การเตรียมความพร้อมในการจัดทำงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ (ภายใต้แนวทางการขับเคลื่อนตามแนวทางการสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืน ให้กับเศรษฐกิจภายในประเทศ) กลุ่มส่งเสริมการดำเนินงานการพัฒนาประสิทธิภาพองค์กร กลุ่มที่ ๖
กรอบแนวคิดการพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 Local Economy ปี 2560 กรอบแนวคิดการพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1
ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ปี 2561 - 2564 ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ “เป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป อาหารและ หัตถอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปและอาหาร สร้างความโดดเด่นของสินค้า หัตถอุตสาหกรรมบนพื้นฐานของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการอุตสาหกรรมให้มีการประกอบการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
Unique Position: เศรษฐกิจสร้างสรรค์ วัฒนธรรมล้านนา ส่วนนำโครงการ (ปรับจากข้อมูลพื้นฐานโครงการโดยนำเสนอในเขิงสถิติ/ แผนภาพที่เป็นปัจจุบันและน่าสนใจ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับ เชื่อมโยง สร้างเครือข่ายการค้า การลงทุน และการค้าชายแดนเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทั้งในและต่างประเทศ โครงการยกระดับการผลิตหัตถอุตสาหกรรมภาคเหนือตอนบน 1 สู่ฐานการผลิตเชิงสร้างสรรค์ ทำไมต้องทำโครงการนี้ โครงการนี้ ทำอะไร เป้าหมายโครงการ (ผลผลิต/ผลลัพธ์/ผลกระทบ): ความพร้อมในการดำเนินโครงการ แนวทางการบริหารจัดการในระยะต่อไป/การสร้างความต่อเนื่องและยั่งยืน - ภาคเหนือตอนบน 1 มีจำนวน SMEs 132,177 ราย แต่มีการจดทะเบียนนิติบุคคลเพียง 20,783 ราย (15%) จำเป็นต้องมีการปรับโครงสร้างของ SMEs ให้มีการจดทะเบียนเพื่อเข้าสู่ระบบมากยิ่งขึ้น - ภาคเหนือตอนบน 1 มีผู้ประกอบการในกลุ่มหัตถอุตสาหกรรม 1,630 ราย มียอดจำหน่าย 9,600 ล้านบาท/ปี (ส่งออกประมาณ 1,000 ล้านบาท) - พัฒนาฐานความรู้และปัจจัยพื้นฐานด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เชื่อมโยงการสร้างให้เกิดชุมชนสร้างสรรค์ในพื้นที่เป้าหมาย - พัฒนาบุคลากรทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา ให้เกิดแนวคิดสร้างสรรค์แบบ Cross Function - จัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ - พัฒนาการเชื่อมโยงทางด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์ - สัดส่วนของ SMEs ที่จดทะเบียนเพิ่มขึ้นจาก 15% เป็น 20% - ยอดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ในกลุ่มหัตถอุตสาหกรรม เพิ่มขึ้นเป็น 10,000 ล้านบาท/ปี -สามารถดำเนินการแล้วเสร็จในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 หรือภาย 1 ปีหลังจากได้รับงบประมาณ - สร้างเครือข่ายการพัฒนาร่วมระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา (Triple Helix) โดยเฉพาะบุคลากรรุ่นใหม่ (Creative Generation) เพื่อร่วมกันพัฒนาแนวคิดเชิงสร้างสรรค์อย่างต่อเนื่อง - สนับสนุนการประกอบการในลักษณะ Social Enterprise เพื่อสร้างความสมดุลและยั่งยืนในระบบเศรษฐกิจควบคู่กับสังคมและสิ่งแวดล้อม
