวันตก มีเทือกเขาที่สำคัญ เช่น - เทือกเขาคิมเบอร์เลย์(Kimberley Range)  - เทือกเขาแฮมเมอส์เลย์(Hamersley Range) - เทือกเขาแม็กโนนัลล์(Macdonnell Range) - เทือกเขาโรบินสัน(Robinson Range) - เทือกเขามัสเกรฟ (Musgrave Range)  - เทือกเขาดาร์ลิง(Darling Range)  

3. เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก (Western Plateau & desert) หรือ เขตที่ราบสูงหินเก่าทางตะวันตก (The West Australian Shield) ที่ราบสูงทางตะวันตกของประเทศเป็นเขตแห้งแล้งและเขตทะเลทราย โดยมีทะเลทรายขนาดใหญ่อยู่หลายแห่ง  เช่น  - ทะเลทรายเกรตแซนดี(Great Sandy Desert)  - ทะเลทรายกิบสัน(Gibson Desert)   - ทะเลทรายเกรตวิกตอเรีย(Great Victoria Desert) - ทะเลทรายทานามิ(Tanami Desert) - ทะเลทรายซิมสัน(Simpson Desert) เป็นต้น ทะเลทรายทั้งหมดนี้รวมเรียกว่า ทะเลทรายเกรตออสเตรเลียน (Great Australia Desert)

River

Murray river

แม่น้ำเมอร์เรย์ (Murray river) แม่น้ำสายยาวอันดับสองของออสเตรเลีย ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศออสเตรเลีย มีความยาว 2508 กม.

แม่น้ำเมอร์เรย์ (Murray river) - แม่น้ำสายยาวอันดับสองของออสเตรเลีย - มีความยาว 2508 กม. - ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศออสเตรเลีย - ไหลเป็นแนวพรมแดนระหว่างรัฐนิวเซาท์เวลส์และรัฐวิกตอเรียและไหลลงทะเลที่รัฐออสเตรเลียใต้

แม่น้ำเมอร์เรย์ (Murray river) - แม่น้ำสายยาวอันดับสองของออสเตรเลีย - มีความยาว 2508 กม. - ไหลเป็นแนวพรมแดนระหว่างรัฐนิวเซาท์เวลส์และรัฐวิกตอเรีย และไหลลงทะเลที่รัฐออสเตรเลียใต้ - เป็นพื้นที่เกษตรกรรมที่สำคัญของออสเตรเลีย

Darling river

แม่น้ำดาร์ลิง(Darling River) - แม่น้ำสายสำคัญของออสเตรเลีย - แม่น้ำสายที่ยาวที่สุดของออสเตรเลีย - ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของออสเตรเลีย - ไหลผ่านรัฐนิวเซาท์เวลส์ โดยมีแม่น้ำสาขาหลายสาย - ไหลรวมกับแม่น้ำเมอรร์เรย์ที่รัฐนิวเซาท์เวส์ ใกล้เมือง Wentworth

เมือง Wentworth Darling แม่น้ำดาร์ลิง (Darling River) ไหลรวมกับแม่น้ำเมอรร์เรย์ที่รัฐนิวเซาท์เวส์ ใกล้เมือง Wentworth Murray Darling Murray Murray

แม่น้ำดาร์ลิง(Darling River) - แม่น้ำสายสำคัญของออสเตรเลีย - แม่น้ำสายที่ยาวที่สุดของออสเตรเลีย - ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของออสเตรเลีย - ไหลผ่านรัฐนิวเซาท์เวลส์ โดยมีแม่น้ำสาขาหลายสาย - ไหลรวมกับแม่น้ำเมอรร์เรย์ที่รัฐนิวเซาท์เวส์ ใกล้เมือง Wentworth