รวม 7 กิจกรรม พช 190.2951 ล้านบาท งบประมาณ 326,297,578 บาท ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับ เชื่อมโยง สร้างเครือข่ายการค้า การลงทุน และการค้าชายแดนเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทั้งในและต่างประเทศ โครงการยกระดับการผลิตหัตถอุตสาหกรรมภาคเหนือตอนบน 1 สู่ฐานการผลิตเชิงสร้างสรรค์ ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง พัฒนาฐานความรู้และปัจจัยพื้นฐานด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พัฒนาชุมชนสร้างสรรค์ (creative community) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ผู้ประกอบการ เชื่อมโยงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พัฒนากิจกรรมสร้างคุณค่าผลิตภัณฑ์เชื่อมโยงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พัฒนาธุรกิจเชื่อมโยงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พัฒนาการตลาดและประชาสัมพันธ์ ฐานข้อมูล และองค์ความรู้ ย่าน/แหล่งชุมชนสร้างสรรค์ ผู้ประกอบการของชุมชน กิจกรรมสร้างคุณค่า วิสาหกิจชุมชน ในประเทศ กิจกรรมหลัก ศูนย์พัฒนาผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรมและการออกแบบ (IDEA House) งบประมาณ: 30,000,000 บาท (ดำเนินงาน 27,583,630 / ลงทุน 2,416,730) หน่วยงาน: ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 + สภาอุตสาหกรรม + NOHMEX กิจกรรมหลัก พัฒนาพื้นที่ชุมชนสร้างสรรค์ งบประมาณ: 130,598,858 บาท (ดำเนินงาน 111,880,685 / ลงทุน 18,718,173) หน่วยงาน: สำนักงานพัฒนาชุมชน 4 จังหวัด / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 / สนง.อุตสาหกรรม 4 จังหวัด นักธุรกิจ แหล่งเรียนรู้/ศูนย์การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ SMEs ต่างประเทศ กิจกรรมหลัก สร้างและพัฒนานักธุรกิจรุ่นใหม่ในอุตสาหกรรมเป้าหมายเชื่อมโยงระบบดิจิทัล งบประมาณ: -30,000,000 บาท (ดำเนินงาน 30,000,000) หน่วยงาน: ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภารที่ 1 + หอการค้า + สภาอุตสาหกรรม กิจกรรมหลัก ยกระดับการผลิตหัตถอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ งบประมาณ: 73,790,720 บาท (ดำเนินงาน 73,665,720 / ลงทุน 125,000) หน่วยงาน: สำนักงานอุตสาหกรรม 4 จังหวัด + สำนักงานพัฒนาชุมชน 4 จังหวัด สภาอุตสาหกรรม + NOHMEX กิจกรรมหลัก ASEAN Design and Business Center งบประมาณ: 15,000,000 บาท (ดำเนินงาน 14,250,000 / ลงทุน 750,000) หน่วยงาน: สำนักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงใหม่ กิจกรรมหลัก เชื่อมโยงผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรมสู่ตลาดที่มีศักยภาพ งบประมาณ: 38,880,000 บาท (ดำเนินงาน 38,800,000) หน่วยงาน: สำนักงานพัฒนาชุมชน 4 จังหวัด กิจกรรมหลัก พัฒนาคลังปัญญาผู้สูงอายุสู่ผลิตภัณฑ์ชุมชนเชิงสร้างสรรค์ งบประมาณ: 8,028,000 บาท (ดำเนินงาน 8,028,000 ) หน่วยงาน: ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านธรรมปกรณ์เชียงใหม่ รวม 7 กิจกรรม งบประมาณ 326,297,578 บาท ดำเนินงาน 304,288,035 บาท (93%) ลงทุน 22,009,543 บาท (7%) พช 190.2951 ล้านบาท อก 112.8293 ล้านบาท พณ 15.0000 ล้านบาท พม 8.0280 ล้านบาท
โครงการ/กิจกรรมที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณตามแนวทางสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับเศรษฐกิจภายในประเทศ ประจำปี พ.ศ. 2560 ของหน่วยงานในสังกัด อก. 87,646,400 บาท โครงการยกระดับการผลิตหัตถอุตสาหกรรมภาคเหนือตอนบน 1 สู่ฐานการผลิตเชิงสร้างสรรค์ (82,345,800 บาท) โครงการส่งเสริมอนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรมและการออกแบบ (IDEA House) ศภ.1 (24,438,200 บาท) สร้างศักยภาพเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์กาแฟแปรรูปแม่ฮ่องสอนสู่ตลาดสากล สอจ.แม่ฮ่องสอน 5,300,600 บาท ถ่ายทอดความรู้ด้านออกแบบ ผปก 250 ราย พัฒนา 10 ผลิตภัณฑ์ Northern Strategic Incubation & Training for Entrepreneur 100 ราย สร้างและพัฒนานักธุรกิจรุ่นใหม่ในอุตสาหกรรมเป้าหมายเชื่อมโยงระบบดิจิทัล ยกระดับการผลิตหัตถอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ สอจ.เชียงใหม่ (18,493,500 บาท) ศภ.1 (15,890,000 บาท) สอจ.ลำปาง (3,274,100 บาท) 8 Week Coaching 50 ราย อบรมเบื้องต้นหลักสูตรการสร้าง Startup 200 ราย พัฒนา 200 ผลิตภัณฑ์ เสือผ้า เครื่องแต่งกาย ของประดับตกแต่ง ของที่ระลึก เซรามิก พัฒนาพื้นที่ชุมชนสร้างสรรค์ Fashion & Lifestyle Product Northern Creative Pavilion @ Thailand Industry Expo + Roadshow & Matching ศภ.1 (20,250,000 บาท) พัฒนาหมู่บ้าน CIV 4 ชุมชน
Local Economy ปี 2561
กลุ่มส่งเสริมการดำเนินงานการพัฒนาประสิทธิภาพองค์กร กลุ่มที่ ๖ วิสัยทัศน์ ยกระดับศักยภาพภาคอุตสาหกรรมสู่การผลิตระดับสากล เชื่อมโยงตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการอุตสาหกรรม สู่ระดับสากล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ ส่งเสริมและสนับสนุนการประกอบการอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ เชื่อมโยงผลผลิตภาคอุตสาหกรรม สู่ตลาดภายในและต่างประเทศที่มีศักยภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรของสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดให้มีความเข้มแข็งและได้รับการยอมรับ
งบประมาณและปีที่ดำเนินการ (ล้านบาท) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ : เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมสู่ระดับสากล กลยุทธ์ โครงการ รวมงบประมาณ งบประมาณและปีที่ดำเนินการ (ล้านบาท) ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ พัฒนาผู้ประกอบการและบุคลากรภาคอุตสาหกรรมตลอดห่วงโซ่อุปทานให้มีสมรรถนะสูง บ่มเพาะผู้ประกอบการและบุคลากรรองรับการค้าการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมาย (๕๐ - ๑๐๐ ราย/ปี) ๑๐ ๒.๕ ๓.๐ ๓.๕ ๔.๐ ส่งเสริมและพัฒนาการรวมกลุ่มผู้ประกอบการในลักษณะเครือข่ายเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันเชิงยุทธศาสตร์ พัฒนาห่วงโซ่การผลิตของคลัสเตอร์อุตสาหกรรมเป้าหมายให้มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น (๓ - ๕ คลัสเตอร์/ปี) ๔๐
งบประมาณและปีที่ดำเนินการ (ล้านบาท) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ : ส่งเสริมและสนับสนุนการประกอบการอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน กลยุทธ์ โครงการ รวมงบประมาณ งบประมาณและปีที่ดำเนินการ (ล้านบาท) ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมให้มีการพัฒนากระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสังคม สิ่งแวดล้อม และชุมชน ยกระดับกระบวนการผลิต โดยใช้เทคโนโลยีสะอาด และพัฒนาผลิตภัณฑ์/นวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (๓๕๐ ราย/ปี) ๒๘ ๗.๐ เชื่อมโยงและเสริมสร้างความเข้าใจการประกอบการอุตสาหกรรมกับชุมชนและท้องถิ่น ส่งเสริมและพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการเฝ้าระวัง กำกับดูแลการประกอบกิจการของภาคอุตสาหกรรม (๒๕๐ ราย/ปี) ๑๐ ๒.๕
งบประมาณและปีที่ดำเนินการ (ล้านบาท) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ : เชื่อมโยงผลผลิตภาคอุตสาหกรรมสู่ตลาดการค้าชายแดนและตลาดที่มีศักยภาพ กลยุทธ์ โครงการ รวมงบประมาณ งบประมาณและปีที่ดำเนินการ (ล้านบาท) ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ พัฒนาผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมเป้าหมายให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด พัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมโดยใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเชื่อมโยงสู่ตลาดโลก (๑๕๐ ผลิตภัณฑ์/ปี) ๑๒๐ ๓๐ เชื่อมโยงและขยายช่องทางการตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์เป้าหมายที่มีศักยภาพ Northern Thailand Industry Expo (๑ ครั้ง/ปี ผู้ประกอบการร่วมออกบูท ๕๐๐ ราย) ๔๐ ๑๐ นำผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพเชื่อมโยงสู่ตลาดระดับนานาชาติ (๕๐ ราย/ปี)
งบประมาณและปีที่ดำเนินการ (ล้านบาท) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ : เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรของสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดให้มีความเข้มแข็งและได้รับการยอมรับ กลยุทธ์ โครงการ รวมงบประมาณ งบประมาณและปีที่ดำเนินการ (ล้านบาท) ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ สร้างการมีส่วนร่วมในการกำหนดแผนปฏิบัติการให้สอดคล้องกับบริบทในพื้นที่ บูรณาการและเชื่อมโยงแผนปฏิบัติการพัฒนาอุตสาหกรรมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (๓ ครั้ง/ปี) ๑ ๐.๒๕ พัฒนาบุคลากรของสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดให้มีศักยภาพและขีดความสามารถสูงขึ้น เพิ่มขีดความสามารถให้แก่บุคลากรของสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด (๓๐ คน/ปี) ๔
554.9299 ล้านบาท ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ภาคเหนือ "ฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่าสูง" จังหวัดเชียงใหม่ ด้านการค้าการลงทุน ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง เป้าหมาย KPI ด้านการค้า การลงทุน เจ้าภาพหลัก : กระทรวงอุตสาหกรรม การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงภูมิปัญญา 237.9500 ล้านบาท การยกระดับกระบวนการผลิต เชื่อมโยง เทคโนโลยีและนวัตกรรม 152.6000 ล้านบาท การพัฒนาช่องทางการตลาดและการเชื่อมโยงทางธุรกิจ 212.5799 ล้านบาท มูลค่าการค้า การลงทุนที่เพิ่มขึ้นของภาคเหนือ ร้อยละ 5 โครงการยกระดับพื้นที่และผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์เชื่อมโยงสู่การท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (323.9500 ล้านบาท) พัฒนาพื้นที่หมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ / 70.0000 ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 พัฒนาผลิตภัณฑ์ของฝากของที่ระลึกเชิงสร้างสรรค์ที่มีมูลค่าสูง / 50.0000 ล้านบาท / สนง.อุตสาหกรรม เชียงใหม่ จัดงาน Northern Thailand International Creative Innovation and Design Expo / 50.0000 ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ใหม่ 500 ผลิต ภัณฑ์ หมู่บ้านอัตลักษณ์หัตถกรรมล้านนาเพื่อการท่องเที่ยว / 62.4500 ล้านบาท / สนง.พัฒนาชุมชน เชียงใหม่ พัฒนาเมนูอาหารเชิงวัฒนธรรมสร้างสรรค์เพื่อการท่องเที่ยว / 30.0000 ล้านบาท / สนง.อุตสาหกรรม เชียงใหม่ จัดงาน Northern Thailand Food Valley & Machine Tech Expo / 40.0000 ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 พื้นที่ชุมชนสร้างสรรค์ต้นแบบ 32 แห่ง โครงการยกระดับอุตสาหกรรมอาหารและเกษตรแปรรูป Northern Thailand Food Valley สู่อุตสาหกรรม 4.0 (141.6000 ล้านบาท) พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรมและการออกแบบ / 30.0000 ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 พัฒนาและเชื่อมโยงเครือข่ายอุตสาหกรรมอาหารด้วย Digital Cluster / 5.0000 ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 สร้างภาพลักษณ์และสร้างการรับรู้ Northern Thailand Food Valley สู่ผู้บริโภค / 5.0000 ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ผู้ประกอบการได้รับการพัฒนา 2,000 ราย โรงเรียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา “OTOP Backstreet Academy” / 31.5000 ล้านบาท / สนง.พัฒนาชุมชน เชียงใหม่ ยกระดับผลิตภัณฑ์ OTOP Cluster ประเภทอาหาร “Lanna Creative Food” / 17.6000 ล้านบาท / สนง.พัฒนาชุมชน เชียงใหม่ พัฒนาภาพลักษณ์และส่งเสริมการตลาดผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ / 8.0000 ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 โครงการเชื่อมโยงเครือข่ายอุตสาหกรรมการแพทย์และสุขภาพ (28.0000 ล้านบาท) เกิดเครือข่าย Cluster อุตสาหกรรมเป้าหมาย 5 เครือ ข่าย สร้างและพัฒนาผู้ประกอบการรุ่นใหม่ภาคอุตสาหกรรมอาหารและเกษตรแปรรูป / 12.0000 ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ยกระดับอุตสาหกรรมอาหารสู่มาตรฐานการผลิตอาหารปลอดภัยระดับสากล (Food Safety) / 30.0000 ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ตลาดนัดสุขภาพจังหวัดเชียงใหม่ / 2.7512 ล้านบาท / สนง.พาณิชย์ เชียงใหม่ โครงการเชื่อมโยงผลิตภัณฑ์คุณภาพสู่ตลาดระดับประเทศและระดับนานาชาติ (89.3799 ล้านบาท) ส่งเสริมตลาดสินค้าอินทรีย์ / 5.4287 ล้านบาท / สนง.พาณิชย์ เชียงใหม่ มูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมเป้าหมาย 30,000 ล้านบาท พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสถานแปรรูปเบื้องต้นเพื่อยกระดับคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่คุณค่า / 12.0000 ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 สร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์อาหาร (Food Innovation) / 10.0000 ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ส่งเสริมช่องทางการตลาดผลิตภัณฑ์ชุมชนเชื่อมโยงสู่เป้าหมายที่มีศักยภาพ / 36.2000 ล้านบาท / สนง.พัฒนาชุมชนเชียงใหม่ อก = 382.0000 ล้านบาท พช = 192.7500 ล้านบาท พณ = 8.3799 ล้านบาท ยกระดับอุตสาหกรรมหัตถกรรมสร้างสรรค์สำหรับอาหาร Northern Craft for Food / 10.0000 ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 ขับเคลื่อนผลงานวิจัยด้านสุขภาพสู่ผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่มีศักยภาพเชิงพาณิชย์ / 20.0000 ล้านบาท / ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 มูลค่าการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมายเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5 จัดกิจกรรม “ฮาลาลเชียงใหม่เพิ่มมูลค่าสู่ตลาดโลก / 45.0000 ล้านบาท / สนง.พัฒนาชุมชนเชียงใหม่
รวมงบประมาณของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม 480,765,000 บาท สรุปโครงการ/กิจกรรมตามแผนพัฒนาภาค (ภาคเหนือ) ที่เสนอขอรับงบประมาณ ปี 2561 ด้านการค้าการลงทุน (ห่วงโซ่อุปทานกลางทาง) ลำดับ โครงการ งบประมาณ สปอ. กสอ. พช. มช. 1 ยกระดับพื้นที่และผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์เชื่อมโยงสู่การท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 574,026,500 99,000,000 61,500,000 312,872,500 100,654,000 2 ยกระดับอุตสาหกรรมอาหารและเกษตรแปรรูป Northern Thailand Food Valley สู่อุตสาหกรรม 4.0 238,565,000 83,000,000 137,965,000 17,600,000 - 3 พัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์และอุตสาหกรรมชีวภาพ 49,300,000 6,300,000 43,000,000 4 ศึกษาและออกแบบพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานเชิงพื้นที่ จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อรองรับอุตสาหกรรมฐานชีวภาพ 50,000,000 รวมงบประมาณ 911,891,500 238,300,000 242,465,000 330,472,500 รวมงบประมาณของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม 480,765,000 บาท
แบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก 1. แผนพัฒนาจังหวัด 2. แผนพัฒนาภาค Product Champion Base บูรณาการ 3 มิติ
การกำหนดโครงการสำคัญ (Flagship Project) เพื่อนำไปต่อยอดจัดทำโครงการ ตัวอย่าง การกำหนดโครงการสำคัญ (Flagship Project) เพื่อนำไปต่อยอดจัดทำโครงการ เสนอขอรับประมาณ ตามแผนพัฒนาจังหวัด/ภาค (เกี่ยวกับการพัฒนาอุตสาหกรรม และ SMEs) กลุ่มส่งเสริมการดำเนินงานการพัฒนาประสิทธิภาพองค์กร กลุ่มที่ ๖
ตัวอย่าง การกำหนด Flagship Project จากยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ภาค
ตัวอย่าง การกำหนด Flagship Project จากยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ภาค
ตัวอย่าง การกำหนด Flagship Project จากยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ภาค
ตัวอย่าง การกำหนด Flagship Project จากยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ภาค
ตัวอย่าง การกำหนด Flagship Project จากยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ภาค
ตัวอย่าง การกำหนด Flagship Project จากยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ภาค
การกำหนด Flagship Project จากยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ภาค
การกำหนด Flagship Project จากยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ภาค Area Agenda Function Project ยกระดับอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปฯ นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ในกระบวนการผลิต ส่งเสริมความรู้และทักษะการผลิต Northern Thailand Food Valley 4.0 - ……………………………….
ตัวอย่างการนำ Flagship Project ไปต่อยอดจัดทำโครงการเสนอขอรับประมาณ
ตัวอย่างการนำ Flagship Project ไปต่อยอดจัดทำโครงการเสนอขอรับประมาณ
ตัวอย่างการนำ Flagship Project ไปต่อยอดจัดทำโครงการเสนอขอรับประมาณ
ตัวอย่างการนำ Flagship Project ไปต่อยอดจัดทำโครงการเสนอขอรับประมาณ
ตัวอย่างการนำ Flagship Project ไปต่อยอดจัดทำโครงการเสนอขอรับประมาณ
ตัวอย่าง การกำหนด Flagship Project จากยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ภาค Area Agenda Function Project ยกระดับการท่องเที่ยวคุณภาพฯ สนับสนุนการสร้างรายได้จากการท่องเที่ยว (ของฝากของที่ระลึก) หมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (CIV) Northern Creative Gift for Tourism
ตัวอย่าง การกำหนด Flagship Project จากยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ภาค Area Agenda Function Project พัฒนาเมืองศูนย์กลางการค้า การบริการ ธุรกิจสุขภาพ การศึกษา และดิจิทัล สนับสนุนอุตสาหกรรมเป้าหมาย เช่น ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป พัฒนาคุณภาพของผู้ประกอบการ Northern Strategic Industry Training & Incubation for Entrepreneurs : NSITE
การเติมเต็มความพร้อมให้สมบูรณ์ กลไกการขับเคลื่อนระหว่างส่วนกลางกับส่วนภูมิภาค กลไกการขับเคลื่อนระหว่างหน่วยงานสังกัด อก. กับหน่วยงานอื่น ๆ